BEST PRACTICE ของ นางสาวสมถวิล หวังกุ่ม ศึกษานิเทศก์ สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

Page 1


BEST PRACTICES ศึกษานิเทศก์ยอดเยีย่ ม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ด้านบริ หารจัดการยอดเยีย่ ม

รายงานผลการส่งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ โดยใช้กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร

นางสาวถวิล หวังกุ่ม ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


1. ชื่อผลงาน BEST PRACTICE รายงานผลการส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบโดยใช้กระบวนการนิเทศ แบบกัลยาณมิตร ด้ าน : บริ หารจัดการยอดเยี่ยม 2. ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้พฒ ั นา BEST PRACTICE ชื่อ นางสาวถวิล หวังกุม ตาแหน่งศึกษานิเทศก์ อายุ 46 ปี อายุราชการ 12 ปี โทรศัพท์ 098 – 2741641 E-mail : winny_brp@hotmail.com 3. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา BP 3.1 เพื่อเปรี ยบเทียบผลการส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ ก่อนและหลัง นิเทศโดยใช้กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร 3.2 เพื ่อ ศึก ษาความพึง พอใจต่อ การส่ ง เสริ ม การท าวิจ ยั ในชั้น เรี ย นในโรงเรี ย นที ่รับผิดชอบ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 4. ระยะเวลาในการพัฒนา ปี การศึกษา 2555 ถึง ปี การศึกษา 2557 5. ความเชื่อมโยง ความสั มพันธ์ BP กับเป้าหมาย จุดเน้ นของ สพป. / สพฐ. สาหรับแนวทางการจัดการศึก ษาตามรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักไทย พุท ธศัก ราช 2550 ได้ กาหนดแนวนโยบายพื้ น ฐานแห่ ง รั ฐ ที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การแก้ปั ญ หาทางสั ง คมและการศึ ก ษา ดังมาตราที่ 26, 27, 30, 32, 37 และมาตราที่ 80 ได้ก ล่าวถึ งจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาและแนวทางการจัด การศึกษามี ใจความว่า “พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในทุกระดับและทารู ปแบบให้ส อดคล้อ งกับ การ เปลี ่ ย นแปลงด้า นเศรษฐกิ จ และสัง คม จัด ให้มีแ ผนการจัด การศึก ษาแห่ ง ชาติ เพื ่อ พัฒ นาการศึก ษา แห่ งชาติ จัดให้พฒั นาคุ ณภาพครู และบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาเพื่อให้ก ้า วทันการเปลี่ ย นแปลงสังคมโลก (ราชกิ จจานุ เบกษา, 2550 : 9) ทั้ง นโยบายของกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่ ศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่ งเสริ มผูเ้ รี ยนให้มีคุณธรรม รักความเป็ นไทย ให้มีทกั ษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทกั ษะด้านเทคโนโลยี สามารถทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นและสามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ สุ ข (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 : 5) การพัฒนาคุ ณภาพการศึ กษาตามแนวนโยบายปั ญจปฏิ รูป นั้นจะต้อง อาศัย กระบวนการที่ สาคัญ อย่า งน้อย 3 กระบวนการ คือ กระบวนการบริ หารการศึกษา กระบวนการจัด กิจกรรมการเรี ยนการสอน และกระบวนการนิ เ ทศการศึ ก ษา โดยมี ก ระบวนการจัด กิ จ กรรมการเรี ย น การสอนเป็ นหลัก ส าคัญ ในการพัฒ นาคุณ ภาพการศึก ษา มีก ระบวนการบริ ห ารการศึก ษาและ กระบวนการนิ เทศศึกษาเป็ นกระบวนการส่ ง เสริ ม สนับ สนุ นให้ก ระบวนการจัดกิ จ กรรมการเรี ย นการ สอนดาเนิ นไปอย่า งมีประสิ ทธิ ภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของหลักสู ตรในลักษณะที่มีความสัมพันธ์กนั ทั้ง


3 กระบวนการ และส่ งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรี ยนเช่นเดียวกัน กระบวนการบริ หารการศึกษาเป็ น การใช้ทรัพยากรทางการศึกษาที่มีอยู่อย่างจากัดให้มีประโยชน์สูงสุ ด อันได้แก่ ครู หรื อบุคลากรทางการศึกษา งบประมาณ วัส ดุอุป กรณ์ ตลอดถึง อาคารสถานที่ และรู ปแบบการบริ หารจัดการภายในโรงเรี ย น ซึ่ ง ปั จจุบนั นี้ เน้นการบริ หารโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน (School-Based Management) โดยยึดหลักการกระจาย อานาจ (Decentralization) จากส่ วนกลางสู่ โรงเรี ยนให้มากที่สุด การมีส่วนร่ วม (Participation or Collaboration or Involvement) โดยเปิ ดโอกาสให้ผูท้ ี่ เกี่ ยวข้อง หรื อผูท้ ี่ มีส่ วนได้ส่วนเสี ยมี ส่วนร่ วมในการบริ หาร และ หลักการตรวจสอบและถ่ วงดุ ล (Check and Balance) โดยมีองค์กรอิสระทาหน้าที่ ตรวจสอบคุณภาพการ บริ หารให้ได้มาตรฐานตามที่กาหนด กระบวนการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนเป็ นกระบวนการที่สาคัญใน การพัฒ นาคุ ณ ภาพการศึก ษา เพราะส่ ง ผลต่อ การพัฒ นาคุ ณ ภาพของนักเรี ยนโดยตรง ซึ่ งปั จจุ บนั นี้ เน้น ผู ้เรี ย นเป็ นส าคัญ เป็ นการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ จากสถานการณ์ จริ ง ครู จ ัด ให้ นัก เรี ย นได้เ รี ย นรู้ จ าก ประสบการณ์ตรงเป็ นส่ วนมาก จากแหล่งเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย ด้วยสื่ อและอุปกรณ์ที่ทนั สมัย จากกิจกรรมการ ทางานอันจะนาไปสู่ การพัฒนานักเรี ยนทุก ๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่ างกาย จิตใจ สติ ปัญญา อารมณ์ และสังคม ส่ วนกระบวนการนิเทศการศึกษาเป็ นกระบวนการหรื อวิธีการทางานร่ วมกันระหว่างครู และบุคลากรทางการ ศึกษาที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่ งเสริ มให้กระบวนการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิ ภาพ นัน่ คือ ผูเ้ รี ยน สามารถบรรลุ จุด มุ ่ง หมายสู ง สุ ด ของ การเรี ยน การนิ เทศการศึ กษาเป็ นกิ จกรรมที่ ส่ งเสริ มให้คุ ณภาพ การศึกษาสู งขึ้น ซึ่ งผูท้ ี่ทาหน้าที่นิเทศอาจมาจากบุ ค คลภายนอกหรื อภายในโรงเรี ย นก็ไ ด้ ทั้ง นี้ ข้ ึ นอยู่ก บั เหตุผลและความจาเป็ นของการนิเทศ (ทองสุ ข ชาภักดี, 2545 : 89) จากหลักการ แนวคิด เป้ าหมายของการนิ เทศการสอนและงานการนิ เทศการศึกษาที่มี เป้ าหมาย หลัก เพื่ อ พัฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาในทุ ก ๆ ด้า นนั้น ซึ่ ง วัด ได้จ ากคุ ณ ภาพของผู เ้ รี ย นที่ พฒั นาขึ้นเป็ น การสะท้อ นถึ ง คุ ณ ภาพของครู ที่ พ ฒ ั นาเช่ น เดี ย วกัน ดัง นั้น การนิ เ ทศการสอนจึ ง มี ค วามส าคัญ และมี ประโยชน์สาหรับการพัฒนาการเรี ยนรู้ ทุกแขนงวิชาและทุกมาตรฐานการเรี ยนรู้ โดยเฉพาะในเรื่ องการ พัฒนาความสามารถในการคิด ซึ่ งนับว่าเป็ นปั ญหาที่สาคัญยิง่ ในวงการศึกษา จากวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศ ไทยนับตั้งแต่ ปี พ.ศ.2540 เป็ นต้นมา พบว่า คนไทยมี ความรู ้ ทางด้านวิท ยาศาสตร์ ไ ม่เ พีย งพอและขาด ความสามารถในการคิด วิเ คราะห์แ ละการคิด อย่า งมีวิจ ารณญาณ (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษา แห่งชาติ, 2544 อ้างถึงใน นันทรัตน์ พึ่งแพง และคณะ, 2549 : 96) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 กาหนดนโยบายจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา คุ ณภาพการจัดการศึกษาทั้งระบบ และกลยุท ธ์ สาคัญประการหนึ่ ง ในการพัฒ นาการศึ ก ษาดัง กล่ า ว คื อ การก าหนดความรั บ ผิด ชอบให้ศึก ษานิ เทศก์ นิ เทศโรงเรี ย น เพื่ อให้บรรลุ ตามเป้ าประสงค์ก ารพัฒ นา การศึกษา ข้า พเจ้า รั บ ผิด ชอบกลุ่ ม โรงเรี ย นหนองรี - หนองกร่ า ง ปี การศึ ก ษา 2555 มี โ รงเรี ย นที่ รับผิดชอบ จานวน 8 โรงเรี ยน ประกอบด้วย ครู จานวน 60 คน และนักเรี ยน จานวน 1,143 คน การนิเทศ การจัดการเรี ยนการสอนโรงเรี ยนที่รับผิดชอบนั้น ข้าพเจ้าได้ศึกษาวิเคราะห์สภาพปั จจุบนั โดยเน้นการศึกษา


ปั ญหาของโรงเรี ยนที่ส่งผลต่อการศึกษา แก้ไขนักเรี ยนเป็ นการเร่ งด่วน รวมทั้งศึกษาปั ญหาความต้องการที่ ทาให้ครู ไม่สามารถแก้ไขปั ญหาได้ พร้อมทั้งสารวจการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนของครู พบว่า ครู ทาวิจยั ในชั้นเรี ยน จานวนน้อย คิดเป็ นร้อยละ 18.92 และการจัดการเรี ยนการสอนมีปัญหาในทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ดังนี้ ตาราง แสดงปั ญหาในชั้นเรี ยนและจานวนการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนของโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ ปี การศึกษา 2555

ที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1 ภาษาไทย

2

3

4

5

6

7

สภาพปัญหา

- การใช้หลักภาษาไทย - การเขียนสะกดคา - การอ่านจับใจความ คณิ ตศาสตร์ - โจทย์ปัญหา - คิดเลขเร็ ว - การคูณ วิทยาศาสตร์ - ทักษะกระบวนการคิด - ทักษะการแก้ปัญหา - ทักษะการสังเกต สังคมศึกษา ศาสนา - คุณธรรม จริ ยธรรม และวัฒนธรรม - วิธีการทางประวัติศาสตร์ - การประยุกต์ใช้ความรู้ สุ ขศึกษาและ - สมรรถภาพร่ างกาย พลศึกษา - ความรู้ความเข้าใจ - การประยุกต์ความรู้ไปใช้ ศิลปะ - ทักษะการระบายสี - ทักษะการวาดภาพ - ทักษะด้านนาฏศิลป์ การงานอาชีพและ - ทักษะการใช้เครื่ องมือ เทคโนโลยี - ทักษะการทางานเป็ นกลุ่ม - การรักษ์สิ่งแวดล้อม

จานวน จานวน งานวิจัย ครู ทีท่ า 12 4

ร้ อยละ ของครู หมายเหตุ ทีท่ าวิจัย 33.33 สภาพปัญหา สรุ ปจาก การสอบถาม 15.38 เรี ยงลาดับ 3 ลาดับ จาก มากไปน้อย 42.86

13

2

7

3

11

2

18.18

8

1

12.50

5

1

20.00

10

1

10.00


ตาราง (ต่อ)

ที่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) รวม

สภาพปัญหา - คาศัพท์ - หลักการใช้ภาษา - การพูด

จานวน จานวน งานวิจัย ครู ทีท่ า 8 -

74

14

ร้ อยละ ของครู หมายเหตุ ทีท่ าวิจัย 00.00

18.92

ที่มา : รายงานผลการนิเทศ ปี การศึกษา 2555 (สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4) จากตาราง พบว่า การจัดการเรี ยนการสอนมีปัญหาที่ตอ้ งแก้ไขทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ และครู ทา วิจยั ในชั้นเรี ยนจานวนน้อย โดยเฉพาะกลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) กลุ่มสาระการ เรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เฉลี่ยครู ที่ทาวิจยั ในชั้นเรี ยนร้อยละ 18.92 ซึ่ งผลการสารวจดังกล่าวแสดงประเด็นความสอดคล้องกับโรงเรี ยนที่ ยงั ดาเนิ นการแก้ไขปั ญหา ผูเ้ รี ยนที่มีปัญหาได้ไม่น่าพอใจ เพราะหากครู ใช้กระบวนการวิจยั ในชั้นเรี ยนช่วยแก้ปัญหา พัฒนาผูเ้ รี ยน จะ เป็ นทางเลือกในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมด้วยตัวของครู เอง (โสรส กันแก้ว, 2549 : 38) การปฏิบตั ิงาน เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนโดยวิธีการวิจยั เป็ นเครื่ องมือสาคัญในการพัฒนาวิชาชีพครู เนื่องจากข้อค้นพบที่ ได้มาจากกระบวนการค้นคว้าที่ เป็ นระบบที่ เชื่ อถื อได้ ท าให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดการพัฒนาการเรี ยนรู ้ ครู เกิ ดการ พัฒนาการเรี ยนการสอน (วาโร เพ็งสวัสดิ์, 2547 : 2-3) โดยบทบาทของข้าพเจ้าในฐานะผูน้ ิเทศ มีหน้าที่โดยตรงที่ตอ้ งสร้างความเข้าใจ ชี้ แนะ ร่ วมคิ ดร่ วม ดาเนิ นการ รวมทั้ง ประเมิ นผลกระบวนการดาเนิ นการจัดการศึ ก ษาของโรงเรี ย นที่ รับผิดชอบ ได้ศึกษา วิเคราะห์ รูปแบบกระบวนการนิ เทศ ซึ่ งพบว่ามีหลายรู ปแบบ แต่กระบวนการนิ เ ทศที่ผูร้ ายงานเลื อ กใช้ เพราะเหมาะสมกับ บริ บ ทโรงเรี ย นที่ รับ ผิดชอบ ได้แก่ การนิ เทศแบบกัลยาณมิตร ซึ่ ง สุ มน อมรวิวฒั น์ (2547 : 97) ได้เสนอกระบวนการการสร้างเสริ มสมรรถภาพของผูบ้ ริ หารและครู โดยที่สรรหาครู ที่มีผลงาน ดี เด่ นในด้านการจัดการเรี ยนการสอนนามานิ เทศในลักษณะเป็ นเพื่อนร่ วมคิ ดมิตรร่ วมงานของครู ที่เรี ยกว่า “กัลยาณมิตรนิ เทศ” ซึ่ งผูร้ ายงานนามาประยุกต์ใช้นิเทศควบคู่กบั การทาหน้าที่นิเทศการสอนของผูร้ ายงาน เพื่อการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนของโรงเรี ยน ที่รับผิดชอบโดยใช้กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร


6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ ในการพัฒนา BP มนัส ไชยศักดิ์ (2544 : 54-57) ได้กล่ าวไว้ว่า การส่ ง เสริ ม และผลัก ดันให้ค รู ไ ด้ทางานการวิจยั ในชั้นเรี ย นให้ได้น้ นั จะต้องใช้เวลาและความพยายามพอสมควร สาหรับ ครู ที่ไม่ทาวิจยั ในชั้นเรี ยน ซึ่ ง ปั ญหาที่พบอาจมีดงั นี้ ครู ไม่มีความรู ้เรื่ องการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน ไม่เห็นคุณค่าของการวิจยั ในชั้นเรี ยน ครู เห็นว่าการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนเป็ นเรื่ องยาก ขาดผูใ้ ห้คาแนะนาในการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน ขาดเอกสารงานวิจยั ให้ครู ดูเป็ นแบบอย่าง และครู ไม่มีเวลาในการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน ปั ญหาเหล่านี้ เป็ นสาเหตุที่ครู ใช้อา้ งในการที่ไม่ทาวิจยั ในชั้นเรี ยน โรงเรี ยนสามารถแก้ปัญหาดังกล่าว ได้ดงั นี้ 1. ครู ไม่มีความรู ้เรื่ องการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน ต้องวางแผนโดยจัดให้มีการอบรมเชิ งปฏิบตั ิการให้แก่ครู ในโรงเรี ยน โดยเชิญวิทยากรมาให้ความรู้ 2. ครู ไ ม่เห็ นคุ ณค่ าของการวิจยั ในชั้นเรี ย น จะต้องชี้ แจงให้เห็ นว่า การท าวิจยั ในชั้นเรี ยนนั้นมี ประโยชน์ต่อตัวนักเรี ยนเอง คือ นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้ดีและเร็ วขึ้น ในส่ วนตัวครู เองก็ได้ประโยชน์ ถื อ ว่า ได้พ ฒั นาการสอนของตนเองให้มีป ระสิ ทธิ ภ าพและประสิ ทธิ ผล สามารถนาผลงานวิจยั ในชั้นเรี ยน ไปขอกาหนดตาแหน่งให้สูงขึ้นได้ จะมีความก้าวหน้าในวิชาชีพครู ได้ดว้ ย 3. ครู เห็นว่าการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนเป็ นเรื่ องยากนั้น จะต้องทาความเข้าใจกับครู วา่ การทาวิจยั ในชั้น เรี ยนเป็ นเรื่ องใหม่สาหรับครู ต้องใช้เวลาเรี ยนรู ้ การเขียนรายงานวิจยั ในชั้นเรี ยนมีรูปแบบหลายรู ปแบบ ทั้ง เป็ นรู ปแบบที่มีเล่มขนาดใหญ่ หรื อมีรูปแบบที่มีเพียงไม่กี่หน้า หรื อแม้กระทัง่ วิจยั แผ่นเดียวก็สามารถทาได้ ซึ่ งไม่ใช่เรื่ องยากอะไรเลยถ้าครู ได้ศึกษาให้เข้าใจในกระบวนการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน 4. ครู ไม่มีผแู ้ นะนาให้คาปรึ กษา สามารถแก้ปัญหาโดยจะต้องเป็ นแกนนาให้ครู ได้ทางานวิจยั เป็ น ทีมหรื อวิจยั ร่ วมกัน โดยอาจจะเชิ ญครู ที่จบการศึกษาระดับปริ ญญาโททั้งในโรงเรี ยนเดียวกันและในโรงเรี ยน ใกล้เคียงมาเป็ นผูใ้ ห้คาแนะนา หรื อเป็ นคณะทางานร่ วมกันก็ได้ 5. ครู ไม่มีเอกสารงานวิจยั เป็ นแบบอย่าง จะต้องรู ้ จกั ผูเ้ สาะแสวงหารายงานวิจยั ในชั้นเรี ยนที่เป็ น รู ปแบบที่ ชดั เจน จากตัวอย่างรายงานการวิจยั ต่าง ๆ หรื อเอกสาร วารสารทางวิชาการต่าง ๆ มาให้ครู ได้ ศึกษา 6. ครู ไ ม่มีเ วลาในการทาวิจยั ในชั้นเรี ย น ต้องรู ้ จ กั จัดการบริ ห ารเวลาให้ดี ลดภาระงานที่ ไม่ จาเป็ นของครู ออกเพื่อจะให้มีเวลาเหลื อสาหรับครู ได้ทาวิจยั ในชั้นเรี ยนอย่างง่าย ๆ หรื อที่เรี ยกว่า วิจยั แผ่น เดียวนัน่ เอง จากแนวทางในการแก้ปัญหาข้า งต้น โรงเรี ยนสามารถนามาแก้ปัญหาพร้ อมกับวางแผนในการ ดาเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. ขั้นเตรี ยมการ มีการประชุมชี้แจงให้ครู ในเรื่ องการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน พร้อมกับประสานวิทยากร มาให้ความรู้ และเตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม 2. จัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการในเรื่ องความรู ้ในการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนให้ครู ทุกคน


3. สร้างครู ผนู ้ าทางการวิจยั ในชั้นเรี ยน เพื่อจะได้เป็ นที่ปรึ กษาและให้คาแนะนาแก่ครู ในการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนภายในโรงเรี ยนของตนเอง 4. ทาวิจยั ร่ วมกัน จัดให้ครู ผนู ้ าทางการวิจยั ให้เข้าร่ วมกับคณะครู ร่วมกันทาวิจยั ในชั้นเรี ยน โดย ผูบ้ ริ หารเองเป็ นผูป้ ระสานและให้การสนับสนุนปั จจัยต่าง ๆ โดยร่ วมกันดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 4.1 วิเคราะห์ปัญหาการเรี ยนการสอนร่ วมกัน 4.2 ศึ ก ษางานวิจ ยั ที ่ เ กี ่ ย วข้อ งและตัว อย่า งงานวิจ ยั ในชั้ น เรี ย นเพื ่อ หาแนวทางในการ ดาเนินการวิจยั ต่อไป 4.3 เขียนรู ปแบบงานวิจยั อย่างเป็ นระบบและใช้รูปแบบง่าย ๆ 4.4 สร้างนวัตกรรมที่จะใช้แก้ปัญหาร่ วมกัน 4.5 ออกแบบและทดลองว่านวัตกรรมมีคุณภาพหรื อไม่ 4.6 สร้างเครื่ องมือรวบรวมข้อมูล 4.7 เก็บรวบรวมข้อมูล 4.8 วิเคราะห์ขอ้ มูลร่ วมกัน 4.9 สรุ ปผลและเขียนรายงานวิจยั ร่ วมกัน 5. ขยายผลเมื่อได้ดาเนินการตามข้อ 4 แล้วจะต้องจัดให้มีการขยายผลไปยังครู ที่ยงั ไม่เคยทาวิจยั ใน ชั้นเรี ยนเลย โดยให้ครู ในคณะทางานร่ วมกันนั้นเป็ นผูช้ ่วยในการแนะนาให้มีการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนต่อไป

กรอบแนวคิด รายงานผลการส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนในโรงเรี ยนที่ รับผิดชอบโดยใช้กระบวนการนิ เทศแบบ กัลยาณมิตร ที่บูรณาการแนวคิดของ สุ มน อมรวิวฒั น์ (2547 : 24-25) และใช้กระบวนการทาวิจยั ในชั้น เรี ยนของ พิชิต ฤทธิ์ จรู ญ (2553 : 35) โดยใช้กรอบแนวคิดดังนี้


กระบวนการนิเทศ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 ขั้นที่ 5

สร้างศรัทธา พัฒนาความรู ้ ร่ วมคิดและวางแผน ส่ งเสริ มการทาวิจยั ประเมินผลตามสภาพจริ ง

กระบวนการทาวิจัยในชั้นเรียน ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหาการเรี ยนรู ้ ขั้นที่ 2 การเลือกนวัตกรรมหรื อวิธีการ แก้ปัญหา ขั้นที่ 3 การออกแบบและสร้างนวัตกรรม หรื อวิธีการแก้ปัญหา ขั้นที่ 4 การใช้นวัตกรรมหรื อวิธีการ แก้ปัญหาหรื อพัฒนา ขั้นที่ 5 สรุ ปและรายงานผลการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน

ครู

นักเรียน

1. เปรี ยบเทียบความรู้ความเข้าใจ ก่อนและหลังการนิเทศ 2. การนาความรู ้ไปใช้ทาวิจยั ในชั้นเรี ยน 3. ความพึงพอใจของครู ต่อกระบวนการ นิเทศ

จานวนนักเรี ยนที่ได้รับการพัฒนาและ แก้ปัญหา

7. กระบวนการพัฒนา

7.1 เป้ าหมายการพัฒนา ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากร คือ ครู ผสู ้ อน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 จานวน 895 คน กลุ่มตัวอย่ าง ได้แก่ ครู ผสู ้ อน กลุ่มโรงเรี ยนหนองรี -หนองกร่ าง จานวน 60 คน ซึ่ งได้มาจากการ เลือกแบบเจาะจงจากโรงเรี ยนที่ผรู้ ายงานรับผิดชอบนิเทศการศึกษา


เนือ้ หาทีศ่ ึกษา การส่ งเสริ มการท าวิ จ ัยในชั้นเรี ยนในโรงเรี ย นที่ รั บผิ ดชอบ โดยใช้ กระบวนการนิ เทศแบบ กัลยาณมิตร ได้แก่ 1.ผลการประเมินความรู ้ความเข้าใจของครู เกี่ยวกับการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน ก่อนและหลังการ นิเทศ 2.ผลการนาความรู ้ ไปใช้ทาวิจยั ในชั้นเรี ยนของครู ในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ คือ 1) จานวน ครู ที่ทาวิจยั ในชั้นเรี ยน 2) จานวนนักเรี ยนที่ได้รับการแก้ไขพัฒนา ตัวแปรทีศ่ ึกษา ตัวแปรต้ น กระบวนการนิ เ ทศแบบกัล ยาณมิ ต ร ได้แ ก่ ขั้น ที่ 1 ขั้น การสร้ า งศรั ท ธา ขั้น ที ่ 2 ขั้น พัฒ นาความรู ้ ขั้น ที ่ 3 ขั้น ร่ ว มคิ ด และวางแผน ขั้น ที ่ 4 ขั้น ส่ ง เสริ ม การท าวิจ ยั และขั้น ที ่ 5 ขั้น ประเมินผลตามสภาพจริ ง (บูรณาการแนวคิดของ สุ มน อมรวิวฒั น์, 2547 และอัญชลี ธรรมะวิธีกุล, 2552 : online) ตัวแปรตาม 1.ผลการใช้กระบวนการนิ เทศแบบกัลยาณมิตร ซึ่ งทาให้เกิ ดผลการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนใน โรงเรี ยนที่รับ ผิดชอบ 3 ด้า น ได้แก่ 1) ความรู ้ ความเข้าใจของครู ที่ได้รับการนิ เทศ 2) จานวนผลงานวิจยั ของครู และ 3) จานวนนักเรี ยนที่ได้รับการแก้ไข 2.ความพึงพอใจของครู ในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต 4 ต่อการส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน


7.2 ขั้นตอนการพัฒนา / วิธีการส่ งเสริมการทาวิจัยในชั้นเรียน ประกอบด้ วย 5 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 สร้างศรัทธาและ ความ ตระหนักในการทา วิจยั ในชั้นเรี ยน 1. ประชุมกลุ่ม โรงเรี ยนที่ รับผิดชอบเพื่อ สร้าง ความสัมพันธ์ ระหว่าง -ศึกษานิเทศก์กบั ผูบ้ ริ หารและครู - ผูบ้ ริ หาร ครู กับ ครู ตน้ แบบ งานวิจยั ในชั้น เรี ยน 2. ศึกษางานวิจยั ในชั้นเรี ยน

ขั้นตอนที่ 2 พัฒนาความรู้

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 ร่ วมคิดและวาง ส่ งเสริ มการทาวิจยั แผนการทาวิจยั ใน ในชั้นเรี ยน ชั้นเรี ยน

1. จัดอบรมให้ 1. กาหนด ความรู้เรื่ อง จุดมุ่งหมายการ กระบวนการทา ทาวิจยั ในชั้น วิจยั ในชั้นเรี ยน เรี ยนร่ วมกัน 2. ทาความรู้จกั 2. กาหนดเวลาทา เสริ มสร้างความ วิจยั ในชั้นเรี ยน เข้าใจ สาน 3. กาหนดแผนงาน สัมพันธ์กบั ครู การทาวิจยั ในชั้น ต้นแบบวิจยั ใน เรี ยน ชั้นเรี ยน 3. ฝึ กทาวิจยั ในชั้น เรี ยนกับครู ต้นแบบ งานวิจยั ในชั้น เรี ยน โดยใช้แบบฝึ ก

-ทาวิจยั ในชั้นเรี ยน กับครู ตน้ แบบด้าน งานวิจยั ในชั้น เรี ยน -ครู ตน้ แบบ 1 คน รับผิดชอบครู ผูท้ าวิจยั 2 คน

ขั้นตอนที่ 5 นิเทศและ ประเมินผลตลอด กระบวนการ - ติดตามผลตลอด กระบวนการโดย ให้ 1.ครู ประเมิน ตนเอง 2.ครู ตน้ แบบ ประเมินครู ผูท้ าวิจยั ในชั้น เรี ยนทุก กระบวนการ (ขั้นที่ 1 – ขั้นที่ 5)

8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนโดยใช้กระบวนการนิ เทศแบบกัลยาณมิตร ดังนี้ 8.1. ประโยชน์ต่อนักเรี ยน 8.1.1 นักเรี ยนได้รับการพัฒนาแก้ไขตามสภาพปั ญหาการจัดการเรี ยนการสอน 8.1.2 นักเรี ยนมีคุณธรรม จริ ยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8.1.3 นักเรี ยนมีทกั ษะการปฏิบตั ิงาน


8.2. ประโยชน์ต่อครู 8.2.1 ครู พฒั นาและแก้ไขนักเรี ยนได้อย่างเป็ นระบบ 8.2.2 ครู มีทกั ษะการทางานอย่างเป็ นระบบ 8.2.3 ครู ปรับเปลี่ยนและพัฒนาการเรี ยนการสอน 8.2.4 ครู มีสื่อนวัตกรรมใช้จดั การเรี ยนการสอน 8.3. ประโยชน์ต่อผูบ้ ริ หาร 8.3.1 ผูบ้ ริ หารประยุกต์ใช้รูปแบบการนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการนิเทศการสอนของครู ผสู ้ อน เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน 8.3.2 ผูบ้ ริ หารนาข้อมูลการนิเทศแบบกัลยาณมิตรเป็ นข้อมูลประเมินผลการปฏิบตั ิงานของครู 8.4. ประโยชน์ต่อโรงเรี ยน 8.4.1 โรงเรี ยนมีรูปแบบการสอนสาหรับการส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน 8.4.2 ประสิ ทธิ ภาพการเรี ยนการสอนของโรงเรี ยนพัฒนาสู งขึ้น 8.5. ประโยชน์ต่อศึกษานิเทศก์ 8.5.1 ใช้ขอ้ มูลสารสนเทศสาหรับนิเทศโรงเรี ยน เพื่อส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน 8.5.2 ประยุกต์ใช้ขอ้ มูลสารสนเทศนิเทศโรงเรี ยน เพื่อส่ งเสริ มการพัฒนาการเรี ยนการสอนรู ปแบบ อื่น ๆ 8.5.3 ประยุกต์ใช้ขอ้ มูลสารสนเทศนิเทศการเรี ยนการสอนด้วยกระบวนการวิจยั รู ปแบบอื่น ๆ 8.5.4 ใช้ผลการนิเทศสรุ ปประสิ ทธิภาพการปฏิบตั ิการนิเทศและหาแนวทางพัฒนาการจัด การศึกษาในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบต่อไป 9. ผลสำเร็จที่เกิดขึน้ จำกกำรพัฒนำ Best Practice 9.1 ผลการส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน ในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบโดยใช้กระบวนการนิ เทศแบบ กัลยาณมิตร มีดงั นี้ 9.1.1 ความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ ยวกับกระบวนการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนหลังการนิ เทศสู งกว่า ก่อนการนิเทศ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 9.1.2 ครู ในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ นาความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทาวิจยั ไปใช้ทาวิจยั ในชั้นเรี ยนทุ กคน จานวนงานวิจยั 60 เรื่ อง และนักเรี ยนได้รับการแก้ไขพัฒนาโดยการวิจยั ในชั้นเรี ยน จานวน 961 คน 9.2.ครู ในโรงเรี ยนที่ รับผิดชอบพึ งพอใจต่ อการท าวิจยั ในชั้นเรี ยนโดยใช้กระบวนการนิ เทศแบบ กัลยาณมิตร ระดับมาก


10. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุ ง Best Practice ให้ เกิดผลดีอย่างต่ อเนื่อง ข้าพเจ้าศึกษาทฤษฏีการบริ หารจัดการเครื อข่ายการวิจยั ของ Luck &Harris (2007) และบูรณาการ กระบวนการนิ เทศแบบกัลยาณมิตร 5 ขั้นตอนแนวคิดของ สุ มน อมรวิวฒั น์ (2547) มาใช้ในการบริ หาร จัดการพัฒนาครู ในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ รู ปแบบ ROOTS Model การบริ หารจัดการเครื อข่ายวิจยั ในชั้น เรี ยนแบบรากแขนง มีดงั นี้ Step 1 คัดเลือกครู ตน้ แบบที่มีผลงานด้านงานวิจยั ในชั้นเรี ยนดีเด่นของ สานักงานเขตพื้นที่ จานวน 10 คน Step 2 จัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ องกระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร 5 ขั้นตอน ให้ครู ตน้ แบบด้านงานวิจยั ในชั้นเรี ยนและผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนในกลุ่มหนองรี -หนองกร่ าง จานวน 7 Step 3 จัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการให้ความรู ้ครู ผทู ้ าวิจยั เรื่ อง กระบวนการวิจยั ในชั้นเรี ยน 60 คน Step 4 รับ สมัครครู ผทู ้ าวิจยั ในกลุ่มโรงเรี ยนหนองรี -หนองกร่ าง Step 5 เปิ ดคลินิกงานวิจยั ในชั้นเรี ยน โดยครู ตน้ แบบ ด้านงานวิจยั ในชั้นเรี ยน 1 คน ให้รับผิดชอบครู ผทู ้ างานวิจยั ในชั้นเรี ยน จานวน 2 คน Step 6 ประชุม สะท้อนคิด (AAR )สัปดาห์ละ 1 ครั้ง Step 7 จัดเวทีนาเสนอผลงานและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ Step 8 ให้ ขวัญและกาลังใจมอบเกียรติบตั รให้กบั ผูท้ ี่มีผลงานวิจยั ในชั้นเรี ยนดีเด่น Step 9 คัดเลือกให้เป็ นครู ตน้ แบบ งานวิจยั ในชั้นเรี ยน รุ่ นที่ 2 ผลที่ได้รับ ในปี ที่ 1 ได้ครู ตน้ แบบด้านงานวิจยั ในชั้นเรี ยน จานวน 10 คน ในปี ที่ 2 ได้ครู ตน้ แบบ ด้านงานวิจยั ในชั้นเรี ยนที่พฒั นามาจากครู ผวู ้ ิจยั เพิ่มขึ้นจานวน 20 คน และจะเป็ นการแตกแขนงออกไป เรื่ อยๆดังเช่นรากไม้ (ดังแผนภาพประกอบ ROOTS Model ) R = Realization สร้ างความตระหนัก เข้ าใจ O = Option สร้ างทางเลือก O = Observation การร่ วมสั งเกต ร่ วมคิด ร่ วมวางแผน T = Team Teachers ทีมครู ต้นแบบงานด้ านวิจัยในชั้ นเรี ยน S = Students นักเรียนได้ รับการแก้ไขพัฒนา


ROOTS Model การบริ หารจัดการเครื อข่ายวิจยั ในชั้นเรี ยนแบบรากแขนง Realization Step 1 คัดเลือกครู ตน ้ แบบ Step 2 จัดอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง กระบวนการนิเทศแบบ กัลยาณมิตร (ครู ตน้ แบบ/ผูบ้ ริ หาร)

Team Teachers Step 7 จัดเวทีนาเสนอผลงาน และแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ Step 8 ให้ขวัญและกาลังใจ Step 9 คัดเลือกให้เป็ นครู ต้นแบบ Students

Option Step 3 จัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการ ให้ความรู ้ครู ผทู ้ าวิจยั เรื่ อง กระบวนการวิจยั ในชั้นเรี ยน Step 4 รับสมัครครู ผท ู ้ าวิจยั

Observation Step 5 เปิ ดคลินิกงานวิจยั ในชั้นเรี ยน Step 6 ประชุมสะท้อนคิด (AAR )

11. การเผยแพร่ ผลงาน 11.1 เผยแพร่ ในรู ปแบบของเอกสาร โดยจัดพิมพ์เป็ นรู ปเล่มเผยแพร่ ให้โรงเรี ยนในสังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 จานวน 14 กลุ่มโรงเรี ยน 11.2 เผยแพร่ ทางเว็บไซต์ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 11.3 เผยแพร่ โ ดยการนาเสนอผลงานเมื่ อ มี ผูม้ าศึ ก ษาดู ง านที่ ส านัก งานเขตพื้ นที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 ขอรับรองว่ าข้ อมูลดังกล่ าวข้ างต้ นถูกต้ อง และเป็ นความจริง ลงชื่อ ถวิล หวังกุ่ม (นางสาวถวิล หวังกุ่ม) ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ


ภาคผนวก 1.เอกสารงานวิจัยเรื่อง รายงานผลการส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ โดยใช้กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร 2.ตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียน

3. ภาพนาเสนอผลงานวิชาการ และแลกเปลีย่ นเรียนรู้


ชื่อเรื่อง ชื่ อผู้รายงาน ปี การศึกษา

รายงานผลการส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ โดยใช้กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร นางสาวถวิล หวังกุ่ม 2556

บทคัดย่ อ รายงานผลการส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ โดยใช้กระบวนการ นิ เทศแบบกัลยาณมิตร มี วตั ถุ ประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรี ย บเทีย บผลการส่ ง เสริ ม การทาวิจยั ในชั้น เรี ย นในโรงเรี ยนที่รับ ผิดชอบ สานัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 ก่อน และหลังนิเทศโดยใช้กระบวนการนิเทศแบบกัลยาณมิตร และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการ ส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ย นในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุ รี เขต 4 ได้แก่ ครู ผูส้ อนโรงเรี ย นในสั ง กัดส านัก งานเขตพื้ นที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา กาญจนบุรี เขต 4 จานวน 895 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครู ผสู ้ อนในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ จานวน 60 คน ซึ่ งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจงจากโรงเรี ยนที่ผูร้ ายงานรับผิดชอบนิเทศการศึกษา วิธีการ ส่ งเสริ มการทาวิจยั ได้แก่ กระบวนการนิ เทศแบบกัลยาณมิตร ซึ่ งประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ 1) สร้ างศรัทธา 2) พัฒนาความรู ้ 3) ร่ วมคิดและวางแผน 4) ส่ งเสริ มการทาวิจยั และ 5) ประเมินตาม สภาพจริ ง เครื่ องมือที่ใช้ศึกษาผลการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน ได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดความรู ้ความเข้าใจ เรื่ องกระบวนการวิจยั ในชั้นเรี ยน และ 2) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนของครู ในโรงเรี ยนที่ รับผิดชอบโดยใช้กระบวนการนิ เทศแบบกัลยาณมิ ตร สถิ ติที่ใช้ รวบรวมข้อมู ล ได้แก่ ร้ อยละ (%) ค่ า เฉลี่ ย ( X ) และส่ วนเบี่ ย งเบนมาตรฐาน (S.D.) และ t-test วิเคราะห์คะแนนแบบทดสอบด้วยโปรแกรมสาเร็ จรู ป EVANA 4.0 สู ตรจุงเตฟาน กลุ่มสู งกลุ่มต่ า 27% สรุ ปผลการศึกษาได้ดงั นี้ 1. ผลการส่ งเสริ มการทาวิจยั ในชั้นเรี ยน ในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบโดยใช้กระบวนการนิเทศ แบบกัลยาณมิตร สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 มีดงั นี้ 1.1 ความรู ้ ความเข้าใจของครู เกี่ ยวกับกระบวนการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนหลังการนิ เทศ สู งกว่าก่อนการนิเทศ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01


1.2 ครู ในโรงเรี ยนที่รับผิดชอบ นาความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการทาวิจยั ไปใช้ ทาวิจยั ในชั้นเรี ยนทุ กคน จานวน 60 คน จานวนงานวิจยั 60 เรื่ อง และนักเรี ยนได้รับการแก้ไข พัฒนาโดยการวิจยั ในชั้นเรี ยน จานวน 961 คน 2. ครู ในโรงเรี ยนที่ รับผิดชอบพึงพอใจต่อการทาวิจยั ในชั้นเรี ยนโดยใช้กระบวนการนิ เทศ แบบกัลยาณมิตร ระดับมาก


การวิเคราะห์ การแก้ โจทย์ ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 ทีม่ าความสาคัญ ผลการประเมินการทดสอบการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ของสาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ ในปี การศึกษา 2555 ต่ ากว่าผลการประเมินระดับชาติ จากผลการประเมินดังกล่าวทางโรงเรี ยนได้ ประชุมคณะครู ท้ งั หมดเพื่อร่ วมกันแก้ปัญหา เพราะการประเมินระดับชาติน้ นั จะมีผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรี ยนต่ าหรื อสู งกว่าระดับประเทศนั้นถื อว่า เป็ นผลดี และเสี ยกับโรงเรี ยนโดยตรง ซึ่ งผูอ้ านวยการ โรงเรี ยนได้มีนโยบายให้ทุกชั้นเรี ยนได้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ ให้เป็ น รู ปธรรม โดยโรงเรี ยนได้จดั ทาโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนทุกสาระวิชาการเรี ยนรู ้ เพราะผลประเมินที่ปรากฏนั้น ไม่ใช่เป็ นการวัดผลเฉพาะชั้นสู งสุ ดของโรงเรี ยนเท่านั้น ทุกชั้นเรี ยน เป็ นตัวส่ งผลที่จะทาให้ผลสัมฤทธิ์ ดีข้ ึน ฉะนั้น ในแต่ละชั้นเรี ยนต้องเตรี ยมความพร้อมการพัฒนา ให้เป็ นรู ปธรรม จึงจะส่ งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ดีข้ ึน วัตถุประสงค์ ของการศึกษา เพื่อเปรี ยบเที ยบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนก่ อนและหลังเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้แบบฝึ กทักษะ กระบวนการแก้โจทย์ปัญหา สาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 สมมุติฐานการศึกษา นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนโดยใช้แบบฝึ กทักษะกระบวนการ แก้โจทย์ปัญหา สาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ขอบเขตของการศึกษา 1. ประชากร คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรี ยนบ้านหนองกร่ าง สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 ปี การศึกษา 2556 ภาคเรี ยนที่ 2 จานวน 15 คน 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้แบบฝึ กทักษะกระบวนการแก้โจทย์ปัญหา สาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน และความพึงพอใจของนักเรี ยน 3. ระยะเวลาในการศึกษา ปี การศึกษา 2556 ภาคเรี ยนที่ 2 ใช้เวลาในการพัฒนาสัปดาห์ละ 4 วัน ๆ ละ 1 ชัว่ โมง เป็ นเวลา 5 สัปดาห์


เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการศึกษา 1. แบบฝึ กทักษะกระบวนการแก้โจทย์ปัญหา สาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 4 จานวน 5 เล่ม ประกอบด้วย เล่มที่ 1 เรื่ อง การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวก เล่มที่ 2 เรื่ อง การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการลบ เล่มที่ 3 เรื่ อง การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการคูณ เล่มที่ 4 เรื่ อง การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการหาร เล่มที่ 5 เรื่ อง การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หารระคน 2. แบบทดสอบวัดผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นวิช าคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง ทัก ษะกระบวนการ แก้โจทย์ปัญหา สาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ที่ผรู ้ ายงานสร้างขึ้น แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 30 ข้อ 3. แผนการจัดการเรี ยนรู ้ แบบฝึ กทักษะกระบวนการแก้โจทย์ปัญหา จานวน 20 แผน วิธีดาเนินการศึกษา 1. ก่อนดาเนินการศึกษา ทาการทดสอบก่อนเรี ยนด้วยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน วิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง โจทย์ปัญหา สาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ที่ผรู้ ายงาน สร้างขึ้น 2. ดาเนิ นการศึกษา ซึ่ งผูร้ ายงานเป็ นผูส้ อนตามปกติ โดยใช้แบบฝึ กทักษะกระบวนการ แก้โจทย์ปัญหา จานวน 5 เล่ม ประกอบการสอน 3. เมื่อสิ้ นสุ ดการสอนตามกาหนด 3.1 ทาการทดสอบ โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ องโจทย์ปัญหา ฉบับหลังการเรี ยนที่ผรู ้ ายงานสร้างขึ้น 3.2 วัดความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการเรี ยนโดยใช้แบบฝึ กทักษะกระบวนการ แก้โจทย์ปัญหา สาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ด้วยแบบประเมินความพึงพอใจ ที่ผรู้ ายงานสร้างขึ้น 4. ตรวจผลการทดสอบ แล้วนาคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้วิธีทางสถิ ติเพื่อทดสอบ สมมติฐานต่อไป สรุ ปผลการศึกษา ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย นก่ อนและหลัง เรี ย น ที่เรี ย นโดยใช้แบบฝึ กทัก ษะกระบวนการ แก้โจทย์ปัญหา สาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 โดยภาพรวมคะแนนผลสัมฤทธิ์


ทางการเรี ยนวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ องโจทย์ปัญหา คะแนนหลังเรี ยนซึ่ งสู งกว่าเป้ าหมายของโรงเรี ยน ที่กาหนดไว้ และความก้าวหน้าสู งกว่าเกณฑ์ที่กาหนด ข้ อเสนอแนะ ครู ผสู ้ อนควรสร้างแบบฝึ กทักษะกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาน่าสนใจ ลาดับการฝึ กจาก ง่ายไปยาก รู ปแบบการฝึ กมีความหลากหลาย ในสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบนั


ตัวอย่างงานวิจยั ในชั้นเรี ยน รายงานการวิจัยเรื่ องพัฒนาผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชีพ ของนักเรียนชั้ นประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนบ้ านหลังเขา ทีม่ าและความสาคัญ ผูร้ ายงานรับผิดชอบการเรี ยนการสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชี พ ชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 5 จัดการเรี ยนการสอนโดยมุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนตาม เป้ าหมายของหลักสู ตร แต่การจัดการเรี ยนรู ้ ไม่ประสบความสาเร็ จตามจุดมุ่งหมายของหลักสู ตร เนื่ องจากเมื่อวิเคราะห์ผลการเรี ยนแล้ว พบว่า ปั ญหาสาคัญคือการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ด้า นความรู ้ ความเข้าใจ ทักษะการทางาน และคุณลักษณะ ซึ่ งไม่บรรลุตามเป้ าหมายที่โรงเรี ย น กาหนดไว้ คือ ปี การศึกษา 2554 เฉลี่ ยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนร้อยละ 72.50 และปี การศึกษา 2555 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนร้ อยละ 73.46 (เป้ าหมายของโรงเรี ย นร้ อยละ 80.00) ความสาคัญ และความจาเป็ นของปั ญหาที่ ตอ้ งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ การงาน อาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชีพ ให้บรรลุตามเป้ าหมายของหลักสู ตร การจัดการเรี ยนรู้ ให้ส อดคล้อ งและมีคุ ณ ค่า ต่อ การด ารงชี วิต ของชุ ม ชน ผูร้ ายงานจึ ง สนใจที่ จ ะพัฒนาเอกสาร ประกอบการเรี ยน และหนังสื ออ่านเพิ่มเติม โดยบูรณาการสาระเนื้อหาและการบูรณาการเพื่อจัดการ เรี ยนรู ้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วัตถุประสงค์ ของการศึกษา เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชีพ ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ที่เรี ยนโดยใช้เอกสารประกอบการเรี ยน และ หนังสื ออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชี พ ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 5 ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน วิธีการดาเนินการศึกษา 1. ประชากร ประชากร คือ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ปี การศึกษา 2556 โรงเรี ยนบ้านหลังเขา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 จานวน 26 คน ซึ่ งได้มาจากการเลือก แบบเจาะจง เนื่องจากเป็ นนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 ทั้งหมดของโรงเรี ยน


2. เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา มี 3 ชนิด ได้แก่ 2.1 เอกสารประกอบการเรี ย น กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 2.2 หนังสื ออ่านเพิ่มเติม กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 2.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การงานอาชี พและ เทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 3. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผูร้ ายงานได้ดาเนิ นการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามลาดับ ดังนี้ 3.1 ผูร้ ายงานทาการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การงาน อาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 กับนักเรี ยน ก่อนการจัดกิจกรรม การเรี ยนสอนโดยใช้เอกสารประกอบการเรี ยน และหนังสื ออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การ งานอาชี พ และเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชี พ ชั้น ประถมศึก ษาปี ที ่ 5 โดยผูร้ ายงานทาการ ทดสอบและจดบันทึกคะแนนด้วยตนเอง นาข้อมูลไปวิเคราะห์ 3.2 ผูร้ ายงานจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้เอกสารประกอบการเรี ยน และหนังสื อ อ่านเพิ่มเติ ม กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชี พ ชั้นประถม ศึกษาปี ที่ 5 3.3 เมื่อทาการทดลองสอนครบแล้ว ให้นกั เรี ยนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชีพ ชั้นประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 ซึ่ ง เป็ นแบบทดสอบชุ ด เดี ย วกับ แบบทดสอบก่ อ นเรี ย น แล้ว นาผลคะแนนที ่ ไ ด้จ ากการท า แบบทดสอบ บันทึ กไว้เป็ นคะแนนสอบหลังเรี ยนน าข้อมู ลที่ ได้จากการทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ยน ระหว่างก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนมาเปรี ยบเทียบความแตกต่างด้วยการทดสอบค่าที สรุ ปผลการศึกษา ผลการเปรี ยบเทียบค่าคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษา ปี ที่ 5 ปี การศึกษา 2554 ที่เรี ยนโดยใช้เอกสารประกอบการเรี ยนและหนังสื ออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระ การเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชี พ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 หลังเรี ยนสู งกว่า ก่อนเรี ยน โดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรี ยน 28.85 คะแนนเฉลี่ยหลังเรี ยน 33.62 คะแนนหลังเรี ยนสู งกว่า ก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .01


ข้ อเสนอแนะเพือ่ การนาไปใช้ 1. การใช้เอกสารประกอบการเรี ย นและหนังสื ออ่า นเพิ่มเติ ม ควรจัดกิ จกรรมที่ มีค วาม สัมพันธ์กนั แต่แตกต่างในการปฏิบตั ิ โดยต้องศึกษาจุดประสงค์ของแต่ละกิจกรรมอย่างชัดเจน 2. การจัดทาเอกสารประกอบการเรี ยนและหนังสื ออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงาน อาชี พ และเทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชีพ ควรสอดคล้องกับ บริ บ ทของชุ ม ชนจึ ง จะทาให้ก าร เรี ยนรู้ มี ความหมาย ข้ อเสนอแนะเพือ่ การศึกษาครั้งต่ อไป 1. ควรพัฒนาการใช้สื่อการเรี ยนประเภทอื่น ๆ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนกลุ่มสาระ การเรี ยนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2. ควรศึกษาความสัมพันธ์และความแตกต่างของผลการใช้สื่อการเรี ยนแต่ละประเภท


รายงานการวิจัยเรื่องการวัดเจตคติทมี่ ีต่อวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้ นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนบ้ านหนองรี ปี การศึกษา 2556 ความสาคัญและทีม่ า จากการสังเกตในภาคเรี ยนแรกของนัก เรี ย นในระดับ ชั้นประถมศึ ก ษาปี ที่ 6 ปรากฏว่า มีนกั เรี ยนจานวน 20 คน มีพฤติกรรมที่ไม่ชอบเรี ยนภาษาอังกฤษ ขณะผูว้ ิจยั จัดกิ จกรรมการเรี ยน การสอนนักเรี ยนไม่สนใจมักจะคุ ยและเล่ นบ่อย ๆ ดังนั้นผูว้ ิจยั จึ งได้ทาการวิจยั เพื่อปรั บเปลี่ ยน พฤติกรรมโดยจัดกิจกรรมต่าง ๆที่หลากหลาย เช่น นาเกม เพลง และนิทาน มาช่วยการจัดกิจกรรม จุดมุ่งหมาย เพื่อเสริ มสร้างเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ ตัวแปรทีศ่ ึกษา ตัวแปรต้น ได้แก่ เกม เพลง และนิทาน ตัวแปรตาม ได้แก่ เจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ กรอบแนวคิดในการวิจัย เกม เพลง และนิทาน

เจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ

ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ จากการสังเกตพฤติกรรมการเรี ยนการสอน ผูว้ ิจยั พบว่า นักเรี ยนมีความสนใจเรี ยน สนุกสนาน กับการเข้าร่ วมกิจกรรม และรักการเรี ยนภาษาอังกฤษมากขึ้นกว่าเดิม ขอบเขตของการวิจัย ปี การศึกษา 2556 ภาคเรี ยนที่ 2 เนื้ อหากิจกรรมถาม – ตอบจากภาพ ร้องเพลง เกม นิทาน และการปฏิบตั ิตามคาสั่ง


วิธีดาเนินการวิจัย 1. ประชากร ได้แก่ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนอนุ บาลบ่อพลอย ปี การศึกษา 2556 จานวน 20 คน โดยมีวธิ ี การดาเนินการเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังต่อไปนี้ 2. จัดกิจกรรม ดังนี้ ที่ วัน/เดือน/ปี 1 20 – 30 พ.ย. 56 2 1 – 30 ธ.ค. 56 3. 5 – 30 ม.ค. 57 4 5 6

15 – 20 ก.พ. 57 21 – 28 ก.พ. 57 พ.ย. 55– ก.พ. 57

กิจกรรม ถาม-ตอบเกี่ยวกับจานวนจากภาพและบันทึก รวบรวมเก็บข้อมูล พูดคาคล้องจองและเพลง รวบรวมเก็บข้อมูล เล่นเกมจับรู ปภาพคาศัพท์เกมบวก-ลบเลขเรี ยง จานวนเลขและรวบรวมเก็บข้อมูล เล่านิทาน ปฏิบตั ิตามคาสั่งโดยการปฏิสัมพันธ์กบั ผูว้ จิ ยั ตรวจผลงานของนักเรี ยนและรวบรวมเก็บข้อมูล

หมายเหตุ

เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย 1. สื่ อเบ็ดเตล็ด ได้แก่ เกม เพลง และนิทาน 2. แผนการจัดกิจกรรม 3. แบบสอบถามความคิดเห็นและแบบบันทึกการตรวจงาน การสรุ ปผล 1. ผลการเปรี ย บเที ย บค่า คะแนนเฉลี่ ย การทางานที่ เ รี ย นโดยใช้เ กม เพลง และนิ ท าน ภาษาอังกฤษ ของโรงเรี ยนบ้านหนองรี หลังเรี ยนสู งกว่าก่อนเรี ยนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิ ติ ที่ ระดับ .01 คะแนนก่อนเรี ยน X = 31.22 คะแนนหลังเรี ยน X = 38.44 2. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนบ้านหนองรี ที่ มีต่อการเรี ยนโดยใช้เกม เพลง และนิทานภาษาอังกฤษ ของโรงเรี ยนอนุบาลบ่อพลอย พบว่าอยูใ่ น ระดับมาก ( X = 4.48)


รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาการเรียนวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนบ้ านลาอีซู โดยใช้ กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. ทีม่ าและความสาคัญ ผูร้ ายงานเป็ นครู ผสู ้ อนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน ของนักเรี ยนโรงเรี ยนบ้ านลาอีซู ในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ ที่ผรู ้ ายงานรับผิดชอบไม่น่า พอใจ ไม่บรรลุผลตามเป้ าหมายของโรงเรี ยนที่กาหนดคือ ร้อยละ 75 ปี การศึกษา 2555 เฉลี่ยร้อยละ 69.80 และปี 2554 เฉลี่ยร้อยละ 71.29 ซึ่ งผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ความรู ้ความ เข้าใจ ทักษะกระบวนการ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ควรต้องพัฒนาให้สูงขึ้น รวมทั้งผลการประเมิน คุ ณภาพภายนอกในรอบแรก มาตรฐานที่ เกี่ ย วข้องกับ ผูเ้ รี ยนเรื่ อง การคิ ดวิเคราะห์ อยู่ในระดับ คุณภาพระดับ 2 จากสภาพปั ญหาการสอนวิทยาศาสตร์ การจัดกระบวนการ และสภาพปั ญหาการจัดการเรี ยน การสอนวิท ยาศาสตร์ มัธ ยมศึก ปี ที่ 3 โรงเรี ย นบ้ า นล าอีซู จึ ง ควรกิ จ กรรมโครงงาน และ นวัตกรรมที่สอดคล้องกับธรรมชาติวิชาวิทยาศาสตร์ มาใช้จดั กิจกรรมการเรี ยนการสอนเพื่อพัฒนา ผูเ้ รี ยนให้มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะที่จาเป็ นในการดารงชี วิตและมี ส่วนร่ วมในสังคมอนาคตได้ อย่างมีคุณภาพต่อไป 2. วัตถุประสงค์ ในการพัฒนา เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่เรี ยนโดยใช้กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ จดั การเรี ยน การสอน 3. สมมติฐานในการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 หลังเรี ยน สู งกว่าเป้ าหมายของโรงเรี ยน (ร้อยละ 75) 4. วิธีดาเนินการศึกษา 4.1 ประชากร ได้แก่ นักเรี ยนมัธยมศึ กษาปี ที่ 3 โรงเรี ย นบ้ านลาอีซู ปี การศึก ษา 2556 จานวน 31 คน 4.2 เครื่ องมือที่ใช้ ได้แก่ ชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ จานวน 10 ชุด และแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3


4.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผูร้ ายงานได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามลาดับ ดังนี้ 4.3.1 ผูร้ ายงานทาการทดสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ 4.3.2 ผูร้ ายงานจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 4.3.3 เมื่อ ทาการทดลองสอนครบแล้ว ให้น ัก เรี ย นทาแบบทดสอบวัดผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ซึ่ งเป็ นแบบทดสอบชุดเดียว กับแบบทดสอบก่ อนเรี ยน แล้วนาผลคะแนนที่ ได้จากการทาแบบทดสอบ บันทึ กไว้เป็ นคะแนน ทดสอบหลังเรี ยน 4.4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยนาข้อมูล ที่ไ ด้จากการทดสอบวัดผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น หาค่าสถิติโดยใช้ร้อยละ 5. ผลการศึกษา ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ปี การศึกษา 2556 มีผลสัมฤทธิ์ จากการเรี ยนร้อยละ 79.80 สู งกว่าเป้ าหมายของโรงเรี ยน คือร้อยละ 75 6. ข้ อเสนอแนะ 6.1 เนื้ อหาที่ใช้ในการเรี ยนรู ้ การทาโครงงาน ควรมีเนื้ อหาที่ใกล้เคียงกับการนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวันของนักเรี ยนให้มากที่สุด เพื่อให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู้ตามความสนใจ ความถนัด ซึ่ งจะ ส่ งผลให้ผลการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนดีข้ ึน 6.2 ควรทาการพัฒนาการเรี ยนการสอนในลักษณะนี้ กบั งานด้านอื่น ๆ เช่น กิ จกรรมด้าน การพัฒนาผูเ้ รี ยน 6.3 ควรให้เวลาที่ใช้ในการเรี ยนรู ้ การทากิจกรรม ฝึ กทักษะและการทาโครงงานให้เหมาะสม เพื่อให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง ไม่รู้สึกอึดอัดหรื อเบื่อหน่ายต่อการเรี ยนและสามารถทางาน จนประสบผลสาเร็ จ เมื่อพบปั ญหาทีเกิดขึ้นในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ทาการสอน ผูส้ อนควรนาปั ญหา ข้อบกพร่ อง แก้ไข ปรับปรุ ง ทันทีในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ต่อไป


ภาพแสดงการนาเสนอผลงานวิชาการและแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้งานวิจยั ในชั้นเรี ยน วันที่ 16 มกราคม 2557



ประวัตสิ ่ วนตัว ชื่อ-นามสกุล วัน เดือน ปี เกิด สถานทีเ่ กิด วุฒิทางการศึกษา 1. วุฒิปริ ญญาตรี 2. ป.บัณฑิต 2. ปริ ญญาตรี โท ประวัติการทางาน ปี 2546-2552 ปี 2552-ปัจจุบนั

นางสาวถวิล หวังกุ่ม เกิดวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 อายุ 46 ปี 4 เดือน บ้านเลขที่ 455/2 หมู่ 1 ตาบลบ่อพลอย อาเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี ศศ.บ. วิชาเอกภาษาอังกฤษ จากมหาวิทยาลัยวไลอลงกรณ์ วิชาชีพครู จากมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ปริ ญญาโท(ศษ.ม.) วิชาเอกบริ หารการศึกษา จาก มหาวิทยาลัยรามคาแหง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรี ยนบ่อพลอยรัชดาภิเษก ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะ ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1

ผลงานทีภ่ าคภูมิใจ: 1. ได้รับการคัดเลือกผลงานการนิเทศเป็ นวิธีปฏิบตั ิที่ดี ระดับเครื อข่ายการนิ เทศกลุ่ม จังหวัด ปี พ.ศ.2553 ณ ศูนย์แสดงสิ นค้าและการประชุมอิมแพค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี 2. ได้รับการคัดเลือกผลงานการนิเทศเป็ นวิธีปฏิบตั ิที่ดีดา้ นการนิเทศการศึกษาในระดับดี ระดับเครื อข่ายการนิเทศ กลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ. 2554 3. ได้รับการคัดเลือกผลงานศึกษานิเทศก์ดีเด่นระดับเหรี ยญทอง สาขาการนิเทศการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษา ระดับเครื อข่ายการนิ เทศกลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ.2555 4.ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติ “หนึ่งแสนครู ดี” ประเภทวิชาชีพศึกษานิเทศก์ ปี พ.ศ. 2556 ตามประกาศของคุรุสภาเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 5.ได้รับรางวัลทรงคุณค่า(OBEC AWARDS)ระดับชาติ ประเภทศึกษานิเทศก์ยอดเยีย่ ม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน ปี พ.ศ. 2557



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.