BEST PRACTICE ของ นางดวงสมร บาตรโพธิ์ ผอ.โรงเรียนบ้านท่ามะนาว สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

Page 1

รายงานการประเมินตนเอง ( Self Assessment Report : SAR ) ของ

นางดวงสมร บาตรโพธิ์ ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านท่ามะนาว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑

เพื่อขอรับการประเมินรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS ผู้อานวยการสถานศึกษายอดเยี่ยม ด้านการบริหารจัดการ ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก พฤศจิกายน ๒๕๕๘


รายงานการประเมินตนเอง ( Self Assessment Report : SAR ) ของ

โรงเรียนบ้านท่ามะนาว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑

เพื่อขอรับการประเมินรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS สถานศึกษายอดเยี่ยม ขนาดเล็ก ด้านบริหารจัดการศึกษา ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก พฤศจิกายน ๒๕๕๘



1

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน ประวัติ โรงเรียนบ้านท่ามะนาว ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ ๒ ตาบลวังด้ง อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เริ่มสร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๔ ปัจจุบันมีนักเรียนรวมทั้งสิ้น ๗๓ คน เปิดทาการสอน ๒ ระดับ ได้แก่ ระดับก่อนประถมศึกษา และ ระดับประถมศึกษา มีครูและบุคลากรทางการศึกษารวมทั้งสิ้น ๙ คน ปฏิบัติหน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา ๑ คน ปฏิบัติการสอน ๗ คน และช่างครุภัณฑ์ (๓) ๑ คน โรงเรียนมี เขตบริการได้แก่ หมู่ที่ ๒ บ้านท่ามะนาว และหมู่ที่ ๘ บ้านวังจาน ตาบลวังด้ง อาเภอเมืองกาญจนบุรี

คาขวัญ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม นาชุมชน

ปรัชญา นตฺถิ ปญฺญา สมาอาภา (“แสงสว่าง” เสมอด้วย “ปัญญา” ไม่มี)

วิสัยทัศน์ (Vision) โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ โดย ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม

กลยุทธ์ กลยุทธ์ ที่ ๑ พัฒนาสถานศึกษาเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีและภูมิปัญญาท้องถิ่น กลยุทธ์ ที่ ๒ ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีคุณธรรม ความสานึกในความเป็ นไทยและวิถีชีวติ ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ ที่ ๓ พัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานควบคู่กบั การส่ งเสริ มสุ นทรี ยภาพแก่ ผูเ้ รี ยนทุกระดับ กลยุทธ์ ที่ ๔ พัฒนาศักยภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ กลยุทธ์ ที่ ๕ พัฒนาระบบบริ หารจัดการโดยชุมชนมีส่วนร่ วม


2

ข้อมูลเกี่ยวกับงานวิชาการ คะแนนเฉลี่ยผลสอบ O-NET ชั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ ปี ๒๕๕๔ ภาษาไทย ๔๔.๘๐ คณิตศาสตร์ ๓๕.๕๐ วิทยาศาสตร์ ๓๒.๐๐ ภาษาอังกฤษ ๒๙.๕๐ สังคม ๔๒.๘๐ สุขศึกษา ๕๐.๘๙ ศิลปศึกษา ๓๙.๕๐ การงาน ๔๖.๔๐

ประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ – ๒๕๕๗ คะแนนเฉลี่ย หมายเหตุ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ๔๐.๖๓ ๔๙.๓๓ ๒๕.๒๒ ๔๕.๕๖ ๓๑.๕๓ ๓๕.๑๑ ๒๘.๑๓ ๒๙.๔๔ ๔๑.๓๘ ๔๐.๔๔ ๕๐.๗๕ ๖๖.๖๗ ๔๘.๔๔ ๔๖.๖๗ ๕๔.๐๐ ๖๑.๓๓

คะแนนเฉลี่ยผลสอบ NT ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ – ๒๕๕๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

ปี ๒๕๕๔ ๕๓.๗๐ ๔๙.๖๓ ๔๑.๔๘ -

คะแนนเฉลี่ย ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ๔๖.๖๗ ๓๗.๖๗ ๕๑.๖๗ -

รางวัล เกียรติบัตร วุฒิบัตร ที่เคยได้รับ ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รบั ประเภท สถานศึกษา โรงเรียนบ้านท่ามะนาว ๑. โครงการ “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย” ปีการศึกษา ๒๕๕๗ – ๒๕๕๙ ตาม พระราชดาริสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี โรงเรียนมาตรฐานกิจกรรมวิทยาศาสตร์ สาหรับเด็กปฐมวัย ๒. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ “ระดับทอง” ๓. โรงเรียนขนาดเล็กที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็น เลิศ ระดับดีเด่น ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๘ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑

หมายเหตุ ปี ๒๕๕๗

-

หน่ วยงานที่มอบรางวัล สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน

กรมอนามัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑


3

ประเภท สถานศึกษา (ต่อ)

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รบั ๔. สถานศึกษาพอเพียง ๕. โรงเรียนที่มีผลคะแนนค่าเฉลี่ยสูงกว่า ระดับประเทศ ทั้ง ๘ วิชา การสอบ O-NET ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๖ ปี ๒๕๕๖ และปี ๒๕๕๗ ๖. รางวัลทรงคุณค่า OBEC AWARDS สถานศึกษายอดเยี่ยม ขนาดเล็ก ด้าน วิชาการ ระดับภาคกลางและภาค ตะวันออก ปี ๒๕๕๗ ๗. รางวัลชนะเลิศ “วอลเล่ย์บอลหญิง” ประจาปี ๒๕๕๘ ๘. รางวัลรองชนะเลิศ “เปตองหญิง” และ “เปตองชาย” ประจาปี ๒๕๕๘

ผู้บริหาร นางดวงสมร บาตรโพธิ์

๑. รางวัลทรงคุณค่า OBEC AWARDS เหรียญทอง ระดับชาติ ผู้บริหาร สถานศึกษายอดเยี่ยม ขนาดเล็ก ด้าน วิชาการ ปี ๒๕๕๗ ๒. รางวัลทรงคุณค่า OBEC AWARDS เหรียญเงิน ระดับภาคกลางและภาค ตะวันออก ผู้บริหารสถานศึกษายอดเยี่ยม ขนาดเล็ก ด้านวิชาการ ปี ๒๕๕๗ ๓. รางวัลเกียรติบัตร “ครูดีไม่มีอบายมุข” ๔. วุฒิบัตรผ่านการอบรม UTO ครบทุก หลักสูตร จานวน ๑๒๐ รายวิชา ๕. รางวัลเกียรติบัตร “หนึ่งแสนครูดี” ๖. รางวัลทรงคุณค่า OBEC AWARDS ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ผู้บริหารสถานศึกษายอดเยี่ยม ขนาดเล็ก ด้านนวัตกรรม ปี ๒๕๕๖ ๗. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร การเข้ารับการ อบรมต่างๆ ฯลฯ

หน่ วยงานที่มอบรางวัล สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑

สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษาวังด้ง – ช่องสะเดา กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษาวังด้ง – ช่องสะเดา สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน


4

ประเภท ครู นางอรุณี เสริมใหม่

ครู นายสมพร เปียสนิท

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รบั

หน่ วยงานที่มอบรางวัล

๑. รางวัลทรงคุณค่า OBEC AWARDS สานักงานคณะกรรมการ ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก การศึกษาขั้นพื้นฐาน ครูผู้สอนยอดเยี่ยม วิชาสังคมศึกษา ด้านวิชาการ ปี ๒๕๕๗ ๒. โล่รางวัล “ครูดีไม่มีอบายมุข” สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓. วุฒิบัตรผ่านการอบรม UTO จานวน สานักงานคณะกรรมการ ๑๗ หลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๔. รางวัลผู้ฝึกสอนวอลเล่ย์บอลหญิง กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ ชนะเลิศ การศึกษาวังด้ง – ช่องสะเดา ๕. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร การเข้ารับการ อบรมจากหน่วยงานต่างๆ ฯลฯ ๑. รางวัลเกียรติบัตร “หนึ่งแสนครูดี”

สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. วุฒิบัตรผ่านการอบรม UTO ครบทุก สานักงานคณะกรรมการ หลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๓. รางวัล “พ่อดีเด่น” องค์การบริหารส่วนตาบลวังด้ง ๔. รางวัลผู้ฝึกสอนเปตองหญิง กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ รองชนะเลิศอันดับหนึ่ง การศึกษาวังด้ง – ช่องสะเดา ๕. รางวัลผู้ฝึกสอนเปตองชาย กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ รองชนะเลิศอันดับสอง การศึกษาวังด้ง – ช่องสะเดา ๖. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร การเข้ารับการ อบรมต่างๆ ฯลฯ ครู สานักงานคณะกรรมการ นางอุไรวรรณ วิบูลกิจ ๑. วุฒิบัตรผ่านการอบรม UTO จานวน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๘ หลักสูตร ๒. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร การเข้ารับการ อบรมต่างๆ ฯลฯ ครู สานักงานคณะกรรมการ นางพรพรรณ ปสังคานนท์ ๑. วุฒิบัตรผ่านการอบรม UTO จานวน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๖ หลักสูตร ๒. รางวัลผู้ฝึกสอนวอลเล่ย์บอลหญิง ชนะเลิศ ๓. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร การเข้ารับการ อบรมต่างๆ ฯลฯ


5

ประเภท ครู นางสาวชัญญาภัค มงคุณวัด

ครู นายประถม รุ่งเรือง

ครู นางสาวพจนีย์ จีนะ

ลูกจ้างประจา นายจาเนียร ศรีเหรา

หน่ วยงานที่มอบรางวัล สานักงานคณะกรรมการ ๑. วุฒิบัตรผ่านการอบรม UTO จานวน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๗ หลักสูตร กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ ๒. เกียรติบัตรผู้ฝึกซ้อมนักกรีฑาหญิงรุ่น การศึกษาวังด้ง – ช่องสะเดา อายุไม่เกิน ๘ ปี ๓. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร การเข้ารับการ อบรมต่างๆ ฯลฯ สานักงานคณะกรรมการ ๑. วุฒิบัตรผ่านการอบรม UTO จานวน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๗ หลักสูตร กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ ๒. ครูอัตราจ้างดีเด่นประจาปี ๒๕๕๗ การศึกษาวังด้ง – ช่องสะเดา ๓. เกียรติบัตรผู้ฝึกซ้อมนักกรีฑาชายรุ่น อายุไม่เกิน ๑๐ ปี ๔. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร การเข้ารับการ อบรมต่างๆ ฯลฯ สานักงานคณะกรรมการ ๑. วุฒิบัตรผ่านการอบรม UTO จานวน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๗ หลักสูตร ๒. วุฒิบัตร/เกียรติบัตร การเข้ารับการ อบรมต่างๆ ฯลฯ ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รบั

๑. รางวัลทรงคุณค่า OBEC AWARDS เหรียญทอง ระดับชาติ ลูกจ้างประจา สถานศึกษาประถมศึกษา ปี ๒๕๕๗ ๒. รางวัลทรงคุณค่า OBEC AWARDS ชนะเลิศเหรียญทอง ระดับภาคกลาง และภาคตะวันออก ปี ๒๕๕๗ ๓. ลูกจ้างดีเด่นประจาปี ๒๕๕๗

สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษาวังด้ง – ช่องสะเดา


6

คุณสมบัติเบื้องต้น โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีคุณสมบัติเบื้องต้นดังต่อไปนี้ ๑. เป็นสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒. เป็นสถานศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยของทุกวิชาในการสอบ O-NET ของปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษา ที่ผ่านมาสูงกว่าค่าเฉลี่ยของระดับประเทศในทุกระดับชั้นที่สอบ ๓. เป็นสถานศึกษาที่ผ่านการรับรองมาตรฐานจาก สมศ. และผลการประเมินโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ในการประเมินครั้งสุดท้าย ๔. เป็นสถานศึกษาที่ได้รับรางวัล/ยกย่องเชิดชูเกียรติในระดับภูมิภาคขึ้นไปอย่างน้อย 1 รางวัล ในรอบ 3 ปี การศึกษาที่ผ่านมา ผลงานที่เกิดจากการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจนเกิดเป็นวิธีปฏิบัติที่ดีเลิศ คือ บริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้นักเรียนมีความสุข สนุกกับการเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง จนกลายเป็น อัตลักษณ์ของโรงเรียน ทั้งยังสร้างความเชื่อมั่นและเป็นแบบอย่างแก่โรงเรียนต่างๆด้วย ดังรายละเอียดต่อไปนี้


7

วิธีปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ ๑. ชื่อผลงาน BP บริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ด้าน ( ) วิชาการ ( / ) บริหารจัดการศึกษา ( ) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา BP นางดวงสมร บาตรโพธิ์ ๒.๒ โรงเรียน บ้านท่ามะนาว เครือข่าย เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวังด้ง – ช่องสะเดา ๒.๓ โทรศัพท์ 08521702229 e-mail doungtum9@hotmail.com ๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๓.๑ เพื่อให้นักเรียนมีความสุขกับการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๒ เพื่อให้ครู นักเรียน ผู้ปกครอง รู้ เข้าใจและสามารถดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๓.๓ เพื่อสร้างชื่อเสียงและความภาคภูมิใจ ๓.๔ เพื่อสร้างความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา ๒๕๕๗ - จนถึงปัจจุบัน ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป. สพม. สพฐ. สถานศึกษา เชื่อมโยงกับเป้าหมาย และ จุดเน้น ๕.๑ กระทรวงศึกษาธิการ มีดังนี้ นโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑) เป้าหมายปฏิรูปการศึกษา ข้อที่ ๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารและ จัดการศึกษา - สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคล้องเชื่อมโยงกับ กลยุทธ์ ดังนี้ ข้อที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถ ทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ข้อที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ข้อที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอานาจทาง การศึกษาหลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา จุดเน้นในปี ๒๕๕๘ - สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ มีดังนี้ กลยุทธ์ข้อที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ - โรงเรียนบ้านท่ามะนาว ดังนี้ กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาสถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีและภูมิปัญญาท้องถิ่น


8

กลยุทธ์ที่ ๒ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม ความสานึกในความเป็นไทยและวิถีชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานควบคู่กับการส่งเสริมสุนทรียภาพแก่ ผู้เรียนทุกระดับ กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ตามเกณฑ์มาตรฐาน วิชาชีพ กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยชุมชนมีส่วนร่วม ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP การบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านท่ามะนาว ได้นาแนวคิด หลักการ และทฤษฎีต่างๆมาประยุกต์ใช้ ดังต่อไปนี้ ๖.๑ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง "เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนว ทางการดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชายไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง แปลว่า Sufficiency Economyคาว่า Sufficiency Economy นี้ไม่ได้มีใน ตาราเศรษฐกิจ. จะมีได้อย่างไร เพราะว่าเป็นทฤษฎีใหม่ ...Sufficiency Economy นั้นไม่มีในตารา เพราะ หมายความว่าเรามีความคิดใหม่... และโดยที่ท่านผู้เชี่ยวชาญสนใจ ก็หมายความว่าเราก็สามารถที่จะไป ปรับปรุง หรือไปใช้หลักการ เพื่อที่จะให้เศรษฐกิจของประเทศและของโลกพัฒนาดีขึ้น." พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความ รอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทา มีหลักพิจารณาอยู่ ๕ ส่วน ดังนี้ ๑. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติคนในทางที่ควรจะเป็น โดยมี พื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิง ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืน ของการพัฒนา ๒. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้น การปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน ๓. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อมๆ กันดังนี้


9

ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะ เกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล ๔. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังใน ขั้นปฏิบัติ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียรใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ๕. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี


10

๖.๒ จากเอกสารประกอบการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ๙ เล่ม ตามโครงการยกระดับคุณภาพ ครูและผู้บริหารสถานศึกษาทั้งระบบ ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ โดย ความร่วมมือระหว่าง คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ดังนี้ ๖.๒.๑ การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม (Network Building and Participatory) ๖.๒.๒ การปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ (Best Practice) ๖.๓ การบริหารงานด้วยวงจรเดมมิ่ง วงจรเดมมิ่ง PDCA PDCA เป็นเครื่องมือในการใช้ในการบริหารองค์การให้มีคุณภาพ ซึ่งไม่ว่าองค์การทฤษฎีบริหาร ชนิดใดก็ตาม แต่จะเอาระบบ PDCA เข้าไปควบคุมคุณภาพทุกขั้นตอน ซึ่งรายละเอียดของ PDCA มีดังนี้ ๑. วงจรเดมมิ่ง ประกอบด้วย ขั้นตอน ๔ ประการดังนี้ ๑.๑ P= Plan คือ ขั้นตอนการวางแผน เพื่อเลือกปัญหา ตั้งเป้าหมาย การแก้ปัญหา และวางแผนแก้ปัญหา ๑.๒ D= DO คือ ขั้นตอนการดาเนินการแก้ไขปัญหาตามแนวทางที่วางไว้ ๑.๓ C= Check คือ ขั้นตอนการตรวจสอบและเปรียบเทียบผล ๑.๔ A= Action คือ การกาหนดเป็นมาตรฐานและปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น ๒. วิธีการทางานตามวงจรเดมมิ่ง P = กาหนดแผน D = ทาตามแผนที่กาหนด C = ตรวจสอบผลกับแผน A = หากไม่บรรลุแผนให้หาสาเหตุและวางแผนแก้ไขใหม่ หากบรรลุแผนให้รักษามาตรฐานไว้ P = วางแผนใหม่ตั้งเป้าหมายใหม่ D = ทาตามแผนที่กาหนด C = ตรวจสอบผลกับแผน A = หากไม่บรรลุแผนให้วางแผนแก้ไขใหม่ ๓. ขั้นตอนในการทากิจกรรม PDCA ๓.๑ ตรวจดูปัญหารอบๆ ตัว ๓.๒ เลือกหัวข้อเรื่อง ๓.๓ สารวจสภาพปัจจุบัน ๓.๔ กาหนดเป้าหมาย ๓.๕ วิเคราะห์และดาเนินการแก้ไข ๓.๖ กาหนดเป็นมาตรฐาน ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้ - มาจากวิธีการแก้ไขที่ได้ผลแล้ว - มีความชัดเจน - สามารถปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่อง ๓.๗ สรุปและคัดเลือกกิจกรรมครั้งต่อไป


11

๖.๔ ทฤษฎีความพึงพอใจ ความพึงพอใจเป็นปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อความสาเร็จของงาน ครูและนักเรียนทุกคนได้รับ การตอบสนองต่อแรงจูงใจหรือความต้องการที่เห็นผลงาน อยากทดลอง ค้นคว้า อยากผลิตของใช้ด้วยตนเอง มีจิตวิญญาณของการเป็นผู้ผลิต มีความตระหนักในการเป็นอยู่อย่างพอเพียง โรงเรียนบ้านท่ามะนาวได้ศึกษา เกี่ยวกับความหมายของความพึงพอใจและมีผู้ให้ ความหมายของความพึงพอใจไว้ในด้านต่างๆกันพอสรุปได้ ดังนี้ กูด ( Good.๑๙๗๓, p.๓๒๐ ) ให้ความหมายของความพึงพอใจ หมายถึง คุณภาพหรือ ระดับ ความพึงพอใจ ซึ่งเป็นผลจากความสนใจต่างๆและทัศนคติของบุคคลกิจกรรม ขนิษฐา นาคน้อย ( ๒๕๕๐, น. ๒๕ ) ให้ความหมายของความพึงพอใจว่าเป็นเรื่องเกี่ยวข้อง กับอารมณ์ความรู้สึก ทัศนคติของบุคคล อันเนื่องมาจากสิ่งเร้าและแรงจูงใจ ซึ่งปรากฏออกมาทางพฤติกรรม และเป็นองค์ประกอบที่สาคัญในการทากิจกรรมต่างๆของบุคลากรที่บุคคลจะเกิดความพึงพอใจจะต้องอาศัย ปัจจัยหลายอย่างมากระตุ้นให้เกิดความรักหรือมีเจตคติที่ดีต่อสิ่งนั้นๆ ด้วยการจูงใจ วิธีการสร้างความพึงพอใจ มีการศึกษาในด้านความสั มพัน ธ์เชิงเหตุผ ลและผลระหว่างสภาพจิตใจกับผลการปฏิบัติงานจุด ที่ น่าสนใจจุดหนึ่ง คือ การสร้างความพอใจในการปฏิบัติตั้งแต่เริ่มต้น


12

ภาพที่ ๔ แสดงความพึงพอใจนาไปสู่การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ จากแนวคิดดังกล่าว หากต้องการให้กิจกรรมการเรียนการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง บรรลุ ผลสาเร็ จ จึงต้องคานึงถึงการจั ดบรรยากาศและสถานการณ์รวมทั้งสื่ อ อุปกรณ์การเรียนการสอนที่ เอื้ออานวยต่อการเรียน เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของนักเรียน ให้มีแรงจูงใจในการทากิจกรรมจนบรรลุตาม วัตถุประสงค์ของหลักสูตรและเป็นไปตามเงื่อนไขหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลของการปฏิบัติงานนาไปสู่ความพอใจ และผลการปฏิบัติงานจะถูกเชื่อมโยงโดยปัจจัยอื่นๆ ผลการ ปฏิบัติงานที่ดี จะนาไปสู่ผลตอบแทนที่เหมาะสม ซึ่งในที่สุดจะนาไปสู่การตอบสนองความพึงพอใจ ผลการ ปฏิบัติงานย่อมได้รับการตอบสนองในรูปของรางวัล หรือ ผลตอบแทน ซึ่งแบ่งออกเป็น ผลตอบแทนภายใน ( Intrinsic Rewards ) และผลตอบแทนภายนอก ( Extrinsic Rewards ) โดยผ่ า นการรั บ รู้ เ กี่ ย วกั บ ความ ยุติธรรมของผลตอบแทน ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ปริมาณของผลตอบแทนที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับ นั่นคือ ความพึงพอใจใน งานของผู้ ป ฏิบั ติงานจะถูกกาหนดโดย ความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจริงและการรับรู้เรื่อง เกี่ยวกับความยุติธรรมของผลตอบแทนที่รับรู้แล้ว ความพึงพอใจย่อมเกิดขึ้น จากแนวคิดพื้นฐานดังกล่าว เมื่อนามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลตอบแทนภายในหรือ รางวัลภายในเป็นผลด้านความรู้สึกของครูและนักเรียนที่เกิดแก่ตนเองเอง เช่น ความรู้สึกต่อความสาเร็จที่ เกิดขึ้นเมื่อเอาชนะความยุ่งยากต่างๆ และสามารถดาเนินงานภายใต้ความยุ่งยากทั้งหลายได้สาเร็จ ทาให้เกิด ความภาคภูมิใจ ความมั่นใจ ตลอดจนได้รับการยกย่องจากบุคคลอื่น ส่งผลตอบแทนภายนอก เป็นรางวัลที่ผู้อื่น จั ด หาให้ ม ากกว่า ที่ต นเองให้ ตนเอง เช่น การได้รั บค ายกย่อ งชมเชยจากบุค คลต่า งๆ เช่น ผู้ บั งคั บบั ญชา ครูผู้สอน พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน หรือแม้แต่ได้คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับที่น่าพอใจ สรุปได้ว่าความพึงพอใจในการเรียนและผลการเรียนจะมีความสัมพันธ์กันในทางบวก ทั้ งนี้ขึ้นอยู่กับว่า กิจกรรมที่นักเรียนได้ปฏิบัตินั้น ทาให้นักเรียนได้รับการตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายและจิตใจ ซึ่ง เป็ น ส่ ว นส าคั ญ ที่ จ ะท าให้ เ กิ ด ความสมบู ร ณ์ ข องชี วิ ต มากน้ อ ยเพี ย งใดนั่ น คื อ สิ่ ง ที่ ค รู ผู้ ส อนจะค านึ ง ถึ ง องค์ประกอบต่างๆในการเสริมสร้างความพึงพอใจในการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุ่มเป้าหมาย) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ๙ คน นักเรียน ๗๓ คน ผู้ปกครอง ๗๓ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) เป็น BP ประเภท กระบวนการ ดังนั้นจึงใช้กระบวนการตามวงจรโดยการนาหลักการพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่งมา ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบท โดยเพิ่มการสร้างความตระหนักและการเผยแพร่ผลงานด้วย ดังนี้ เริ่มจากการวิเคราะห์บริบทและปัญหาต่างๆ โดยกระบวนการมีส่วนร่ว ม เพื่อให้ทราบถึง ปัญหาและเพื่อสร้างความตระหนักในการดาเนินงานเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันจากนั้นก็วางแผน(P) ดาเนินการตามแผน (D) วิเคราะห์และตรวจสอบการดาเนินงาน (C) และแก้ปัญหาร่วมกันของทุกฝ่าย (A) ทั้งนี้ ให้มีการวิเคราะห์การดาเนินงานเป็นระยะๆ เมื่องานต่างๆเกิดผลสาเร็จและทุกฝ่ายมีความพึงพอใจแล้ว ก็สร้างความมั่นใจ ภาคภูมิใจในผลงานโดยการเผยแพร่ผลงานทุกรูปแบบ ดังแผนภูมิต่อไปนี้


13

๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) - สังเกตพฤติกรรมของครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน - แบบประเมินความพึงพอใจ - ภาพถ่าย เอกสารหลักฐานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ๗.๔ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวมทั้ง ผลการสอบ NT และ O – NET - แบบแสดงความพึงพอใจของครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน - ภาพถ่าย เอกสารหลักฐานต่างๆที่เกี่ยวข้องต่อการพัฒนา ๗.๕ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ - พัฒนาผู้เรียนสู่อัตลักษณ์ คือ “มีสุขกับการเรียนรู้ อยู่ความพอเพียง”


14

- พัฒนาการบริหารจัดการงาน / กิจกรรมต่างๆ สู่ความเป็นเลิศ ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP ) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ - นักเรียนมีความสุขกับการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ครู นักเรียน ผู้ปกครอง รู้ เข้าใจและสามารถดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๓ เพื่อสร้างชื่อเสียงและความภาคภูมิใจ ๓.๔ เพื่อสร้างความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ๘.๒.๑ นักเรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน ๘.๒.๒ การได้รับรางวัล วุฒิบัตร เกียรติบัตร ต่างๆ ของสถานศึกษา ผู้บริหาร นักเรียน ครูและคลากร ทางการศึกษา และนักเรียน ๘.๒.๓ ผลงานเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และมีการเผยแพร่อย่างเป็นรูปธรรม ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้เกี่ยวข้องและวิธีการ ได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน มีความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ในระดับมาก ถึงมากที่สุด ร้อยละ ๑๐๐ ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP มีดังต่อไปนี้ ๘.๔.๑ ครูมีความรู้และเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๘.๔.๒ ครูมีความรู้และเข้าใจสามารถจัดกิจกรรมต่างๆตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ ๘.๔.๓ ครูมีความรู้และเข้าใจวิธีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ๘.๔.๔ ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมโดยกระบวนการมีส่วนร่วม ๘.๔.๕ การนาเทคโนโลยีโลกไร้พรมแดนมาเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์อย่าง ต่อเนื่อง ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ มีดังนี้ ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP ประชุมหาจุดเด่นและจุดที่ควรปรับปรุงของงาน/กิจกรรมต่างๆ ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP มีการปรับปรุงพัฒนางาน โครงการและกิจกรรมต่างๆอยู่ตลอดเวลาด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม ๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวันเวลา และ รูปแบบ/วิธีการ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) - รายงานความก้าวหน้าในที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชนตามควรแก่โอกาส - ประชาสัมพันธ์โดยการนาเสนอผลงานตามสถานที่ต่างๆ รวมถึงเป็นแหล่งศึกษาดูงานของโรงเรียน ใกล้เคียง


15

- มีการเผยแพร่ผ่านทางอินเตอร์เนต คือ facebook ของคณะครูและของโรงเรียนอยู่เป็นประจา ของ นางดวงสมร บาตรโพธิ์ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านท่ามะนาว มี ดังนี้ https://www.facebook.com/doung.tum https://www.facebook.com/profile.php?id=100006132510416&fref=ts https://www.facebook.com/profile.php?id=100003811940698&ref=ts&fref=ts ของโรงเรียนบ้านท่ามะนาว https://www.facebook.com/profile.php?id=100001574880306&fref=ts ของตุณครูพรพรรณ ปสังคานนท์ https://www.facebook.com/pasangkanon.oow?fref=ts - การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน ในโรงเรียนและเชิญชวน ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาของ โรงเรียนต่างๆร่วมชมนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ข้อคิดและแนวทางการส่งเสริมหรือแก้ปัญหาต่อไป


16

ส่วนที่ ๒ ผลการดาเนินงานและผลการประเมินคุณภาพ เทียบกับเกณฑ์รางวัล OBEC AWARDS ในรอบปีปัจจุบัน ที่ผ่านมาโรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีผลงานที่เกิดจากการพัฒนาคุณภาพการศึกษาหลายด้าน ที่เห็นได้ ชัดเจนเป็นรูปธรรม ได้แก่ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนจนเกิดเป็นเอกลักษณ์ คือ “ห้องสมุดพลังแห่ง ศรัทธา” ด้านการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายรูปแบบเพื่อพัฒนาผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานต่างๆ อย่างมีความสุข ตามอัตลักษณ์ของโรงเรียน คือ “มีสุขกับการเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง” ทั้งยังสามารถยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด คือ ผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติ (O – NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ เฉลี่ยรวมทุกวิชาสูงกว่าระดับประเทศ โดยปกติ โรงเรียนใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมจากวังไกลกังวล อาเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ และจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การเข้าค่ายวิชาการ ค่ายคุณธรรม ค่าย ภาษาอังกฤษ การใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น การสอนแบบบูรณาการ ฯลฯ โรงเรียนเริ่มศึกษา แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ และพาคณะครู นักเรียนไปศึกษาดูงานตาม แหล่งเรียนรู้ และโรงเรียนต่างๆที่ประสบความสาเร็จในการสอนแบบยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อ นามาพัฒนาการบริหารจัดการงานด้านต่างๆให้สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ๔ มิติ และจัดการเรียนที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และรับการประเมินสถานศึกษา แบบอย่างพอเพียงในปีการศึกษา ๒๕๕๗ และเริ่มดาเนินการในปีการศึกษา ๒๕๕๖ แบบค่อยเป็นค่อยไป ทั้ง การบริหารจัดการ การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน การวัดและประเมินผล จนกระทั่งใน ปี ๒๕๕๗ ทุกชั้นเรียนได้จัดให้มกี ารบูรณาการแผนการสอนเข้ากับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และจัด กิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการข้ามวิชา อย่างหลากหลายรูปแบบ เน้นการปฏิบัติจริง ส่งผลให้ นักเรียนมีความสุข สนุกกับการเรียนทั้งใน และนอกห้องเรียน ทั้งการสอนโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ร้อยละ ๑๐๐ สามารถดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้ปกครองและ ชุมชนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้ผ่านการประเมิน “สถานศึกษาพอเพียง” นอกจากนี้ การพัฒนาคุณภาพด้านต่างๆตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประสบ ผลสาเร็จจนเป็นที่ยอมรับ มีคณะศึกษาดูงานจากโรงเรียนใกล้เคียงหลายแห่ง ทั้งยังส่งผลให้ได้รับรางวัล “สถานศึกษาขนาดเล็กที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ” ระดับดี ปีการศึกษา ๒๕๕๗ และ ระดับดีเด่น ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ส่งผลให้เกิดคุณภาพด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ องค์ประกอบที่ ๑ ด้านการบริหารงานตามบทบาท/ภารกิจของสถานศึกษา ๑. ด้านคุณภาพผู้เรียน ๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โดยรวมสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชาของปี การศึกษาที่ผ่านมา ๑.๒ ผู้เรียนร้อยละ ๑๐๐ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๑.๓ ผู้เรียนร้อยละ ๑๐๐ มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ ๑.๔ ผู้เรียนร้อยละ ๙๕ มีทักษะการสื่อสารเป็นอย่างดี ๑.๕ ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีความใฝ่รู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ และพัฒนา ตนเองอย่าง ต่อเนื่อง


17

๑.๖ ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีทักษะการคิดอย่างเป็นระบบตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างสมเหตุสมผล ๑.๗ ผู้เรียนร้อยละ ๙๐ มีทักษะในการทางานและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ๑.๘ ผู้เรียนมีความสามารถในการแข่งขันได้รับรางวัลดีเด่นในด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านกีฬา ด้าน วิชาการจากการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนของเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษากลุ่มวังด้ง – ช่อง สะเดา ฯลฯ ๒. ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา ๒.๑ ครูร้อยละ ๑๐๐ มีทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๒.๒ ครูร้อยละ ๑๐๐ มีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาผู้เรียนและสถานศึกษา และเป็น แบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติงาน ๒.๓ ครูร้อยละ ๑๐๐ มีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการหลากหลาย ๒.๔ ครูร้อยละ ๑๐๐ มีการพัฒนาสื่อนวัตกรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้มาใช้ในการจัด กระบวนการเรียนรู้ ๒.๕ ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะหรือสวัสดิการอย่างทั่วถึง ๒.๖ ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาในด้านต่างๆอย่างต่อเนื่องในด้านต่างๆ ๒.๗ ครูบุคลากรทางการศึกษามีผลงานทางด้านการวิจัยและนาผลของการวิจัยไปพัฒนาผู้เรียน อย่างได้ผล ๒.๘ ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีความสามารถได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติและได้รับรางวัลดีเด่น ทางด้านและระดับต่างๆ ๓. ด้านกายภาพ ๓.๑ จานวนอาคารเรียนและอาคารประกอบเพียงพอกับการใช้งาน ๓.๒ ระบบสาธารณูปโภคอยู่ในสภาพใช้การได้ดี ๓.๓ จัดสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ที่ร่มรื่นสวยงามเอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นแหล่งเรียนรู้ ๓.๔ จัดสภาพแวดล้อม อาคารและอุปกรณ์ต่างๆ เป็นระเบียบเรียบร้อยโดยคานึงถึงความ ปลอดภัยเป็นสาคัญ ๓.๕ มีข้อกาหนด/มาตรการในการประหยัดพลังงาน ๓.๖ มีผลที่เกิดจากการปฏิบัติตามข้อกาหนด/มาตรการในการประหยัดพลังงาน


18

๔. ด้านการบริหารจัดการ ๔.๑ มีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจร่วมกัน ๔.๒ การปฏิบตั ิงานตามพันธกิจของสถานศึกษาเป็นไปในทิศทางเดียวกันตามเป้าหมายที่กาหนด ๔.๓ การบริหารงานงบประมาณโปร่งใส ตรวจสอบได้ ๔.๔ ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและมีความสามารถในการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๕ มีผลการปฏิบัติงานตามนโยบายของหน่วยงานบังคับบัญชา ๔.๕ การจัดระบบนิเทศ ติดตาม ประเมินและพัฒนางานอย่างสม่าเสมอ ๕. ด้านสื่อและเทคโนโลยีเพื่อการสอน ๕.๑ โรงเรียนมีอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนอย่างพอเพียงและทันสมัย คือการ จัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมจากวังไกลกังวล และการสืบค้นจากอินเตอร์เนต ๕.๒ โรงเรียนส่งเสริมให้มีการพัฒนาการใช้สื่อเทคโนโลยีแก่ครูผู้สอน ครูใช้อินเตอร์เนตในการ จัดการเรียนการสอน ๕.๓ โรงเรียนมีการพัฒนาและนาสื่อเทคโนโลยีมาใช้ปฏิบัติงานในด้านต่างๆของสถานศึกษา ๕.๔ โรงเรียนมีการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ในการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ การจัดการเรียน การสอนแบบบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๕.๕ การได้รับรางวัลดีเด่นทางด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี ๖. ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน และหน่วยงานอื่น ๖.๑ การให้บริการอาคาร สถานที่ แหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานอื่น ๖.๒ การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาและชุมชน ในการพัฒนาด้านต่างๆ ของสถานศึกษา ๖.๓ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของชุมชน เขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานอื่น ๖.๔ การสร้างเครือข่ายระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการพัฒนาการศึกษา องค์ประกอบที่ ๒ ด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยม ๑. การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา ๑.๑ มีข้อมูลสารสนเทศที่ครอบคลุมในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบัน ๑.๒ มีการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ถูกต้องทันสมัย มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๑.๓ มีการนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการบริหารจัดการอย่างคุ้มค่า ๑.๔ มีการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับกิจกรรมของสถานศึกษาอย่างสม่าเสมอรวดเร็ว ๒. การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ๒.๑ มีการพัฒนาห้องสมุดที่มีมาตรฐาน มีปริมาณหนังสือที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้อย่างเพียงพอ ทันสมัย ๒.๒ มีการพัฒนาห้องปฏิบัติการต่างๆเพื่อการเรียนรู้อย่างครบถ้วนและมีการใช้อย่างคุ้มค่า ๒.๓ มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ๒.๔ มีการจัดสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาที่ส่งเสริมสุขภาพกาย อารมณ์และจิตใจอย่างเหมาะสม


19

๓. การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ๓.๑ มีการพัฒนาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับนโยบาย ความต้องการและปัญหาของ สถานศึกษาและท้องถิ่น ๓.๒ มีการดาเนินงานตามแผนอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง ๓.๓ มีการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนโดยใช้เครื่องมือการตรวจสอบที่มีคุณภาพ ๓.๔ มีการนาผลการประเมินไปใช้ในปรับปรุงการปฏิบัติงานตามแผนอย่างต่อเนื่อง ๔. การให้บริการด้านอาคารสถานที่ ๔.๑ อาคารสถานในสถานศึกษาทุกแห่งอยู่ในสภาพที่สะอาดปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ ๔.๒ มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ สิ่งอานวยความสะดวกในให้บริการอาคารสถานที่อย่างเหมาะสม ๔.๓ มีการจัดระบบซ่อมบารุงอาคารสถานที่ให้อยู่ในสภาพที่แข็งแรง สะอาด และปลอดภัยอยู่เสมอ ๔.๔ มีการจัดระบบสาธารณูปโภคอยู่ในสภาพที่ใช้การได้และปลอดภัย ๕. การบริหารจัดการด้านงบประมาณ ๕.๑ มีการจัดหางบประมาณได้อย่างเพียงพอ ๕.๒ มีแผนติดตาม ควบคุมการใช้งบประมาณอย่างชัดเจน ๕.๓ มีการจัดทาบัญชีการใช้งบอย่างเป็นระบบ เป็นปัจจุบันและตรวจสอบได้ตลอดเวลา ๕.๔ มีการใช้งบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๖. การบริหารงานด้านบุคคล ๖.๑ มีการจัดโครงสร้างการบริหารงาน อย่างชัดเจนเป็นปัจจุบัน ๖.๒ มีการสร้างขวัญและกาลังใจให้กับบุคลากรอย่างเหมาะสม ๖.๓ มีการส่งเสริมพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง ๖.๔ บุคลากรร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย ๗. การบริหารงานด้านอาคารสถานที่ ๗.๑ อาคารสถานในสถานศึกษาทุกแห่งอยู่ในสภาพที่สะอาดปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ ๗.๒ มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ สิ่งอานวยความสะดวกในให้บริการอาคารสถานที่อย่างเหมาะสม ๗.๓ มีการจัดระบบซ่อมบารุงอาคารสถานที่ให้อยู่ในสภาพที่แข็งแรง สะอาด และปลอดภัยอยู่เสมอ ๗.๔ มีการจัดระบบสาธารณูปโภคอยู่ในสภาพที่ใช้การได้และปลอดภัย


20

ส่วนที่ ๓ สรุปผลการประเมิน สรุปผลการประเมินตามตัวชี้วัด องค์ประกอบที่ ๑ ด้านการบริหารงานตามบทบาท/ภารกิจของสถานศึกษา ตัวชี้วัด ๑. ด้านคุณภาพผู้เรียน

รายการประเมิน ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โดยรวมสูงกว่า คะแนน เฉลี่ยรวมทุกวิชาของปีการศึกษาที่ผ่านมา ๒. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๓. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์ ๔. ผู้เรียนร้อยละ ๘๐ มีทักษะการสื่อสารเป็นอย่างดี ๕. ผู้เรียนร้อยละ ๗๕ มีความใฝ่รู้ มีทักษะในการ แสวงหาความรู้ และพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง ๖. ผู้เรียนร้อยละ ๗๕ มีทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างสมเหตุสมผล ๗. ผู้เรียนร้อยละ ๗๕ มีทักษะในการทางานและ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ๘. ผู้เรียนมีความสามารถในการแข่งขันได้รับรางวัล ดีเด่นในด้านและระดับต่างๆ รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

ผลการประเมิน ดีเยี่ยม

ดีมาก

ดี

   

 

  ๖

๑ ๘

ดีเยี่ยม

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๘ ข้อ ดังนี้ ๑. ได้พัฒนาผู้เรียนทุกระดับด้วยวิธีการจัดการเรียนการสอน อย่างหลากหลายรูป จนสามารถยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยรวมทุกวิชาของปีการศึกษา ๒๕๕๗ สูงกว่าปี ๒๕๕๖ (เอกสารอ้างอิง ปรากฏอยู่ในรายงานประจาปี ๒๕๕๗) ๒. พัฒนาผู้เรียนให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีได้ร้อยละ ๙๗ (เอกสารอ้างอิง ปรากฏอยู่ในรายงาน ประจาปี ๒๕๕๗) ๓. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ได้ร้อยละ ๑๐๐ (เอกสารอ้างอิง ปรากฏอยู่ในรายงานประจาปี ๒๕๕๗) ๔. พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการสื่อสารเป็นอย่างดี ร้อยละ ๘๐ (เอกสารอ้างอิงปรากฏอยู่ในรายงาน ประจาปี ๒๕๕๗) ๕. ผู้เรียนร้อยละ ๗๕ มีความใฝ่รู้ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ และพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง


21

๖. พัฒนาผู้เรียนให้ มีทักษะในการทางานและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ร้อยละ ๑๐๐ ๗. พัฒนาผู้เรียนให้ มีทักษะการคิดอย่างเป็นระบบตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างสมเหตุสมผลได้ ร้อยละ ๘๐ ๘. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนจนมีความสามารถในการแข่งขันได้รับรางวัลดีเด่นในด้านและระดับต่างๆได้ ปรากฏอยู่ในภาคผนวก ตัวชี้วัด

รายการประเมิน

๒. ด้านครูและบุคลากร ทางการศึกษา

๑. ครูร้อยละ ๘๐ มีทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๒. ครูร้อยละ ๘๐ มีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานเพื่อ พัฒนาผู้เรียนและสถานศึกษา และเป็นแบบอย่างที่ดี ในการปฏิบัติงาน ๓. ครูร้อยละ ๘๐ มีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้น การพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการหลากหลาย ๔. ครูร้อยละ ๘๐ มีการพัฒนาสื่อนวัตกรรม นา ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้มาใช้ในการจัด กระบวนการเรียนรู้ ๕. ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการส่งเสริม การ ประเมินวิทยฐานะหรือสวัสดิการอย่างทั่วถึง ๖. ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาใน ด้านต่างๆอย่างต่อเนื่องในด้านต่างๆ ๗. ครูบุคลากรทางการศึกษามีผลงานทางด้านการวิจัย และนาผลของการวิจัยไปพัฒนาผู้เรียนอย่างได้ผล ๘. ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีความสามารถ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติและได้รับรางวัลดีเด่น ทางด้านและระดับต่างๆ รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

ผลการประเมิน ดีเยี่ยม

ดีมาก

ดี

        ๘ ๘ ดีเยี่ยม

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๘ ข้อ ดังนี้ ๑. คุณครูสามารถจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้อย่างหลากหลายรูปแบบร้อยละ ๑๐๐ เช่น โครงงาน แบบบูรณาการ ใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น ฯลฯ รวมทั้งการจัดการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียมด้วย(เอกสารอ้างอิง แผนการจัดการเรียนรู้ ของครูทุกท่าน ภาพถ่ายในภาคผนวก) ๒. คุณครู มีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาผู้เรียนและสถานศึกษา และเป็นแบบอย่างที่ดีในการ ปฏิบัติงาน ร้อยละ ๑๐๐ ๓. ครูร้อยละ ๑๐๐ มีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการหลากหลาย โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง การประเมินผลตามสภาพจริง


22

๔. ครูร้อยละ ๘๐ มีการพัฒนาสื่อนวัตกรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรียนรู้มาใช้ในการจัด กระบวนการเรียนรู้ ๕. ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะหรือสวัสดิการอย่างทั่วถึง ได้รับ การเลื่อนวิทยฐานะเป็นชานาญการพิเศษแล้ว ๓ ท่าน ได้แก่ นายสมพร เปียสนิท นางอรุณี เสริมใหม่ และ นางอุไรวรรณ วิบูลกิจ และอยู่ระหว่างการทาผลงาน ๑ ท่าน คือ นางพรพรรณ ปสังคานนท์ นางสาวชัญญาภัค มงคุณวัด ได้รับการเลื่อนตาแหน่งจากครูผู้ช่วย เป็น ครู คศ.๑ (เอกสารอ้างอิง.... คาสั่งเลื่อนระดับ ฯลฯ) ๖. ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาในด้านต่างๆอย่างต่อเนื่องในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งด้านการอบรม มีการสมัครเข้ารับการอบรมด้วยทุนตนเอง เช่น โรงเรียนสุจริต การวิเคราะห์ข้อสอบ PISA การอบรม UTQ ผ่านทุกคน ดังนี้ ผ่านการอบรมครบทุกหลักสูตร ทุกวิชา จานวน ๑๒๐ วิชา ๒ ท่าน ได้แก่ นางดวงสมร บาตรโพธิ์ และ นายสมพร เปียสนิท นางอรุณี เสริมใหม่ ๑๓ วิชา นางพรพรรณ ปสังคานนท์ ๗ วิชา ฯลฯ (เอกสารอ้างอิง.....รายงานการเรียน UTQ) ๗. ครูบุคลากรทางการศึกษาทุกคนมีผลงานทางด้านการวิจัยและนาผลของการวิจัยไปพัฒนาผู้เรียนอย่าง ได้ผล (เอกสารอ้างอิง..... รายงานวิจัยในชั้นเรียน ฯลฯ) ๘. ครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีความสามารถได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติและได้รับรางวัลดีเด่น ทางด้านและระดับต่างๆ ดังต่อไปนี้ นางดวงสมร บาตรโพธิ์ รับรางวัลทรงคุณค่า OBECAWARDS เหรียญทองระดับชาติ ประเภท ผู้อานวยการสถานศึกษาขนาดเล็ก ด้านวิชาการ ได้รับเกียรติบัตร “ครูดีไม่มีอบายมุข” และ “หนึ่งแสนครูดี” ฯลฯ นางอรุณี เสริมใหม่ ได้รับโล่เกียรติยศ “ครูดีไม่มี อบายมุข” และรางวัลทรงคุณค่า OBECAWARDS ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก นายสมพร เปียสนิท เป็นครูภูมิปัญญาท้องถิ่น นางอรุณี เสริมใหม่ เป็นวิทยากรการสร้างนวตกรรมและ เทคโนโลยี นายสมพร เปียสนิท และ นางอุไรวรรณ วิบูลกิจ เป็นคณะกรรมการตัดสินการแข่งขัน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต ๓ ฯลฯ ตัวชี้วัด ๓. ด้านกายภาพ

รายการประเมิน ๑. จานวนอาคารเรียนและอาคารประกอบเพียงพอ กับการใช้งาน ๒. ระบบสาธารณูปโภคอยู่ในสภาพใช้การได้ดี ๓. จัดสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ที่ร่มรื่นสวยงา เอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นแหล่งเรียนรู้ ๔. จัดสภาพแวดล้อม อาคารและอุปกรณ์ต่างๆ เป็น ระเบียบเรียบร้อยโดยคานึงถึงความปลอดภัยเป็นสาคัญ ๕. มีข้อกาหนด/มาตรการในการประหยัดพลังงาน ๖. มีผลที่เกิดจากการปฏิบัติตามข้อกาหนด/มาตรการ ในการประหยัดพลังงาน รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

ผลการประเมิน ดีเยี่ยม

ดีมาก

      ๖ ๖ ดีเยี่ยม

ดี


23

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๖ ข้อ ดังนี้ ๑. จานวนอาคารเรียนและอาคารประกอบเพียงพอกับการใช้งาน (เอกสารอ้างอิง.....ภาพถ่าย) ๒. จัดทาระบบสาธารณูปโภคอยู่ในสภาพใช้การได้ดีโดยปรับปรุงท่อส่งน้ามายังบริเวณที่ปลูกผักสวนครัว (เอกสารอ้างอิง.....บันทึกข้อความ ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) ๓. จัดสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ที่ร่มรื่นสวยงามเอื้อต่อการเรียนรู้และเป็นแหล่งเรียนรู้ (เอกสารอ้างอิง ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) ๔. จัดสภาพแวดล้อม อาคารและอุปกรณ์ต่างๆ เป็นระเบียบเรียบร้อยโดยคานึงถึงความปลอดภัยเป็น สาคัญ (เอกสารอ้างอิง.....รายงานการปรับปรุงซ่อมแซม แบบปร๔ และ ปร๖ การภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) ๕. มีข้อกาหนด/มาตรการในการประหยัดพลังงาน (เอกสารอ้างอิง.... แบบกาหนดมาตรการในการ ประหยัดพลังงาน ป้ายนิเทศในห้องเรียน) ๖. มีผลที่เกิดจากการปฏิบัติตามข้อกาหนด/มาตรการในการประหยัดพลังงาน (เอกสารอ้างอิง....รายงาน การค่าไฟฟ้า รายงานงบประมาณต่างๆ ฯลฯ) ตัวชี้วัด

รายการประเมิน

๔.ด้านการบริหารจัดการ ๑. การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ร่วมกัน ๒. การปฏิบัติงานตามพันธกิจของสถานศึกษาเป็นไปใน ทิศทางเดียวกันตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ๓. การบริหารงานงบประมาณโปร่งใส ตรวจสอบได้ ๔. ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและมีความสามารถในการ บริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๕. มีผลการปฏิบัติงานตามนโยบายของหน่วยงานบังคับ บัญชา ๖. การจัดระบบนิเทศ ติดตาม ประเมินและพัฒนางาน อย่างสม่าเสมอ ๗. บรรยากาศการทางานเป็นมิตร เอื้ออาทรกับ ผู้ร่วมงานและผู้รับบริการ ๘. มีจานวนผู้เรียนที่ออกกลางคันน้อยไม่เกินร้อยละ 3 ๙. มีจานวนผู้เรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่ น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ ๑๐. การได้รับรางวัลดีเด่นของสถานศึกษาในด้านและ ระดับต่าง รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

ผลการประเมิน ดีเยี่ยม

ดีมาก

          ๑๐ ๑๐ ดีเยี่ยม

ดี


24

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๑๐ ข้อ ดังนี้ ๑. มีการจัดทากาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ร่วมกัน .(เอกสารอ้างอิง แผนกลยุทธ์ ภาพถ่าย) ๒. การปฏิบัติงานตามพันธกิจของสถานศึกษาเป็นไปใน ทิศทางเดียวกันตามเป้าหมายที่กาหนดไว้จัดทา. (เอกสารอ้างอิง..... รายงาน SAR) ๓. การบริหารงานงบประมาณโปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการตรวจสอบการเงินทุกเดือน (เอกสารอ้างอิง.. รายงานงบประมาณ คาสั่งต่างๆ รายงานเงินคงเหลือประจาวัน ฯลฯ) ๔. ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและมีความสามารถในการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ (เอกสารอ้างอิง .....แบบสารวจความพึงพอใจ เกียรติบัตร ภาพถ่าย ฯลฯ) ๕. มีผลการปฏิบัติงานตามนโยบายของหน่วยงานบังคับบัญชา (เอกสารอ้างอิง.....บันทึกการนิเทศ ติดตามจากหน่วยเหนือ รายงานผลการปฏิบัติงาน ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) ๖. การจัดระบบนิเทศ ติดตาม ประเมินและพัฒนางานอย่างสม่าเสมอ (เอกสารอ้างอิง....บันทึกการนิเทศ รายงานผลการปฏิบัติงาน ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) ๗. บรรยากาศการทางานเป็นมิตร เอื้ออาทรกับผู้ร่วมงานและผู้รับบริการ (เอกสารอ้างอิง......ภาพถ่าย) ๘. ไม่มีจานวนผู้เรียนที่ออกกลางคัน (เอกสารอ้างอิง......รายงานผู้สาเร็จการศึกษา ) ๙. มีจานวนผู้เรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานร้อยละ ๑๐๐ (เอกสารอ้างอิง รายงานผู้สาเร็จ การศึกษา) ๑๐. การได้รับรางวัลดีเด่นของสถานศึกษาในด้านและระดับต่าง (เอกสารอ้างอิง.........สาเนาเกียรติบัตร และภาพถ่าย) ตัวชี้วัด

รายการประเมิน

๕. ด้านสื่อและเทคโนโลยี เพื่อการสอน

๑. ความพอเพียงและทันสมัยของอุปกรณ์ทางเทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอน ๒. การส่งเสริมพัฒนาการใช้สื่อเทคโนโลยีแก่ครูผู้สอน ๓. การพัฒนาและนาสื่อเทคโนโลยีมาใช้ปฏิบัติงานในด้าน ต่างๆของสถานศึกษา ๔. การมีผลงานวิจัยหรือการประดิษฐ์และสร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่ ๕. การได้รับรางวัลดีเด่นทางด้านนวัตกรรมและ เทคโนโลยี รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๕ ข้อ ดังนี้

ผลการประเมิน ดีเยี่ยม

ดีมาก

     ๕ ๕ ดีเยี่ยม

ดี


25

๑. โรงเรียนจัดหาวัสดุ อุปกรณ์จนความพอเพียงและทันสมัยของอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีเพื่อการเรียน การสอน .(เอกสารอ้างอิง....... ทะเบียนพัสดุ ครุภัณฑ์ ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) ๒. การส่งเสริมพัฒนาการใช้สื่อเทคโนโลยีแก่ครูผู้สอน (เอกสารอ้างอิง รายงานการใช้สื่อ ทะเบียนสือ ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง) ๓. การพัฒนาและนาสื่อเทคโนโลยีมาใช้ปฏิบัติงานในด้านต่างๆของสถานศึกษา (เอกสารอ้างอิง... ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง หนังสือขอบคุณ ฯลฯ) ๔. การมีผลงานวิจัยหรือการประดิษฐ์และสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ (เอกสารอ้างอิง.....เกียรติบัตรรางวัล ต่างๆ รายงานวิจัยในชั้นเรียน ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ ) ๕. การได้รับรางวัลดีเด่นทางด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี (เอกสารอ้างอิง.....เกียรติบัตรรางวัลต่างๆ ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ)

ตัวชี้วัด

รายการประเมิน

๖. ด้านความสัมพันธ์กับ ๑. การให้บริการอาคาร สถานที่ แหล่งเรียนรู้แก่ชุมชน ชุมชน และหน่วยงานอื่น เขตพืน้ ที่การศึกษาและหน่วยงานอื่น ๒. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง คณะกรรมการ สถานศึกษาและชุมชน ในการพัฒนาด้านต่างๆของ สถานศึกษา ๓. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆของชุมชน เขตพื้นที่ การศึกษาและหน่วยงานอื่น ๔. การสร้างเครือข่ายระหว่างโรงเรียนและชุมชนใน การพัฒนาการศึกษา รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

ผลการประเมิน ดีเยี่ยม

ดีมาก

ดี

    ๔ ๔ ดีเยี่ยม

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๔ ข้อ ดังนี้ ๑. จัดให้บริการอาคาร สถานที่ แหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานอื่น ได้แก่ เป็น สถานที่จัดอบรม BBL ให้กับคณะครูในกลุ่มเครือข่ายวังด้ง – ช่องสะเดา กลุ่มเครือข่ายวังด้ง – ช่อง สะเดา ขอใช้สนามฟุตบอลในการแข่งขันกีฬาของกลุ่มเครือข่าย เป็นที่พักของคณะครูและนักเรียน โรงเรียนเทพศิรินทร์พุแค สระบุรีฯลฯ (เอกสารอ้างอิง....ภาพถ่าย หนังสือขอบคุณ) ๒. การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาและชุมชน ในการพัฒนาด้านต่างๆของ สถานศึกษา โดยจัดให้มีการประชุมอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง (เอกสารอ้างอิง รายงานการประชุม ต่างๆ ภาพถ่าย)


26

๓. เข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆของชุมชน เขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานอื่น (เอกสารอ้างอิง....ภาพถ่ายที่ เกี่ยวข้อง หนังสือขอบคุณ ฯลฯ) ๔. มีการสร้างเครือข่ายระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการพัฒนาการศึกษา ได้ทา MOU กับมหาวิทยาลัย ราชภัฏกาญจนบุรี อื่น (เอกสารอ้างอิง...ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง สาเนาหนังสือราชการ ฯลฯ) องค์ประกอบที่ 2 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ตัวชี้วัด ๑. การพัฒนาระบบ ข้อมูลสารสนเทศของ สถานศึกษา

รายการประเมิน ๑. มีข้อมูลสารสนเทศที่ครอบคลุมในการพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาอย่างครอบคลุม ถูกต้องเป็น ปัจจุบัน ๒. มีการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ถูกต้องทันสมัย มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ๓. มีการนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการบริหาร จัดการอย่างคุ้มค่า ๔. มีการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับกิจกรรม ของสถานศึกษาอย่างสม่าเสมอรวดเร็ว รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

ผลการประเมิน ดีเยี่ยม

ดีมาก

ดี

   ๔ ๔ ดีเยี่ยม

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๔ ข้อ ดังนี้ ๑. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวจัดระบบข้อมูลสารสนเทศที่ครอบคลุมในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา อย่างครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบัน (เอกสารอ้างอิง.....รายงานข้อมูลสารสนเทศต่างๆทางระบบอินเตอร์เนต เช่น Smiss ฯลฯ ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง บันทึกการประชุม) ๒. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ สามารถนาส่งข้อมูลให้หน่วยเหนือได้ ทันเวลาทุกครั้ง (เอกสารอ้างอิง......รายงานข้อมูลสารสนเทศ ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง) ๓. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวนาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการบริหารจัดการอย่างคุ้มค่า (เอกสารอ้างอิง.... รายงานการประชุม ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) ๔. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวจัดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับกิจกรรมของสถานศึกษาอย่าง สม่าเสมอรวดเร็ว (เอกสารอ้างอิง…. Facebook รายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ภาพถ่ายที่ เกี่ยวข้อง ฯลฯ)


27

ตัวชี้วัด ๒. การพัฒนาแหล่ง เรียนรู้

รายการประเมิน ๑. มีการพัฒนาห้องสมุดที่มีมาตรฐาน มีปริมาณหนังสือที่ สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้อย่างเพียงพอ ทันสมัย ๒. มีการพัฒนาห้องปฏิบัติการต่างๆเพื่อการเรียนรู้อย่าง ครบถ้วนและมีการใช้อย่างคุ้มค่า ๓. มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาที่เอื้อต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ๔. มีการจัดสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาที่ส่งเสริม สุขภาพกาย อารมณ์และจิตใจอย่างเหมาะสม รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

ผลการประเมิน ดีเยี่ยม

ดีมาก

ดี

    ๔ ๔ ดีเยี่ยม

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๔ ข้อ ดังนี้ ๑. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีการพัฒนาห้องสมุดที่มีมาตรฐาน มีปริมาณหนังสือที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ อย่างเพียงพอ ทันสมัย.....(เอกสารอ้างอิง....ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ห้องสมุด ฯลฯ) ๒. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีการพัฒนาห้องปฏิบัติการต่างๆเพื่อการเรียนรู้อย่างครบถ้วนและมีการใช้อย่างคุ้มค่า.. (เอกสารอ้างอิง...ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ) ๓. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวจัดให้มี การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษาที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่าง ต่อเนื่องทท(เอกสารอ้างอิง....ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น ห้องสมุด แปลงเกษตร โรงเห็ด ฯลฯ) ๔. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวจัดให้มีการจัดสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาที่ส่งเสริมสุขภาพกาย อารมณ์และจิตใจ อย่างเหมาะสม (เอกสารอ้างอิง....ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น สวนหย่อม ห้องเรียน บริเวณต่างๆ ป้ายหินยินดี ต้อนรับ ฯลฯ) ตัวชี้วัด ๓. การพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษา

รายการประเมิน ๑. มีการพัฒนาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้อง กับนโยบาย ความต้องการและปัญหาของสถานศึกษาและ ท้องถิ่น ๒. มีการดาเนินงานตามแผนอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง ๓. มีการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานตาม แผนโดยใช้เครื่องมือการตรวจสอบที่มีคุณภาพ ๔. มีการนาผลการประเมินไปใช้ในปรับปรุงการปฏิบัติงาน ตามแผนอย่างต่อเนื่อง รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

ผลการประเมิน ดีเยี่ยม

ดีมาก

    ๔ ๔ ดีเยี่ยม

ดี


28

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๔ ข้อ ดังนี้ ๑. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวจัดให้มีการพัฒนาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับนโยบาย ความ ต้องการและปัญหาของสถานศึกษาและท้องถิ่น (เอกสารอ้างอิง...แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ฯลฯ) ๒. มีการดาเนินงานตามแผนอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง (เอกสารอ้างอิง...รายงานผลการปฏิบัติงานต่างๆ รายงานประจาปี ฯลฯ) ๓. มีการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนโดยใช้เครื่องมือการตรวจสอบที่มีคุณภาพ (เอกสารอ้างอิง....รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายใน ) ๔. มีการนาผลการประเมินไปใช้ในปรับปรุงการปฏิบัติงานตามแผนอย่างต่อเนื่อง (เอกสารอ้างอิง....รายงาน ประจาปี ฯลฯ) ตัวชี้วัด ๔. การให้บริการด้าน อาคารสถานที่

รายการประเมิน ๑. อาคารสถานในสถานศึกษาทุกแห่งอยู่ในสภาพที่สะอาด ปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ ๒. มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ สิ่งอานวยความสะดวกใน ให้บริการอาคารสถานที่อย่างเหมาะสม ๓. มีการจัดระบบซ่อมบารุงอาคารสถานที่ให้อยู่ในสภาพที่ แข็งแรง สะอาด และปลอดภัยอยู่เสมอ ๔. มีการจัดระบบสาธารณูปโภคอยู่ในสภาพที่ใช้การได้และ ปลอดภัย รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

ผลการประเมิน ดีเยี่ยม

ดีมาก

ดี

    ๔ ๔ ดีเยี่ยม

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๔ ข้อ ดังนี้ ๑. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีอาคารสถานในสถานศึกษาทุกแห่งอยู่ในสภาพที่สะอาดปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ (เอกสารอ้างอิง.....ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ) ๒. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ สิ่งอานวยความสะดวกพร้อมให้บริการอาคารสถานที่อย่างเหมาะสม (เอกสารอ้างอิง ....ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง) ๓. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีการจัดระบบซ่อมบารุงอาคารสถานที่ให้อยู่ในสภาพที่แข็งแรง สะอาด และปลอดภัยอยู่ เสมอ (เอกสารอ้างอิง..... ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง บันทึกข้อความ ฯลฯ) ๔. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีการจัดระบบสาธารณูปโภคอยู่ในสภาพที่ใช้การได้และปลอดภัย (เอกสารอ้างอิง..... ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง บันทึกข้อความ ฯลฯ)


29

ตัวชี้วัด ๕. การบริหารจัดการ ด้านงบประมาณ

รายการประเมิน ๑. มีการจัดหางบประมาณได้อย่างเพียงพอ ๒. มีแผนติดตาม ควบคุมการใช้งบประมาณอย่างชัดเจน ๓ มีการจัดทาบัญชีการใช้งบอย่างเป็นระบบ เป็นปัจจุบัน และตรวจสอบได้ตลอดเวลา ๔. มีการใช้งบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

ผลการประเมิน ดีเยี่ยม

ดีมาก

ดี

    ๔ ๔ ดีเยี่ยม

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๔ ข้อ ดังนี้ ๑. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีการจัดหางบประมาณได้อย่างเพียงพอ (เอกสารอ้างอิง..... รายงานการใช้เงิน งบประมาณต่างๆ รายงานการใช้เงินนอกงบประมาณ ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง บันทึกข้อความ หนังสือขอบคุณ สมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร ฯลฯ) ๒. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีแผนติดตาม ควบคุมการใช้งบประมาณอย่างชัดเจน (เอกสารอ้างอิง..... ภาพถ่ายที่ เกี่ยวข้อง บันทึกข้อความ รายงานการประชุมคณะกรรมการ ฯลฯ) ๓ โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีการจัดทาบัญชีการใช้งบอย่างเป็นระบบ เป็นปัจจุบันและตรวจสอบได้ตลอดเวลา (เอกสาร อ้างอิง.....บัญชีแสดงรายการใช้งบประมาณ รายงานเงินคงเหลือประจาวัน ฯลฯ) ๔. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีการใช้งบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพ (เอกสารอ้างอิง..... ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง บันทึกข้อความ รายงานเงินคงเหลือประจาวัน รายงานการใช้เงินนอกงบประมาณ ฯลฯ) ตัวชี้วัด ๖. การบริหารงานด้าน บุคคล

รายการประเมิน ๑. มีการจัดโครงสร้างการบริหารงาน อย่างชัดเจนเป็น ปัจจุบัน ๒. มีการสร้างขวัญและกาลังใจให้กับบุคลากรอย่างเหมาะสม ๓. มีการส่งเสริมพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง ๔. บุคลากรร้อยละ ๘๐ มีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงาน ตามที่ได้รับมอบหมาย รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

เกณฑ์การประเมิน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี     ๔ ๔ ดีเยี่ยม


30

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๔ ข้อ ดังนี้ ๑. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีการจัดโครงสร้างการบริหารงาน อย่างชัดเจนเป็นปัจจุบัน (เอกสารอ้างอิง..... โครงสร้าง การบริหารงาน ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) ๒. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีกิจกรรมการสร้างขวัญและกาลังใจให้กับบุคลากรอย่างเหมาะสม (เอกสารอ้างอิง..... บันทึกข้อความที่เกี่ยวกับ รายงานการใช้จ่ายเงินสวัสดิการต่างๆ ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น การมอบเค้ก ของขวัญใน วันคล้ายวันเกิด วันขึ้นปีใหม่ ฯลฯ ) ๓. ร้อยละ ๘๐ มีการส่งเสริมพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง (เอกสารอ้างอิง.....รายงานการศึกษาดูงาน ประชุม อบรมสัมมนา รายงานผลการเรียน UTQ ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) ๔. บุคลากรของโรงเรียนบ้านท่ามะนาวร้อยละ ๘๐ มีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย ร้อยละ ๑๐๐ (เอกสารอ้างอิง.....แบบสอบถามความพึงพอใจ ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ)

ตัวชี้วัด ๗. การให้บริการด้าน อาคารสถานที่

รายการประเมิน ๑. อาคารสถานในสถานศึกษาทุกแห่งอยู่ในสภาพที่สะอาด ปลอดภัย และถูกสุขลักษณะ ๒. มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ สิ่งอานวยความสะดวกใน ให้บริการอาคารสถานที่อย่างเหมาะสม ๓. มีการจัดระบบซ่อมบารุงอาคารสถานที่ให้อยู่ในสภาพที่ แข็งแรง สะอาด และปลอดภัยอยู่เสมอ ๔. มีการจัดระบบสาธารณูปโภคอยู่ในสภาพที่ใช้การได้และ ปลอดภัย รวม ปฏิบัติได้ สรุปผลการประเมิน

เกณฑ์การประเมิน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี     ๔ ๔ ดีเยี่ยม

ผลการดาเนินงาน : ในปีการศึกษา ๒๕๕๘ มีผลการดาเนินงาน ๔ ข้อ ดังนี้ ๑. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวจัดการอาคารสถานในสถานศึกษาทุกแห่งให้อยู่ในสภาพที่สะอาดปลอดภัย และถูก สุขลักษณะ (เอกสารอ้างอิง..... ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) ๒. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวจัดให้มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ สิ่งอานวยความสะดวกในให้บริการอาคารสถานที่อย่าง เหมาะสม (เอกสารอ้างอิง..... ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) ๓. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีการจัดระบบซ่อมบารุงอาคารสถานที่ให้อยู่ในสภาพที่แข็งแรง สะอาด และปลอดภัยอยู่ เสมอ (เอกสารอ้างอิง..... ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) ๔. โรงเรียนบ้านท่ามะนาวมีการจัดระบบสาธารณูปโภคอยู่ในสภาพที่ใช้การได้และปลอดภัย (เอกสารอ้างอิง..... ภาพถ่ายที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ)


31

ส่วนที่ ๔ ภาคผนวก (หลักฐาน เอกสารอ้างอิง) ๑. ผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นบานระดับชาติ (O – NET) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๗

๒. การรับรองมาตรฐานการศึกษา ๓. การได้รับรางวัล/การยกย่องเชิดชูเกียรติ


32

องค์ประกอบที่ ๑ ด้านการบริหารงานตามบทบาท/ภารกิจของสถานศึกษา ๑.๑ ด้านคุณภาพผู้เรียน ปรากฏอยู่ในเอกสาร รายงานประจาปี (SAR) ของโรงเรียน


33


34


35


36


37


38

๑.๒ ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา


39

๑.๓ ด้านกายภาพ

๑. สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอกที่ผ่านมา ๓. เอกสารเกี่ยวกับการติดตามประเมินผล เช่น แบบสารวจ แบบสารวจความพึงพอใจ


40

อบรมคุณธรรม จริยธรรม โดยพระอาจารย์พระครูปลัดสมศักดิ์ เจ้าอาวาสวัดเฉลิมพระเกียรติฯ กาญจนบุรี

นานักเรียนเข้าค่าย “เยาวชนรักษ์พงไพร” ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและสัตว์ป่าเขาน้าพุ อ.ศรีสวัสดิ์

จัดกิจกรรม กีฬาต้านยาเสพติด โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก อบต.วังด้ง

รับการประเมินสถานศึกษาขนาดเล็กที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ได้เงินรางวัล ๕๐,๐๐๐ บาท


41

จัดอบรม BBL แก่คณะครูและโรงเรียนใกล้เคียง โดยเชิญ ผอ.สุรินทร์ กอหรั่งกูล เป็นวิทยากร

นาคณะครูและประธานกรรมการโรงเรียนศึกษาดูงาน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ BBL ณ โรงเรียนวัดกาญจนบุรีเก่า “อุดมราษฎร์วิทยา”

๔ - ๖ กันยายน ๒๕๕๘ ทาสนาม BBL โดย บริษทั พี.แอนด์ เอส. โดโลไลม์ จากัด


42

รับมอบเงินทุนโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน จานวน ๓๕,๐๐๐ บาท เผยแพร่ผลงานและเป็นแบบอย่างที่ดีแก่โรงเรียนต่างๆ

คณะครูโรงเรียนบ้านท่าโป่ง โรงเรียนบ้านเกาะแก้ว และ โรงเรียนบ้านช่องกระทิง ขอศึกษาดูงานเศรษฐกิจพอเพียง


43

คณะครูโรงเรียนวัดเขาน้อยศึกษาดูงานแนวทางการประเมิน “สถานศึกษาพอเพียง”

๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ ต้อนรับผู้บริหารและคณะครูโรงเรียนบ้าน หนองบัว ศึกษาดูงานเศรษฐกิจพอเพียง

ให้ความรู้แก่ผู้บริหารและคณะครูโรงเรียนวัดหนองตะครอง ศึกษาดูงานเศรษฐกิจพอเพียง


44

บริษัท ถ่ายทาสปอร์ตโฆษณา “โครงการข้าราชการที่ดี”


45

ส่งเสริม สนับสนุน ให้คุณครูชัญญาภัค มงคุณวัด และ นายจาเนียร ศรีเหรา ช่างไม้ 4 ได้รับคัดเลือกเป็นพรีเซนเตอร์ ถ่ายทาสปอร์ตโฆษณา “โครงการข้าราชการที่ดี” โดย บริษัท บลูโอเชี่ยน อิมเมจ จากัด


46

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันแบบยั่งยืน นักเรียนโรงเรียนบ้านท่ามะนาวและคณะครู ได้ร่วมกันทาโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้าและปรับพื้นที่แปลงพืชผัก สวนครัว ในโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันแบบยั่งยืนตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัว


47

โรงเพาะเห็ดนางฟ้า


48

โครงการป่าชุมชน คนรักษ์พอเพียง

ปลูกหน่อไม้ไผ่รวก ผักหวานป่า มะขามป้อม ฯลฯ


49

ผักหวานป่า และ มะขามป้อม


50


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.