การบริหารที่เป็นเลิศ (BEST PRACTICE) POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21
โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม หมู่ที่ 3 ตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
คานา การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างแท้จริงนั้นจาเป็นต้องมีการร่วมมือกันของหลายฝ่าย ซึ่งนอกจากผู้ บริหาร ครู ผู้ปกครอง คณะกรรมกการสถานศึกษาแล้ว ในส่วนขององค์กรทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนก็มีความสาคั ญยิ่งต่อความสาเร็จและการบรรลุเป้าหมายในการจัดการศึกษา ของโรงเรียน โรงเรียนวัด โพธิ์ศรีสุขาราม เป็นสถานศึกษาพอเพียง ต้นแบบ โรงเรียนคุณธรรมชั้นนา โรงเรียนแกนนาในการใช้ระบบ Coaching and Mentoring ดังนั้นในการจัดการศึกษาจึงมุ่งเน้นที่จะ เสริมสร้างผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม โดยการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้ มีความรู้ ความสามารถ เต็มตามศักยภาพ และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ผู้เรียน สามารถดาเนิน ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง ซึง่ การจัดการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนมี ทักษะการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 ทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ พื้นฐานสาระหลักการเรียน 8 กลุ่ม สาระ ความรู้เชิงบูรณาการ ทักษะการเรียนและนวัตกรรม ทักษะชีวิตและงานอาชีพ และทักษะด้าน สารสนเทศ สื่ อเทคโนโลยี มีความพร้อมที่จะก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 ได้ เป็นอย่างดี ซึง่ รูปแบบในการ บริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้นนับได้ว่ามีความสาคัญต่อความสาเร็จและความล้มเหลวในการ จัดการศึกษาของสถานศึกษาเป็นอย่างยิ่ง อย่างไรก็ดีเพื่อให้การบริหารจัดการศึกษาบรรลุผลสาเร็จตาม เป้าหมายของชาติและ การ จัดการเรียนการสอนสามารถพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขารามจึงได้พัฒนา ระบบการบริหาร จัดการด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง โดยได้ ตระหนักถึง ความสาคัญของ บรรยากาศในการทางาน เน้น การทางานเป็นทีม และเปิดโอกาสให้ ทุกฝ่ายมีส่ว นร่วมในการจัดการศึกษาในทุกกระบวนการหรือขั้นตอนของการทางาน ทั้งนี้เพื่อให้ การจัดการศึกษามีคุณภาพและเป็นที่ยอมรับของบุคคลโดยทั่วไป อย่างไรก็ดี กระบวนการบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 เป็นรู ปแบบที่โรงเรียนใช้ ในการบริหารงาน ซึง่ ประสบความสาเร็จ เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากรูปแบบนี้ให้ความสาคัญในเรื่องของ การร่ว มมือกันทางานของทุกฝ่าย การติดต่อ สื่อสาร และการ ประสานงานกัน อย่างสม่าเสมอ การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น และประสบการณ์ รับฟังความคิดเห็นซึ่งกั นและกัน เป็นรูปแบบการ บริหารที่ สามารถลดปัญหาความขัดแย้งที่จะนามาซึ่งอุปสรรคในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ส่งผล ให้บุคลากรทุกฝ่าย มีความเข้าใจ กัน มีขวัญกาลังใจในการ ร่วมมือกันทางานให้บรรลุเป้าหมายทั้ง โดย ส่วนตัวและหน่วยงาน การจัดการศึกษาของโรงเรียนดาเนินไปได้ด้วยดี
วิไล กวางคีรี 19 พฤศจิกายน 2557
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานที่ภาคภูมิใจ(BEST PRACTICE) ชื่อ – สกุล นางสาววิไล กวางคีรี ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ สถานที่ทางาน โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม ที่อยู่ หมู่ 3 ตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี 71130 โทรศัพท์ 034-561584 , 081-7361805 e-mail : wilaikwang@gmail.com 1. ผลงาน POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 สถานการณ์ของโลกในยุคปัจ จุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่การนาวิทยาการและเทคโนโลยี ใหม่ๆมาใช้ในการอานวยความสะดวกแก่มนุษย์ ไม่เว้นแม้กระทั่งการจัดการศึกษา ดังจะเห็นได้ว่าการ จัดการศึกษาในปัจจุบันการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการจัดการศึกษาก็เป็นวิธีการหนึ่ง ที่สาคัญ เนื่องจากผู้เรียนสามารถค้นหาความรู้ได้อย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุกา รณ์ เพราะในทุกซอกทุกมุมบน โลกกลายเป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งเก็บรวบรวมองค์ความรู้ขนาดใหญ่ ที่สามารถค้นหาได้ผ่านทาง อินเทอร์เน็ต ที่เป็นเช่นนี้ นั่นเป็นเพราะว่าโลกของเรากาลังก้าวเดินเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคที่ ความรู้ หาได้ง่าย แต่การพัฒนาให้มนุษย์มีทักษะในการแสวงหาความรู้ได้อย่างชาญฉลาด มีความรู้ ความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขเป็นเรื่อง ที่สาคัญยิ่งกว่า ดังนั้นการศึกษาจึงเป็นบันไดขั้นพื้นฐานที่มีความสาคัญยิ่งในการนาพาเ ด็กไทยก้าวสู่ ศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมั่นคง แต่ทั้งนี้การจัดการศึกษาจะสามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้มากน้อย เพียงใดนั้นย่อมขึ้นอยู่กับการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งเป็นผู้นาองค์การที่ มีสาคัญใน การขับเคลื่อนงานต่างๆของสถานศึกษาให้ดาเนินไปอย่างมีระบบ ทัน สมัย และเหมาะสมกับ สถานการณ์ โรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม เป็น สถานศึกษา ที่จัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ระดับ ก่อน ประถมศึกษาและระดับประถมศึกษา ที่ผ่านมานั้นการจัดการศึกษาของโรงเรียนยังไม่ประสบ ความสาเร็จ เท่าที่ควร ทั้งนี้ เนื่องจากการ การบริหารจัดการด้านการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนไปสู่ ศตวรรษที่ 21 นั้นยังไม่มีความชัดเจนและเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ซึ่งการจัดการศึกษาเพื่อ พัฒนาผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 นั้น ครูจะต้องจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ ทาให้ผู้เรียนรู้สึกท้าทาย มี กิจกรรมให้ปฏิบัติ อย่างเหมาะสม ส่งเสริม ผู้เรียนในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จัดแหล่งเรียนรู้ ที่ เอื้อต่อการจัดการศึกษาทั้งในและนอกห้องเรียน โดยต้องมี การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนแบบบูรณาการ ทั้งในด้านการกระตุ้นสมองของผู้เรียนด้วยวิธีการ Brain-base Learning การใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในก ารจัดการเรียนการสอน รวมทั้งการส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพร่างกายของ ผู้เรียนให้มีความสมบูรณ์ ใช้ สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนต้องมี บรรยากาศทางด้านกายภาพและทางด้านสังคมที่เอื้อต่อการทางานร่วมกันทั้งฝ่ายบริหารและฝ่าย
ปฏิบัติการ เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุเป้าหมายตามหลักสูตร อย่างไรก็ดีเมื่อพิจารณารูปแบบการ บริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่ผ่านมาพบว่า รูปแบบการบริหารจัดการศึกษา ยังไม่มีรูปแบบที่ ชัดเจน การทางานไม่เป็นระบบ การร่วมมือกันในการวางแผนจัดการเรียนการสอน การประสานงาน การติด ต่อสื่อสารด้านการ จัดการเรียนการสอนมีน้อย มีขั้นตอนการดาเนินงานมากเกินไป ดังนั้น ฝ่าย บริหารจึงได้มีการคิดค้นรูปแบบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีความเหมาะสม กับบริบทของโรงเรียน โดยการศึกษารูปแบบการบริหารสถานศึกษาและองค์การต่างๆทั้งในและ ต่างประเทศ ในที่สุดก็ได้รูปแบบการบริหารที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนโดยใช้ชื่อว่า การ บริหาร แบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ซึง่ การบริหารงานแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 เป็นการบริหารงานที่ได้นา แนวคิดและหลักการของการบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School – based Management : SBM) การบริหารคุณภาพทั้งองค์การ (Total Quality Management :TQM) ระบบการควบคุมคุณภาพ (Quality Control Circle : Q.C.C. ) และการพัฒนาสถานศึกษาทั้งระบบ (Whole School Approach : WSA) มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงานแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 ทั้งนีเ้ พื่อให้การจัดการศึกษา สามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ ผู้เรียน มีความสามารถในด้านการอ่านและเขียน (Literacy) การคิดคานวณ (Numeracy) การคิด อย่างมี เหตุผล (Reasoning Ability) และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร โดยบูรณาการหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอน ซึ่งเป็นการพัฒนาผู้เรียนให้ มี คุณภาพพร้อมก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ได้อย่างแท้จริง 2. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อเป็น เครื่องมือในการ บริหาร จัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ที่เหมาะสม กับ บริบทของโรงเรียน 2. เพื่อให้การบริหารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนบรรลุจุดหมายของหลักสูตร อย่าง มีประสิทธิภาพ 3. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 3. กระบวนการดาเนินงาน 3.1 การวางแผน(Plan) 3.1.1 ศึกษา สภาพปัจจุบัน ปัญหา และอุปสรรคในการ บริหาร จัดการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21ของโรงเรียนทั้งในด้าน สภาพแวดล้อมภายในที่เป็นจุดแข็ง และจุดอ่อน เช่น รูปแบบการบริหารงานของโรงเรียน การจัดการเรียนการสอนของครู และ สภาพ การเรียนรู้ของนักเรียนในปัจจุบัน และในด้านสภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นโอกาส และเป็นอุปสรรค
ในการจัดการศึกษา โดยให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม ได้แ ก่ ผู้บริหาร ครู คณะกรรมการ สถานศึกษา นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน 3.1.2 วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษา และศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ ศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21ที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน เพื่อกาหนดรูปแบบ ขอบข่าย และแนวทางในการพัฒนา และแก้ปัญหาการบริหารจัดการศึกษา 3.1.3 สร้างรูปแบบการบริหารที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน และเอื้อ ต่อการ บริหารจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในการสร้างเครื่องมือนั้น ยึด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ชื่อว่า “POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21” 3.2 การลงมือปฏิบัติ(Do) 3.2.1 บริหารจัดการ ศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามรูปแบบบริหาร PHOSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 3.2.2 สอบถามความพึงพอใจ ของบุคลากร ต่อ การบริหาร แบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 3.3 การตรวจสอบ(Check) การตรวจสอบโดยการประเมินผลความพึงพอใจของบุคลากรต่อการบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 3.4 การสะท้อนผล(Action) 3.4.1 ศึกษาปัญหาอุปสรรค จุดบกพร่องที่ต้องปรับปรุงแก้ไขในการบริหารจัด การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ การบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 3.4.2 นาการบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 ไปใช้และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3.4.3 เผยแพร่ การบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 4. ความรู้สึกต่อผลงานที่ภาคภูมิใจ 1.โรงเรียนมีเครื่องมือในการบริหารจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับบริบทของตนเอง 2. การบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 สามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุจุดหมายของหลักสูตรได้ 3. โรงเรียนสามารถใช้การบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สู่ศตวรรษที่ 21 ในการบริหารจัดการงาน/โครงการ/กิจกรรมของโรงเรียนได้ทุกกิจกรรม
4. บุคลากรมีความพึงพอใจต่อการบริหาร แบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 5. การนาข้อค้นพบที่ได้ไปใช้ประโยชน์/พัฒนางานต่อไปในอนาคต 5.1 การทางานเป็นทีม โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียนไม่ว่าจะเป็น ผู้บริหาร ครู ผู้ปกคร อง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ช่วยเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนได้ 5.2 โครงสร้างการบริหารงานที่ชัดเจน การทางานที่เป็นระบบ มีขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน ไม่ซ้าซ้อนและมากเกินไปช่วยให้การทางานมีโอกาสประสบความสาเร็จและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 5.3 การใช้รูปแบบการบริหารจัดการที่เหมาะสมกับบริบทขององค์การ /งาน/โครงการ / กิจกรรม จะทาให้โรงเรียนมีบรรยากาศที่เอื้อต่อการทางานทั้งทางด้านกายภาพและทางด้านสังคม 5.4 การบริหารจัดการองค์การให้ประสบผลสาเร็จนั้นต้องใช้การทางานเป็นทีม การมีส่วน ร่วมของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 5.5 การประสานงาน การสื่อสาร การกระจายอานาจ และ การใช้กระบวนการตัดสินใจ ที่ เหมาะสมในการทางาน ช่วยให้การทางานประสบผลสาเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 5.5 การบริหารงานที่เป็นระบบ มีการดาเนินงานตามขั้นตอน มีการกากับ ติดตาม ดูแล แ ละ สร้างขวัญกาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องช่วยให้งานมีโอกาสสาเร็จได้เร็วขึ้น 5.6 การทางานต้องมีการสรุปผลและรายงานผลเพื่อทราบผลลัพธ์ทั้งทางด้านบวกและด้าน ลบ ทั้งนี้เพื่อนาผลลัพธ์ที่ได้มาเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนางานต่างๆให้ดีขึ้น 5.7 การเผยแพร่ผล การปฏิบัติงานที่ประสบผลสาเร็จจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานมีขวัญกาลังใจ และแรงจูงใจในการทางานมากยิ่งขึ้น 5.8 ผู้บริหารต้องบริหารจัดการสถานศึกษาโดยยึดหลักธรรมาภิบาล เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ศรัทธาและความไว้วางใจแก่ผู้ร่วมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง 5.9 ผู้บริหารต้องปฏิบั ติงานด้วยความจริงใจ อานวยการ แนะนา ช่วยเหลือ และร่วม ทุกข์ ร่วมสุข กับผู้ใต้บังคับบัญชาในทุกสถานการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณ์ที่มีปัญหา และมี อุปสรรค 6. การสะท้อนความรู้สึกต่อการบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 6.1 รูปแบบการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 มีลักษณะของการบริหารจัดการ ที่เป็นสากลไม่ซับซ้อนยุ่งยาก สามารถนารูปแบบนี้ไปใช้ได้ในทุก งาน/โครงการ/กิจกรรม เป็นรูปแบบการบริหารจัดการที่ง่าย แต่สามารถ ทาให้ บุคลากรมีการประสาน
ความร่วมมือกันในการทางาน ได้อย่างทั่วถึง ผู้ปฏิบัติงาน มีโอกาสประสบผลสาเร็จในการทางานสูง และลดความขัดแย้งที่ก่อให้เกิดผลเสียในการทางานได้เป็นอย่างดี 6.2 ผู้บริหารสามารถมอบหมายงานให้ครูตามความถนัดและความรู้ความสามารถ 6.3 ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานมีการสื่ อสารกันโดยตรงช่วยให้เกิด ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ไม่มี ความขัดแย้งที่เป็นอุปสรรคต่อการทางาน 6.4 ผู้บริหาร ส่งเสริมและสนับสนุนให้ ครู มีส่วนร่วม และมีการ ทางานเป็นทีม ในทุกงาน / โครงการ/กิจกรรม ทั้งนี้เพื่อให้มกี ารพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ 6.5 ผู้บริหารสามารถตรวจสอบ กากับ ติดตามและดูแลการทางานของ ครูได้โดยที่ครูไม่รู้สึก อึดอัด สงสัย หวาดระแวงหรือเคลือบแคลงใจในการทางาน 6.6 ผู้บริหารมีการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอน การทางานที่ชัดเจน มีการ พัฒนา ครู ในด้านความรู้ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติงาน รวมทั้งการพัฒนางานของ สถานศึกษาในด้านอื่นๆอย่างครอบคลุม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การดาเนินงาน ราบรื่นและมีประสิทธิภาพ 6.7 ทุกฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของโรงเรียน ทั้งผู้บริหาร ครู คณะกรรมการ สถานศึกษา ผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชน ให้ความร่วมมือช่วยเหลือในการ บริหารจัดการศึกษาเป็น อย่างดี ทั้งในด้านการวางแผนการทางาน การดาเนินงาน การกากับติดตามตรวจสอบการปฏิบัติงาน การสรุปผลประเมินผล การรายงานผลการปฏิบัติงาน และการปรับปรุงแก้ไข
7. วิธีการปฏิบัติสู่ความเป็นเลิศ(BEST PRACTICE P-Planning การวางแผน ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา จัดทาแผนงาน/ โครงการ /กิจกรรม
O-Organizing การจัดองค์การ การจัดโครงสร้างงาน ภารกิจ ขอบข่ายงาน มอบอานาจหน้าที่
S-Supporting การสนับสนุน การสนับสนุนทรัพยากรในการทางาน
R-Reviewing การตรวจสอบ การตรวจสอบ พิจารณาไตร่ตรองการทางาน
I-Improving การปรับปรุง ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน
K-Knowing การรู้งาน การมีความรู้ความเข้าใจในงานที่ทาอย่างแท้จริง
I-Instructing การสั่งการ การให้คาแนะนา การสอน การสั่ง หรือคาสั่ง
D-Developing การพัฒนา การพัฒนางานให้มีความเจริญก้าวหน้า
S-Sharing การแบ่งปัน การแบ่งปันสิ่งที่ดีและมีค่าให้กับผูร้ ่วมงานและผู้อื่นในสังคม
7.1 P-Planning วางแผน การวางแผน เป็นงานหลักที่สาคัญขั้นแรกของการบริหารจัดการองค์การ เป็นการ จัดระบบการทางาน เป็น การวางแนวทางการฏิบัติที่ให้การทางานดาเนิน การไปอย่างมี ขั้นตอน สามารถกากับติดตาม ตรวจสอบ ได้ง่าย การดาเนินงานมีระบบระเบียบ กฎเกณฑ์ที่แน่นอน ชัดเจน ซึง่ ในการวางแผนนั้นผู้บริหารมีการดาเนินงานในด้าน การประชุมสร้างความตระหนัก และกาหนด นโยบายให้หัวหน้างานและคณะครูในการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 โดยใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้บริหารและบุคลากร ร่วมกัน ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา และ อุปสรรคในการ บริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยวิธี การ SWOT analysis จัดให้มีการ วางแผนกาหนดทิศทาง กาหนดเป้าหมาย และวิธีการ ปฏิบัติงานที่สอดคล้องกับ นโยบาย บริบทของ สถานศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ จุดเน้นในการจัดการศึกษาและจุดหมายของหลักสูตร สถานศึกษา และการกาหนดยุทธศาสตร์ในการ บริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ที่ครอบคลุมการทางานทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ งานวิชาการ งานงบประมาณ งานบุคลากร และงาน บริหารทั่วไป โดยนอกเหนือจากการจัดกิจกรรมเรียนการสอนตามกลุ่มสาระวิชาต่างๆแล้ว โรงเรียนยัง มีการจัดทาโครงการ/กิจกรรมที่ครอบคลุมทั้ง 4 งาน เพื่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 7.2 O-Organizing การจัดองค์การ การจัดองค์การในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 นั้นเป็นการ ออกแบบงานหรือการวางงาน กาหนดภาระหน้าที่และความรับผิดชอบของบุคลากร ทั้งนี้ เพื่อให้การ ปฏิบัติงานดาเนินไปอย่างเป็นระบบและ บรรลุเป้าหมาย ผู้บริหาร จึงต้องใช้ภาวะผู้นาในการวางคน สร้างแรงจูงใจในการทางานแก่บุคลากร เพื่อให้การทางาน ดาเนินไปอย่างราบรื่น ผู้ปฏิบัติงานมีความ พึงพอใจต่องานที่รับผิดชอบ การปฏิบัติงานประสบผลสาเร็จ สามารถแก้ไขและพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณภาพ ได้ ในการจัดองค์การนั้นผู้บริหารต้องมี การจัดโครงสร้าง การบริหาร งานที่ชัดเจน กาหนด ภารกิจงาน ขอบข่ายงาน การแบ่งงาน กาหนดรายละเอียดกิจกรรมการดาเนินงาน กาหนดขั้นตอน วิธีการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ กาหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบตาม โครงสร้างการบริหาร งาน จัดทาระเบียบวิธีการปฏิบัติงาน มีการจัดทาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/ ปฏิทินการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของการบริหาร งานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 จัดให้มีการประชุมหัวหน้างานและคณะครูเพื่อทบทวนโครงการ กิจกรรมต่างๆให้ สอดคล้องกับ นโยบาย บริบทของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ จุดเน้นในการจัด การศึกษาและจุดหมายของหลักสูตรสถานศึกษา แต่งตั้ง ผู้รับผิดชอบงาน /โครงการ /กิจกรรม โดย คานึงถึง ความรู้ความสามารถความถนัด หรือความสนใจ ประชุม /อบรม/เพื่อสร้างความตระหนักให้ หัวหน้างานและคณะครู ในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 จัดทา
แนวทางการปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 วิเคราะห์ความรู้ความสามารถของ บุคลากรในการปฏิบัติงานตามโครงสร้างการบริหารงาน 7.3 S-Supporting การสนับสนุน ผู้บริหารมีการสนับสนุนส่งเสริมการปฏิบัติงาน ของบุคลากรด้วยวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้ การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพและการทางานบรรลุป้าหมาย โดยการสนับสนุนทรัพยากรในการทางาน งบประมาณ สื่อ อุปกรณ์ วัสดุ ครุภัณฑ์ และสิ่งอานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน มีการจัด สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการทางานและการจัดการเรียนการสอน นอกจากนี้ใน การสนับสนุนการปฏิบัติงานนั้น ผู้บริหารต้อง สร้างแรงจูงใจ ขวัญและกาลังใจให้แก่บุคลากร อย่ าง ต่อเนื่อง 7.4 R-Reviewing การตรวจสอบ ผู้บริหารจัดให้มี การตรวจสอบ พิจารณาไตร่ตรองการทางาน นิเทศ กากับ และติดตามการ ปฏิบัติงานของบุคลากรเพื่อให้การดาเนินงานบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ จัดให้มี การประเมินผลและสรุปผลการปฏิบัติงานของบุคลากรเพื่อเป็น ข้อมูลในการปรับปรุงละพัฒนางาน ให้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการตรวจสอบในด้านปัจจัยการบริ หารงาน ได้แก่ คน งบประมาณ วัสดุ สิ่งของ และการบริหารจัดการ นอกจากนี้ยังต้องมีการประเมินผลและ สรุปผลการปฏิบัติงาน ของ บุคลากรเพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพในการทางานต่อไป 7.5 I-Improving การปรับปรุง การปรับปรุงแก้ไขแล ะพัฒนาการปฏิบัติงาน ของแผน งาน/โครงการ /กิจกรรม เพื่อให้งาน มีประสิทธิภาพ โดยทบทวนการดาเนินงานในทุกขั้นตอนว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใดที่ต้องแก้ไข ปรับปรุงเพื่อให้งานบรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการ ทางาน และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดทั้งในด้านทรัพ ยากรบุคคล งบประมาณ วัสดุครุภัณฑ์ ได้อย่างคุ้มค่ารวมทั้งมีการพัฒนาผลการปฏิบัติให้ดียิ่งขึ้น เพื่อเป็นแบบอย่างให้กับผู้อื่น 7.6 K-Knowing การรู้งาน ผู้บริหาร ความรู้ในความสามารถในการบริหารงาน และส่งเสริมให้บุคลากร มีความรู้ความ เข้าใจใน งานที่ปฏิบัติอย่างแท้จริง โดยการให้ความรู้ จัดประชุม อบรมเชิงปฏิบัติการ นอกจากนี้ยัง ส่งเสริมให้บุคลากรศึกษาหาความรู้ที่เกี่ยวข้องกับงานที่ทา โดยการส่งเสริมให้ศึกษาหาความรู้ด้วย ตนเอง ส่งเสริมให้เข้าประชุม อบรม สัมมนา และศึกษาดูงานตามความต้องการ ความสนใจในโอ กาส อันควร ซึ่งหากทั้งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานมีความรู้ความเข้าใจใน บทบาทหน้าที่และ ภาระงาน ที่ตนเองรับผิดชอบอย่างแท้จริงแล้ว การทางานก็จะไม่เกิดความผิดพลาดหรือมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด ความผิดพลาดในการทางานน้อยมาก ซึ่งในการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานขอ งสถานศึกษานั้น หากเกิดความผิดพลาด ก็จะสร้างความสูญเสียต่อทรัพย์สินของทางราชการ นอกจากนี้ยังสร้างความ
สูญเสียต่อร่างกายและจิตใจ อันจะก่อให้เกิดผลเสียต่อการทางานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย อาทิเช่น การ บริหารงานด้านความปลอดภัย การบริหารงานงบประมาณ หรือถ้าหากเป็นการ ผิดพลาดในเรื่องของ การดาเนินงานด้านวิชาการหรือการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก็จะทาให้นักเรียนขาดการพัฒนาใน ด้านความรู้ความสามารถและทักษะในด้านต่างๆอย่างเต็มตามศักยภาพ ผู้เรียนขาดคุณธรรมจริยธรรม ในการดาเนินชีวิตและการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นในสังคม เป็นต้น 7.7 I-Instructing การสั่งการ การปฏิบัติงานในสถานศึกษานั้น จาเป็นต้องมีการสั่งการหรือการออกคาสั่ง โดย ผู้บริหาร จะต้องมีการจัดการในเรื่องของการ ให้คาแนะนา การสอนงาน การมอบหมายงาน การสั่ง การหรือ การออกคาสั่งที่เป็นทางการและเป็นลายลักษณ์อักษร อย่างชัดเจนนอกเหนือจากการพู ดคุยด้วยวาจา ในเบื้องต้น ทั้งนี้เพื่อให้การทางานเป็นระบบ มีความชัดเจน ไม่ขาดตกบกพร่อง การทางานเป็นลาดับ ขั้นตอน PDCA ผู้ปฏิบัติงานมีความเข้าใจ ในบทบาทหน้าที่ และภาระงาน ของตนเอง เป็น อย่างดี ไม่ ทางานที่ซ้าซ้อนกัน ไม่เกิดการหลีกเลี่ยงงานหรือเกี่ยงงานกันทา นอกจากนี้ยังทาให้ ผู้บริหารหรือผู้ที่ ได้รับมอบหมายสามารถกากับ ติดตามการทางานของบุคลากรได้อย่างสะดวกและง่ายมากยิ่งขึ้น 7.8 D-Developing การพัฒนา การพัฒนางานให้มีความก้าวหน้าและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่องเป็นสิ่งที่สาคัญที่ ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงา นต้องถือปฏิบัติ เนื่องจากในการปฏิบัติงาน ด้านต่างๆนั้นย่อมมีความบกพร่อง ผิดพลาด และไม่สมบูรณ์แบบ เสมอไปอย่างแน่นอน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความคุ้มค่า ในด้านเวลา ค่าใช้จ่าย อาคารสถานที่ไม่เอื้ออานวย ปัญหาสภาพดินฟ้าอากาศ ปัจจัยสาคัญในการบริหารทั้งในด้าน บุคลากร งบป ระมาณ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ วิธีการดาเนินงานและการปฏิบัติงาน หรือแม้กระทั่ง การบริหารจัดการที่ไม่เหมาะสม นอกจากนี้อาจจะ มีปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด ในระหว่าง การปฏิบัติงานหรือหลังจากที่ปฏิบัติงานเสร็จสิ้นแล้ ว เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วน แต่ส่งผลต่ อความมี ประสิทธิภาพและความสมบูรณ์แบบของการทางาน ได้ทั้งสิ้น ดังนั้น การพัฒนางาน โครงการ และ กิจกรรมต่างๆให้มีความเจริญก้าวหน้า และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายอย่างแท้จริง จึงเป็น สิ่งที่จาเป็นยิ่ง และไม่ควรมองข้ามหรือละเลย เพราะไม่ เช่นนั้นการทางานก็เหมือนกับการย่าอยู่กับที่ หรือถอยหลัง ไม่มีการพัฒนา ซึ่งจะเป็นการ สร้างความเสียหายและเสื่อมเสียในการทางานในที่สุด 7.9 S-Sharing การแบ่งปัน ผู้บริหารจัดให้มีการแบ่งปันความรู้ สิ่งที่ดีและมีค่า ของบุคลากรแต่ละคน โดยการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ การพูดคุยเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เปิดโอกาสให้มีการแสดงความรู้ความสามารถ และแสดงผลงานที่ได้ดาเนินการเสร็จสิ้นไปแล้วแก่ผู้ร่วมงานและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายทั้งในและนอก สถานศึกษา เป็นการรายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อขยายผลและเผยแพ ร่ผลงานที่เป็นแบบอย่างให้แก่
ผู้อื่นและสาธารณชน โดยการจัดประชุม อบรม จัดนิทรรศการ การจัดทาแผ่นพับ เอกสาร และการ เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานและประชาสัมพันธ์ตนเองและ หน่วยงานให้เป็นที่รู้จักแก่บุคคลโดยทั่ว อย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ดีในการบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 นั้น ในการดาเนินงานจะใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในทุกงาน/โครงการและ กิจกรรมข องปฏิบัติ ซึง่ ประกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ภูมิคุ้มกัน เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุ ณธรรม มิติด้านเศรษฐกิจ มิติด้านสังคม มิติด้านสิ่งแวดล้อม และมิติด้านวัฒนธรรม ทั้งนี้ เพื่อให้การปฏิบัติงาน มีความคุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุดและ ประสิทธิภาพอย่างแท้จริง ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงานและผู้เรียนมีการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดาเนิน ชีวิตประจาวันในทุกโอกาสอย่างต่อเนื่องเกิดเป็นลักษณะนิสัยที่แท้จริงและยั่งยืนตลอดไป 8. ปัจจัยเกื้อหนุนและปัจจัยแห่งความสาเร็จ 8.1 คณะครูและบุคลากรมีความตระหนัก เข้าใจ และทางานในรูปแบบ การบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 8.2 การบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 เป็นการบริหารจัดการที่สนองความต้องการของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งผู้บริหารและบุคลากร เป็นการ บริหารที่ทาให้ผู้ปฏิบัติงานบรรลุจุดหมายทั้งส่วนตัว ส่วนรวม และของหน่วยงาน 8.3 การบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 เป็นการบริหารที่เน้นการทางานเป็นทีม ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม การติดต่อสื่อสารกันโดยตรง จึงทาให้การ ทางานดาเนินไปได้ด้วยบรรยากาศของความเป็นมิตร ความเข้าใจ การรับฟั งความคิดเห็น และการ ยอมรับซึ่งกันและกัน 8.4 การบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 เป็นการบริหารที่กระจายอานาจการทางาน และมอบอานาจการตัดสินใจ ดังนั้น ผู้ปฏิบัติงานทุกคนจึง มีโอกาสเป็นได้ทั้งผู้นาและผู้ตาม รู้สึกภาคภูมิใจในตนเองและเห็นคุณค่าของตนเอง 8.5 การบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ผู้บริหารจะให้ความสาคัญกับทุกคน อย่างเสมอภาค มีความ ไว้วางใจ เชื่อมั่นในความรู้ความสามารถ และศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานทุกคน ดังนั้นทุกคนจึ งมีโอกาสในการทางานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน อย่างเหมาะสม 8.6 การบริหารแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ผู้บริหารจะสร้างขวัญกาลังใจบุคลากรอย่างหลากหลายรูปแบบ เช่น การให้เกียรติยกย่องชมเชย ทั้งโดยส่วนตัว ในที่เปิดเผยและในที่สา ธารณะ ให้โอกาสในการพัฒนาตนเอง ส่งเสริมให้มี ความก้าวหน้าในอาชีพ เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงานแสดงความคิดเห็นและ รับฟังความคิดเห็นของ
ผู้ร่วมงาน ส่งเสริมให้มีการพัฒนาความรู้ความสามารถในโอกาสต่างๆตามความสนใจ การให้ของขวัญ และอวยพรเนื่องในโอกาสวันคล้ายวันเกิด เป็นต้น ซึ่งขวัญและกาลังใจถือเป็นสิ่งสาคัญของ ผู้ปฏิบัติงานทุกคนในหน่วยงาน ถ้าทุกคนมีขวัญกาลังใจ ที่ดี เข้มแข็ง และมีแรงจูงใจในการทางานก็จะ ทาให้การทางานดาเนินไปได้อย่างราบรื่น ผู้ปฏิบัติงานมีความเต็มใจ มีความพึงพอใจและมีความสุ ขใน งานที่ทา ผลการปฏิบัติงานก็จะเป็นที่น่าพอใจและมีประสิทธิภาพในที่สุด 8.7 ผู้บริหารใช้รูปแบบการบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 อย่างจริงจังและต่อเนื่อง 9. ผลการดาเนินงาน / ผลสาเร็จที่ดีเด่น จากการใช้รูปแบบบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษ ที่ 21 อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การดาเนินงาน ในด้านต่างๆของโรงเรียนวัดโพธิ์ศรีสุขาราม เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ประสบผลสาเร็จที่ดีเด่น และได้รับการยกย่องชมเชย ดังนี้ 9.1 ผลการดาเนินงาน 9.1.1 โรงเรียนมีรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ที่สร้างและพัฒนาขึ้นโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินงาน 9.1.2 โรงเรียนมี เครื่องมือในการบริหารจัดการสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 9.1.3 โรงเรียนมี รูปแบบ การบริหารจัดการสถานศึกษาที่ชัดเจน มีความสอดคล้องและ เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน 9.1.4 โรงเรียนมีการบริหารจัดการสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุจุดหมายของหลักสูตร 9.1.5 บุคลากรมีขวัญกาลังใจและแรงจูงใจในการทางานให้บรรลุ จุดหมายทั้งโดยส่วนตัวและ หน่วยงาน 9.1.6 นักเรียนมีแนวโน้ม ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ที่สูงขึ้นและมีคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ตามหลักสูตร 9.1.7 นักเรียนมีการพัฒนา ทั้งในด้านวิชาการและคุณธรรมจริยธรรม โดยมีการน้ อมนาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน 9.1.8 ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ครู บุคลากร คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง นักเรียน และชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ไม่มีความขัดแย้งอย่างรุนแรงที่จะนามาซึ่ง ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการศึกษาและการทางานของโรงเรียน 9.1.9 โรงเรียนมีบรรยากาศที่ดี ทั้งทางด้านกายภาพและทางด้านสังคม อาทิเช่น บุคลากรมี ปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ให้การยอมรับในความรู้สามารถและความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ยิ้ม แย้มแจ่มใส มี
ความไว้วางใจต่อกัน โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานและการจัดการเรียนการสอน สะอาด ร่มรื่น สวยงามและมีความปลอดภัย เป็นต้น 9.1.10 โรงเรียน ผู้บริหาร ครู และนักเรียนได้รับการยกย่องชมเชยและ ได้รับ รางวัลเกียรติยศ ในด้านต่างๆ 9.2 ผลสาเร็จที่ดีเด่น 9.2.1 สถานศึกษาต้นแบบโครงการความร่วมมือในการพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการสร้าง ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ปี 2555 9.2.2 โรงเรียนส่งเสริมการอ่านในโครงการ 11th NANMEEBOOKS READING CLUB จาก บริษัทนานมีบุ๊คส์ จากัด ปี 2555 9.2.3 โรงเรียนได้รับรางวัลการจัดสหกรณ์ดีเด่น ระดับจังหวัด ปี 2555 9.2.4 นักเรียนระดับชั้นอนุบาล 1และระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับรางวัลดีเด่น ปี 2555 โครงการตอบปัญหาธรรมะ “ทางก้าวหน้า” ครั้งที่ 30 ชมรมพุทธศาสตร์สากล ในอุปถัมภ์สมเด็จพระ มหารัชมังคลาจารย์ 9.2.5 นักเรียนระดับชั้นระดับประถมศึกษาตอนปลาย ได้รับ รางวัลชมเชย อันดับ 2 และ 3 ปี 2555 ระดับประเทศ โครงการตอบปัญหาธรรมะ “ทางก้าวหน้า” ครั้งที่ 30 ชมรมพุทธศาสตร์สากล ในอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ 9.2.6 นักเรียนได้ เข้าร่วมโครงการ การเล่านิทาน “สืบสานนิทานไ ทย” โครงการวิถีชุมชน เยาวชนรักษ์ถิ่น กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม ปี 2555 9.2.7 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ระดับชั้นป. 4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2555 9.2.8 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง การสร้างเกมสร้างสรรค์จากคอมพิวเตอร์ ระดับชั้นป . 4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2555 9.2.9 โรงเรียนผ่านการประเมินเป็นสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ปี 2556 9.2.10 โรงเรียนได้รับ รางวัลรองชนะเลิศ ห้องสมุดดีเด่น ประจาปี 2556 ประเภทโรงเรียน ประถมศึกษาขนาดกลาง จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 9.2.11 โรงเรียนเครือข่ายเด็กไทยฟันดี อาเภอท่าม่วง ประจาปี 2556 จากโรงพยาบาล สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 19 9.2.12 ครูได้รับ รางวัลรองชนะเลิศ ครูบรรณารักษ์โรงเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประจาปี 2556 9.2.13 โรงเรียนได้รับใบประกาศเกียรติคุณ สนับสนุนโครงการอนุรักษ์และพัฒนา แม่น้า คู คลอง จังหวัดกาญจนบุรี เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ระดับจังหวัด กาญจนบุรี 9.2.14 สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ปี 2556
9.2.15 นักเรียนเข้าร่วมโครงการตอบปัญหาธรรมะ ”ทางก้าวหน้า ” ชมรมพุทธศาสตร์สากล ในอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ครั้งที่ 31 ปี 2556 9.2.16 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง การขับร้องเพลงลูกทุ่ง เด็กที่มีความต้องการพิเศษ ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.17 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงิน ระบามาตรฐาน ระดับประถมศึกษา ระดับภาคกลาง และภาคตะวันออก การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.18 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญเงิน การเล่านิทานประกอบสื่อ ระดับอนุบาล ระดับเขต พื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.19 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง การเล่านิทานคุณธรรม ระดับชั้น ป .1-3 ระดับเขต พื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.20 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง ท่องอาขยานทานองเสนาะ ระดับชั้น ป .1-3 ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.21 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง ประติมากรรมงานปั้นนูนต่า ระดับชั้ น ป.1-3 ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.22 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญเงิน การแข่งขันสร้างภาพด้วยการปะติด ระดับชั้น ป .1-3 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.23 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง เล่านิทานคุณธรรม ระดับชั้น ป .4-6 ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.24 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง ประติมากรรมงานปั้นนูนสูง ระดับชั้น ป .4-6 ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.25 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง การใช้โปรแกรมนาเสนอ (Presentation) ระดับชั้น ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.26 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง ราวงมาตรฐาน ระดับชั้น ป .4-6 ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.27 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมวาดภาพระบายสี ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.28 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมแข่งขันซูโดกุ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การ แข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.29 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมแข่งขันคาคม ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.30 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทองแดง กิจกรรมแข่งขัน Crossword ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2556 9.2.31 นักเรียนเข้าร่วมโครงการแข่งขันตอบคาถามสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนฯ ครั้งที่ 19 ระดับจังหวัด ปี 2556
9.2.32 ครูได้รับรางวัลหนึ่งแสนครูดี โดยนางญาริดา สิทธิโชค และนางอนงค์รัตน์ มากมี ทรัพย์ ได้รับรางวัลหนึ่งแสนครูดี ปี 2556 9.2.33 โรงเรียนได้รับพระราชทานตรา “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย” ปี 2557 9.2.34 นักเรียนเข้าร่วมแข่งขันอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ ป .4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 9.2.35 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 ประติมากรรมนูนต่า ป .4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 9.2.36 นักเรียนได้รับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 ร้องเพลงไทยลูกทุ่งหญิง ป .16 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 9.2.37 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 2 ราวงมาตรฐาน ป .1-6 ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 9.2.38 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 นาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ ป .1-6 ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 9.2.39 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 ยุวบรรณารักษ์ส่งเสริมการ อ่าน ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 9.2.40 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง การใช้โปรแกรมนาเสนอ (Presentation) ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 9.2.41 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 ยุวบรรณารักษ์ส่งเสริมการ อ่าน ป.4-6 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 9.2.42 นักเรียนได้รับ รางวัลเหรียญทอง เล่านิทานประกอบท่าทาง ปฐมวัย ระดับเขตพื้นที่ การศึกษา การแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปี 2557 9.2.43 ครูและบุคลากรได้รับการยอมรับในความรู้ความสามารถในการทางานจากหน่วยงาน ต่างๆ เช่น เป็นวิทยากรอบรมการใช้ภาษา อังกฤษ เป็นคณะกรรมการสอบคัดเลือกครูพี่เลี้ยงของ เทศบาล เป็นคณะกรรมการตัดสินการแข่งขันทักษะทางด้านวิชาการ เป็นต้น 9.2.44 ผู้บริหารได้รับรางวัลหนึ่งแสนครูดี ปี 2557 9.2.45 ครูได้รับรางวัลหนึ่งแสนครูดี โดย นางมาริสา ไชยะโชค และนางพิชญานิน จงจินารี ได้รับรางวัลหนึ่งแสนครูดี ปี 2557 9.2.46 ผู้บริหารเป็นคณะกรรมการประเมินสถานศึกษาพอเพียง และสถานศึกษาพอเพียง ต้นแบบ ปี 2556-2557 9.2.47 ได้รับการยอมรับจากโรงเรียนต่างๆ ทั้งในเขตพื้นที่และนอกเขตพื้นที่ใน การมาศึกษา ดูงานด้านการบริหารจัดการและการจัดกา รเรียนการสอนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โรงเรียนบ้านแหลมทอง อาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี โรงเรียนบ้านทุ่งนานางหรอก
อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี กลุ่มหนองอ้อโนนหวาย อาเภอหนองวัวซอ สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 เป็นต้น 10. ความคาดหวัง 10.1 การบริหารจัดการศึกษาแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 สามารถ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนในด้าน การอ่านและเขียน (Literacy) การคิดคานวณ (Numeracy) และการคิด(Reasoning Ability) เพิ่มขึ้น นักเรียนมีความมั่นใจและกล้าแสดงออก 10.2 การบริหารจัดการศึกษาแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 สามารถส่งเสริมและสนับสนุน ครูในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนทีส่ ูงขึ้นอย่างต่อเนื่องและมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร 10.3 การบริหารจัดการศึกษาแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 ช่วยเสริมสร้างการปฏิบัติงานและการดารง ชีวิตประจาวัน ของบุคลากร โดยใช้ หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง 10.4 การบริหารจัดการศึกษาแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 สามารถนาไปใช้ในการบริหารจัดการงานด้านอื่นๆของสถานศึกษาได้อย่างมี ประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน 10.5 การบริหารจัดการศึกษาแบบ POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ ศตวรรษที่ 21 สามารถนาไปใช้ในการบริหารจัดการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ของ สถานศึกษาอื่นๆได้ด้วย 10.6 พัฒนารูปแบบบริหาร POSRIKIDS Management เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 ให้มีประสิทธิภาพและเป็นแบบอย่างแก่หน่วยงานหรือองค์การโดยทั่วไป เนื่องจากเป็นรูป แบบที่มี ความเป็นสากล ไม่จาเป็นต้องใช้รูปแบบนี้เฉพาะในหน่วยงานทางการศึกษาเท่านั้น
ผ่านการประเมินสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ ปี 2556
เป็นวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการประเมินคุณภาพภายในเพื่อ พร้อมรับการประเมินภายนอก ให้กับโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
จัดประชุมครูและบุคลากรเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาชาววัง
นาคณะครูและบุคลากรร่วมกิจกรรมกับชุมชน เพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์
จัดโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทั้งทางด้านวิชาการและคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ตามหลักสูตร
ส่งเสริมการใช้ห้องสมุด เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
จัดโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ทั้งทางด้านวิชาการและคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร