BEST PRACTICE ผลการจัดประสบการณ์ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนบ้านวังลานที่มีต่อ ความสามารถด้านมิตสิ มั พันธ์และพฤติกรรมความร่วมมือของเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านวังลาน จังหวัดกาญจนบุรี
ของ นางเบญจา สนธยานาวิน ตาแหน่ง ครู โรงเรียนบ้านวังลาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑
เพื่อขอรับการประเมินรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับก่อนประถมศึกษา ด้านบริหารจัดการ ระดับชาติ ธันวาคม ๒๕๕๘
๑
Best Practice ผลการจัดประสบการณ์ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนบ้านวังลานที่มีต่อ ความสามารถด้านมิตสิ มั พันธ์และพฤติกรรมความร่วมมือของเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านวังลาน จังหวัดกาญจนบุรี ๑. ชื่อนวัตกรรม/ผลงาน ผลการจัดประสบการณ์ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนบ้านวังลานที่มีต่อความสามารถด้านมิติ สัมพันธ์และพฤติกรรมความร่วมมือของเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านวังลาน จังหวัดกาญจนบุรี
๒. ชื่อผู้เสนอผลงาน นางเบญจา สนธยานาวิน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ โรงเรียน บ้านวังลาน ตาบล หนองหญ้า อาเภอ เมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๑- ๗๙๒๔๓๑๓
๓. วัตถุประสงค์ — ๓.๑ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนบ้านวังลาน ๓.๒ เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมความร่วมมือของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดประสบการณ์ทัศน ศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนบ้านวังลาน เป้าหมาย ๑. เชิงปริมาณ เด็กปฐมวัยในระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ทุกคน ๒ เชิงคุณภาพ เด็กปฐมวัยในระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ทุกคนมีความสามารด้านมิติสัมพันธ์และมี พฤติกรรมความร่วมมือ
๔. ความเป็นมา/ความสาคัญ การจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นรากฐานที่สาคัญที่สุดในการเรียนรู้ หากพื้นฐานในขั้นนี้ไม่ได้รับการ สนับสนุนและส่งเสริมอย่างบริบูรณ์แล้ว การเรียนรู้ในขั้นต่อ ๆ ไปย่อมประสบความลาบากและยากที่ผู้เรียนจะ พัฒนาได้เต็มตามศักยภาพ (คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒) สอดคล้องกับอารุง จันทวานิชและ คณะ (๒๕๕๐: ๑ ) ที่กล่าวว่า การพัฒนาเด็กปฐมวัยในช่วงอายุ ๐– ๕ ปีเป็นวัยที่มีอัตราการเรียนรู้สูงสุด เป็น ช่วงเวลาสาคัญและจาเป็นที่สุดในการพัฒนาสมองของมนุษย์ การพัฒนาเด็กในวัยนี้ต้องถือเป็นการลงทุนที่ คุ้มค่าเป็นการลงทุนที่น้อยกว่าค่า ใช้จ่ายในการตามแก้ปัญหาของสังคมที่เกิดขึ้นเพราะคนไม่มีคุณภาพ ดังจะ เห็นได้จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ (๒๕๔๕: ๕) ที่กาหนดความมุ่งหมายของการจัดการศึกษาที่ต้องเป็นไปเพื่อการพัฒนาคนไทยให้เป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคม สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการ
๒
ดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ การจัดกิจกรรมให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ทา ได้ คิดเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง ด้วยการจัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มี การประสานร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง เพื่อร่วมมือกันพัฒนาเด็กตามศักยภาพ โดยตั้งอยู่บนหลักการ แนวคิดจัดการศึกษาปฐมวัยที่ต้องการให้เด็กบรรลุตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์รวมทั้งประสบการณ์ สาคัญด้านสติปัญญาที่สนับสนุนให้เด็กได้รับรู้ เรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า ผ่านการคิด การใช้ภาษา การสังเกต การจาแนกเปรียบเทียบ จานวน มิติสัมพันธ์ (พื้นที่/ระยะ) และเวลา บรรลุตาม มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่กาหนดในจุดมุ่งหมายของหลักสูตร( กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๔๗: ๑-๑๗) การไปทัศนศึกษาเด็กเรียนรู้ประสบการณ์ตรงจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เด็ก มองเห็น เรียนรู้ สังเกต วัตถุ สถานที่ อย่างมีทิศทาง ตาแหน่ง จาภาพวัตถุ สถานที่ และสามารถบอก แสดง ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ ความเหมือน ความแตกต่าง ของวัตถุกับทิศทาง วัตถุกับตาแหน่ง มองภาพที่มีความเคลื่อนไหว มองวัตถุใน มุมมองต่างกัน บอกเกี่ยวกับพื้นที่ สี เส้น รูปร่าง รูปทรง เป็นการพัฒนาความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ รวมทั้ง เด็ก ได้ ร่ ว มลงมือ ปฏิ บั ติกิ จ กรรมร่ ว มกั น ช่ว ยเหลื อ กัน เป็น คู่เ ป็นกลุ่ ม ย่อ ย การสื่ อ สาร แสดงความคิด เห็ น แก้ปัญหา รับผิดชอบ ร่วมกันทากิจกรรมกลุ่มตามจุดมุ่งหมายจนประสบความสาเร็จยังก่อให้เกิดพฤติกรรม ร่วมมือ ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการเห็นถึงความสาคัญของพฤติกรรมร่วมมือของเด็กเป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 ได้แก่ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่ างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็น สมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข(คณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน 2547: 9 -11 ) กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนเป็นการนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนมาใช้ประโยชน์ในการจัด ประสบการณ์การเรี ยนรู้ น ามาจั ดกิจ กรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดความสามารถด้านมิติสัมพันธ์จากการสังเกต สารวจ และมีพฤติกรรมร่วมมือในการทัศนศึกษาและการทางานของเด็กปฐมวัย รวมทั้งทาให้เด็กเกิดความรัก และภูมิใจในท้องถิ่นได้ ดังที่เฟาทส์ (Pfouts,2003: 56) เสนอแนวคิดว่า วิธีการที่ดีในการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโลกและสังคมให้เกิดขึ้นในตัวเด็กคือการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์ตรง ( Direct Learning Experience) ทั้งนี้ จากการประชุมคณะครูเพื่อทาแผน กลยุทธ์โดยใช้การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) เพื่อ ใช้เป็นแนวทางในการกาหนดวิสัยทัศน์ กาหนดกลยุ ทธ์ เพื่อให้โรงเรียนพัฒนาไปในทางที่เหมาะสมและจัดทา แผนปฏิบัติการของโรงเรียน กลยุทธ์ที่มุ่งเอาชนะอุปสรรคทางสภาพแวดล้อมหรือลดจุดอ่อนของโรงเรียนให้มีน้อยที่สุดได้ ภายใต้ การวิเคราะห์ SWOT นั้น จุดอ่อน คือการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชน สภาพการจัดประสบการณ์ในโรงเรียนบ้าน วังลานยังขาดการนาแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและในชุมชนแม้กระทั่งทรัพยากรหรือวิทยากร มาใช้ในการจัดการ เรียนรู้ โรงเรียนขาดการใช้แหล่งเรียนรู้ในการเรียนรู้รวมทั้งในระดับปฐมวัย นอกจากนี้ครูยังใช้แหล่งเรียนรู้ ในชุมชนน้อยมาก อีกประการหนึ่งคืออาจเป็นเพราะปัญหาการละเลยในสิ่งมีคุณค่าใกล้ตัว มองเห็นที่อื่นดีกว่า สิ่งที่มีอยู่ (บันทึกการประชุมโรงเรียนบ้านวังลาน ครั้งที่ 3/2556) แต่ทั้งนี้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนที่มีอยู่ในละแวก โรงเรียน มีอยู่หลากหลาย เช่น สถานที่ วิถีชวี ิต วัฒนธรรม ธรรมชาติและประวัติศาสตร์ใกล้ตัวเด็ก บางแห่ง สามารถเดินเท้าและบางแห่งนั่งรถยนต์ใช้เวลาเดินทาง ประมาณ 10 - 20 นาที จากความเป็นมา ความสาคัญ และสภาพการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะนา กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนไปทดลอง เพื่อส่งเสริมและพัฒนาความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ และ
๓
พฤติกรรมร่วมมือ และใช้เป็นแนวทางในการจัดประสบการณ์ รวมทั้งเป็นแนวทางให้แก่ครูและผู้สนใจการจัด การศึกษาระดับปฐมวัยสามารถนาไปจัดกิจกรรมให้ กบั เด็กปฐมวัยต่อไป
๕. ระยะเวลาในการพัฒนา ระยะเวลาดาเนินการในภาคเรี ยนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๗ ( ธันวาคม - กันยายน) ๑๐ สัปดาห์ ศึกษา นอกสถานที่ ๘ ครัง้
๖. ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ระหว่า BP กับเป้าหมายจุดเน้นของสพป./สพฐ./ สถานศึกษา จุดเน้นของสพฐ/สพป./สถานศึกษา ๑. เป้าหมายของสพฐ.คือ นักเรียนระดับระดับก่อน ประถมศึกษา และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกคน มีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย และมีคุณภาพโดยมี จุดเน้นของ สพฐ. นักเรียนระดับก่อนประถมศึกษามี พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญาที่ สมดุล เหมาะสมกับวัย และเรียนรู้อย่างมีความสุข ๒. เป้าหมายของโรงเรียนบ้านวังลาน จัดการศึกษาให้ได้ ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ จุดเน้น ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และดารงชีวิต ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา
เป้าหมายของ BP ๑. เด็กปฐมวัยในระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ทุกคน มีความสามารด้านมิติสัมพันธ์ ๒ เด็กปฐมวัยในระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ทุกคนมีพฤติกรรมความร่วมมือ ๓.กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ใน ชุมชนเป็นการนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนมาใช้ ประโยชน์ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
๗. แนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ๗.๑ การจัดประสบการณ์ทัศนศึกษา การจัดประสบการณ์ทัศนศึกษา การนาเด็กไปศึกษาสถานที่ ธรรมชาติจริง ของแหล่งเรียนรู้ใน ชุมชนรอบๆ ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
๗.๒ แหล่งเรียนรู้ในชุมชน แหล่งเรียนรู้ในชุมชน แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในชุมชน ในโรงเรียนและสถานที่รอบ นอกโรงเรียนบ้าน วังลานที่มีสภาพแวดล้อม บรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้เกี่ยวกับมิติสัมพันธ์และร่วมมือของเด็กโดยแหล่งเรียนรู้ ดังกล่าวอยู่ในระยะใกล้โรงเรียนไม่เกิน 15 กิโลเมตรหรือใช้เดินเท้าและเดินทางโดยรถยนต์ไม่เกิน 20 นาที ประกอบด้วยแหล่งเรียนรู้ตามสถานที่ดังนี้ ๗.๒.๑ แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์เมืองกาญจนบุรี ได้แก่ ตลาดนัดวัดวังลาน สุสานทหาร สัมพันธมิตรเขาช่องไก่ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษากาญจนบุรี ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ๗.๒.๒ แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ ได้แก่ สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ต้นจามจุรียักษ์ ถ้าพุหว้า
๔
๗.๒.๓ แหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ได้แก่ การทาข้าวต้มมัดไต้ของ นางสุนีย์ บัวเกิด
๗.๓ ความสามารถด้านมิติสมั พันธ์ มิติสัมพันธ์ ความสามารถในการมองเห็น รับรู้ถึงความสัมพันธ์ของมิติต่างๆโดยมีพฤติกรรมดังนี้ ๗.๓.๑นาชิ้นส่วนต่างๆ ของภาพ/สิ่งของที่กาหนดให้มาต่อเข้าด้วยกันเกิดเป็นภาพที่สมบูรณ์ ๗.๓.๒ปฏิบัติและบอกความเหมือน ความต่างของขนาด รูปร่างและรูปทรง ๗.๓.๓ปฏิบัติและบอกที่ตาแหน่งของวัตถุ ข้างหน้า - ข้างหลัง ข้างบน - ข้างล่าง ระหว่าง ข้างใน – ข้างนอก ๗.๓.๔ ปฏิบตั แิ ละบอกทิศทางของวัตถุ ทางตรง – ทางอ้ อม ทางซ้ าย – ทางขวา
๗.๔ พฤติกรรมความร่วมมือ พฤติก รรมร่ วมมื อ การแสดงออก ด้ วยการปฏิ บัติ หรื อคาพูดของเด็กปฐมวัย ที่ แสดงถึง ร่ วมมื อ สัง เกตในขณะเล่นหรื อทางานร่ วมกับผู้อื่นเป็ นกลุ่ม จากการทัศนศึกษาแหล่ง เรี ยนในชุม ชนมี พฤติกรรมดังนี ้ 1. พูดแสดงความคิดเห็น 2. รับฟั งความคิดเห็น 3. ปฏิบตั ติ นตามข้ อตกลง 4. ทางานร่วมกับเพื่อนจนเสร็จ
๘. กระบวนการพัฒนา BP ๘.๑ กลุ่มเป้าหมาย การจัดประสบการณ์ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ สาหรับเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านวังลาน จังหวัดกาญจนบุรี นาเด็กไปศึกษาสถานที่ ธรรมชาติจริง ของแหล่งเรียนรู้ใน ชุมชนรอบๆ ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน ๘.๒ ขั้นตอนการดาเนินงานและพัฒนาความสามารถด้านมิติสัมพันธ์และพฤติกรรมความร่วมมือ โดยใช้แหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ ทางธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดาเนินงานใช้วงจรคุณภาพ PDCA ๘.๒.๑ ขั้นวางแผน ( Plan) เป็นการวางแผนการดาเนินการที่จะไปทัศนศึกษา แบ่งกลุ่มเด็ก ช่วยกันคิดและตั้งคาถามที่จะไปศึกษา กาหนดงานพิเศษที่แต่ละกลุ่มต้องหาคาตอบเมื่อไปทัศนศึกษา การ เก็บรวบรวมข้อมูลของเด็กและสร้างข้อตกลงในการเดินทางไปทัศนศึกษาแต่ละครั้ง ๘.๒.๑.๑ ขั้นวางแผน นาเข้าสู่บทเรียนด้วยการสนทนา / นิทาน/ใช้คาถาม / ร้องเพลง / คาคล้องจอง แนะนาแหล่งเรียนรู้ ประกอบการดูภาพ/คลิป
แนะนาแหล่งเรียนรู้
๕
—
— — — — —
๘.๑.๑.๒ แบ่งกลุ่มเด็ก กาหนดคาถาม กาหนดงาน ที่แต่ละกลุ่มต้องทาเมื่อไปทัศนศึกษา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
—
๘.๒.๒ ขั้นดาเนินการ (Do) เป็นขั้นการเรียนรู้เด็กเดินทางและปฏิบัติกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย หน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายจากกลุ่ม การหาและบันทึกคาตอบ ทากิจกรรมในแหล่งเรียนรู้ที่แตกต่างกันตาม ลักษณะของคาถามที่ต้องค้นหาคาตอบตามที่คิดและตั้งไว้ ๘.๒.๒.๑ นาเด็กไปทัศนศึกษายังแหล่งเรียนรู้ ๘.๒.๒.๒ ขณะทัศนศึกษาแหล่ งเรียนรู้ เด็กลงมื อปฏิบัติด้ว ยตนเองในการส ารวจ สั งเกต ตาแหน่งของวัตถุ ข้างหน้า - ข้างหลัง ข้างบน - ข้างล่าง ข้างใน – ข้างนอก ระหว่าง ทิศทางของวัตถุ ทางตรง – ทางอ้อม ทางซ้าย – ทางขวา ความสัมพันธ์ ความเหมือน ความแตกต่าง ในมุมมองต่างๆ กัน ครูกระตุ้นให้ เด็กหาคาตอบจากคาถามที่กลุ่มร่วมกันกาหนดและให้เด็กบันทึกสิ่งที่ได้เรียนรู้หรือพบเห็น 8 แหล่งเรียนรู้ ตลาดนัดวัดวังลาน วัดถ้าพุหว้า สวนหิน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา สุสานเขาช่องไก่ ศาลเจ้าพ่อหลัก เมือง จามจุรียักษ์/กองการสัตว์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น การทาข้าวต้มมัดไต้ อาหารพื้นถิ่น ของกาญจนบุรี
เน
๗
—
๘.๒.๓ ขั้นสรุป /ประเมินผล ( Check )เป็นขั้นตรวจสอบการปฏิบัติกิจกรรมหาคาตอบตาม หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ทั้งรายบุคคลและเป็นกลุ่ม สรุปผลสิ่งที่เรียนรู้ และสิ่งที่ควรแก้ไข รวมทั้งอธิบาย เพิ่มเติมถ้าเด็กสนใจหรือไม่เข้าใจ ๘.๒.๓.๑ ร่วมกันสรุปข้อมูล ความรู้ที่ได้รับจากการไปทัศนศึกษาอีกครั้ง ร่วมกันสรุป ข้อมูล ความรู้ที่ได้รับจากการไปทัศนศึกษาอีกครั้ง
๘.๒.๓.๒เชื่อมโยงให้เด็กเห็นความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่เด็กสังเกตหรือสารวจพบกับสิ่งที่ เด็กเคยเรียนรู้ เช่น ภาพวาด บทบาทสมมุติ การบอกเล่า หุ่นจาลอง เล่านิทาน สร้างบล็อกฯลฯ —
—
—
การเรียนรู้ กระบวนการ ทักษะหลายทักษะ สรุปด้วยผลงานที่สามารถบูรณาการกับหน่วยอื่น รายวิชาอื่น ๆ คุณธรรม จริยธรรม บูรณาการความรู้ทางภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ ที่เหมาะสม
๘
๘.๒.๔ ขั้นปรับปรุงพัฒนา ( Action )นาผลจากขั้นตรวจสอบการปฏิบัติกิจกรรมหาคาตอบ ตามมาประเมิน ทบทวน ปรั บ ปรุ ง วิธี การด าเนิน กิจ กรรมเพื่ อหาแนวทางสิ่ งที่ ควรแก้ไ ข ให้ ได้ ผ ลตาม จุดประสงค์และเป้าที่วางไว้ ๘.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP ใช้แบบทดสอบวัดความสามารถด้านมิติสัมพันธ์และแบบบันทึกพฤติกรรมความร่วมมือ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยการจัดประสบการณ์ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนบ้านวังลาน ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ ก่อนการจัดประสบการณ์
จานวน
ค่าเฉลี่ย
ส่วนบี่ยงเบนมาตรฐาน
24
11.87
3.655
ค่าขนาดอิทธิพล
1.725 หลังการจัดประสบการณ์
24
ค่าเฉลี่ยเพี่มขึ้น
20.71
2.598
8.84 0.820
ส่วนบี่ยงเบนมาตรฐานรวม
พฤติกรรมความร่วมมือก่อนเรียนและหลังเรียนมีความแตกต่างพฤติกรรมความร่วมมือมีคะแนน รวมและคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้น เพิ่มขึ้น ในระดับมาก พฤติกรรมวามร่วมมือ
จานวน
ก่อนการจัดประสบการณ์
24
ค่าเฉลี่ย
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
6.12
1.115
ค่าขนาดอิทธิพล
1.824 หลังการจัดประสบการณ์
24
10.88
ค่าเฉลี่ยเพี่มขึ้น
4.76
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวม
2.609
0.946
๘.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ในการส่งเสริมให้เกิดความสามารถด้านมิติสัมพันธ์จากการสังเกต สารวจ และมีพฤติกรรมร่วมมือในการทัศนศึกษาและการทางานของเด็กปฐมวัย รวมทั้งทาให้เด็กเกิดความรักและภูมิใจใน ท้องถิ่นได้ ดังที่เฟาทส์ (Pfouts,2003: 56) เสนอแนวคิดว่า วิธีการที่ดีในการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโลก และสังคมให้เกิดขึ้นในตัวเด็กคือการเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์ตรง ( Direct Learning Experience)
๙
แผนผังการดาเนินงาน การจัดประสบการณ์ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนบ้านวังลานที่มีต่อ ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์และพฤติกรรมความร่วมมือของเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านวังลาน จังหวัดกาญจนบุรี
• Action • ปฏิบัติการแก้ไข • ปรับปรุงพัฒนา • สร้างสรรค์ผลงาน Action
• Check • ตรวจสอบ/ประเมิน • ผลงาน ชิ้นงาน
Check
Plan Do
• Plan • วางแผน • การดาเนินงาน ตั้งเป้าหมาย จุดประสงค์ วิธีการระยะเวลา • การบริหารจัดการชั้น เรียน
• Do • ลงมือกระทา • ตามแผนที่วางไว้
๙. ผลสาเร็จทีเ่ กิดขึ้นกับการพัฒนา BP ( เปรียบเทียบกับจุดประสงค์ของ BP ) ๙.๑ ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กปฐมวัยหลังจากได้รับประสบการณ์ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ใน ชุมชนโรงเรีย นบ้านวังลาน สูงขึ้น ในระดับ มาก เด็กปฐมวัยมีความสามารถในการมองเห็น รับรู้ถึง ความสัมพันธ์ของมิติต่างๆ เมื่อวิเคราะห์แยกเป็นรายด้าน พบว่า สามารถนาชิ้นส่วนต่างๆ ของภาพ/สิ่งของที่ กาหนดให้มาต่อเข้าด้วยกันเกิดเป็นภาพที่สมบูรณ์ สามารถปฏิบัติและบอกความเหมือน ความต่างของขนาด รูปร่างและรูปทรง ปฏิบัติและบอกตาแหน่งของวัตถุ ข้างหน้า - ข้างหลัง ข้างบน - ข้างล่าง ข้างใน – ข้าง นอก ระหว่าง ปฏิบัติและบอกทิศทางของ วัตถุ ทางตรง – ทางอ้อม ทางซ้าย – ทางขวา สูงขึ้นในระดับ มาก ๙.๒ พฤติกรรมร่ วมมือของเด็กปฐมวัยหลังจากได้ รับประสบการณ์ทศั นศึกษาแหล่งเรี ยนรู้ ในชุมชน โรงเรี ยนบ้ านวังลานมีพฤติกรรมร่วมมือ การแสดงออก ด้ วยการปฏิบตั ิ หรื อคาพูดของเด็กปฐมวัย ที่แสดง ถึงความร่วมมือ สังเกตได้ ในขณะเล่นหรื อทางานร่วมกับผู้อื่นเป็ นกลุ่มจากการทัศนศึกษาแหล่งเรี ยนรู้ ใน ชุมชนมีลักษณะพฤติกรรม พูดแสดงความคิดเห็น รับฟั งความคิดเห็น ปฏิบตั ิตนตามข้ อตกลงและ ทางานร่วมกับเพื่อนจนเสร็จ สูงขึ ้นในระดับ มาก ๙.๓ ผลสาเร็จเชิงปริมาณเด็กปฐมวัยในระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ทุกคนมีผลการพัฒนาที่ดีขึ้น ๙.๔ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ เด็กปฐมวัยในระดับชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ทุกคนมีความสามารด้านมิติสัมพันธ์และ มีพฤติกรรมความร่วมมือ ร้อยละ ๑๐๐
๑๐
๑๐. บทเรียนที่ได้รับ ๑๑.๑ เด็กปฐมวัยมีความสามารถด้านมิติสัมพันธ์และมีพฤติกรรมร่วมมือและพัฒนาความพร้อมทั้ง ๔ ด้าน ๑๑.๒ ครู ปฐมวัยได้แนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่ งเสริมความสามารถด้านมิติ สัมพันธ์และพฤติกรรมร่วมมือโดยใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชน ๑๑.๓ สถานศึกษาและองค์กรที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยเห็นความสาคัญและนาวิธีการจัดกิจกรรมไป ประยุกต์ใช้ในการทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ในชุมชน
๑๑. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวัน เวลาและรูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ขยายผล )