วิธีปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศ (Best Practice) ด้านการบริ หาร นวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย DISSAKUL MODEL นายรัชช์สิทธิ์ ทิพยาลัย ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนดิศกุล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบูรี เขต ๑ ........................................................ ชื่อผลงาน นวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย DISSAKUL MODEL ชื่อผูเ้ สนอ นายรัชช์สิทธิ์ ทิพยาลัย ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรี ยน วิทยฐานะ ผูอ้ านวยการชานาญการพิเศษ โรงเรี ยน ดิศกุล สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ โทรศัพท์ ๐๓๔-๖๔๔๑๓๔ โทรสาร ๐๓๔-๖๔๔๒๔๐ โทรศัพท์มือถือ ๐๘๑-๘๕๗๙๗๖๙ E-mail bossnongtian@hotmail.co.th ๑. ความเป็ นมา สมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราชชนนี ทรงพระราชทานกาเนิดโรงเรี ยนดิศกุล เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๑๐ และได้รับการอุปถัมภ์จาก หม่อมเจ้าดิศศานุวตั ิ ดิศกุล ทรงพระราชทานนามว่า “โรงเรี ยนดิศกุล” โรงเรี ยนดิศกุล ตั้งอยูห่ มู่ที่ ๑ ตาบลหนองตากยา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี บนเนื้ อที่ ๑๔ ไร่ เริ่ มเปิ ดทาการสอนตั้งแต่ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๑๐ ปัจจุบนั โรงเรี ยนดิศกุลเปิ ดทาการสอนตั้งแต่ช้ นั อนุบาล ๑ ถึง ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ โรงเรี ยนดิศกุลมีบุคลากร ๑๕ คน ซึ่งประกอบด้วยผูบ้ ริ หาร 1 คน ข้าราชการครู และบุคลากรทางการ ศึกษา ๑๔ คน และจานวนนักเรี ยน 348 คน แยกเป็ นระดับปฐมวัย 93 คน นักเรี ยนชาย 53 คน นักเรี ยนหญิง 40 คน ระดับประถมศึกษาจานวน 255 คน เป็ นนักเรี ยนชาย 128 คน นักเรี ยนหญิง 127 คน จากการศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูล ปี การศึกษา ๒๕๕๔ ซึ่ งข้าพเจ้าได้ยา้ ยมาดารงตาแหน่งใน ภาคเรี ยนที่ ๒ ของปี การศึกษา ๒๕๕๔ สภาพแวดล้อมของโรงเรี ยน ด้านสภาพแวดล้อมปัจจัยภายในและ ภายนอกของโรงเรี ยน และความต้องการของชุมชน พบว่า ต้องการให้ผเู ้ รี ยนมีพฒั นาการที่สมบูรณ์ท้ งั ร่ างกาย จิตใจอารมณ์ สติปัญญาและอยูใ่ นสังคมอย่างมีความสุ ขและมีความพอเพียง โรงเรี ยนขาด อัตรากาลังครู ครู ที่มีวฒ ุ ิสอนไม่ตรงตามวุฒิ คณะครู และบุคลากรทางการศึกษาขาดขวัญละกาลังใจในการ ปฏิบตั ิงาน ขาดการทุ่มเทเอาใจใส่ ครู ปฏิบตั ิหน้าที่ไม่ตรงความสามรถของภาระงานและความรับผิดชอบ กิจกรรมการเรี ยนการสอนของครู ไม่ดึงดูดความสนใจของนักเรี ยน ด้านนักเรี ยนมีนกั เรี ยนขาดเรี ยนและ ผูป้ กครองบางส่ วนไม่ให้ความสนใจในการมาเรี ยนของนักเรี ยนจึงทาให้นกั เรี ยนขาดเรี ยนบ่อย ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรี ยนไม่ดีข้ ึน ด้านอาคารสถานที่อยูใ่ นสภาพชารุ ดทรุ ดโทรมมาก ภูมิทศั น์ภายในโรงเรี ยนไม่ สวยงาม ขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ดา้ นเทคโนโลยีในการเรี ยนสอน ขาดการประชาสัมพันธ์และการนาข้อมูล ข่าวสารของโรงเรี ยนออกเผยแพร่ สู่สังคมภายนอก ขาดการระดมทรัพยากรจากภายนอกเข้ามาให้การ ช่วยเหลือในการจัดการศึกษา จากสภาพปัญหา ข้าพเจ้าได้ระดมพลังความคิดทั้งจากคณะครู และบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครองนักเรี ยน ชุมชนในการพัฒนาโรงเรี ยน ๒. การออกแบบนวัตกรรม การออกแบบนวัตกรรมนวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย “DISSAKUL MODEL” กระบวนการบริ หารงานโรงเรี ยนดิศกุล รุ กด้วยแผนกลยุทธ์ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง พัฒนาการเรี ยนรู ้ร่วมกันด้วยนวัตกรรมใหม่ โดยอาศัยทีมงานที่มีคุณภาพ มีตวั ชี้วดั ที่ชดั เจนและ ประชาสัมพันธ์ข่าวสารของโรงเรี ยนสู่ สังคมภายนอก นวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย “DISSAKUL MODEL”
D
I
S
S
A
K
U
L
Development (พัฒนา)
Innovation (นวัตกรรมใหม่ คือ เทคโนโลยี)
Sufficiency Economy (ยึดหลักเศรษฐกิจ พอเพียง)
Show (แสดงผลการ เผยแพร่ สู่สาธารณะ)
Action pan ( วางแผน กลยุทธ์)
Know ledge workere (ตังชี้วดั ความสาเร็ จ)
Unity (ความ สามัคคี)นา ทีมร่ วมใจ
Learning (เรี ยนรู ้อย่าง ต่อเนื่ อง)
3
5
2
8
1
7
6
4
Flow Chart นวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย DISSAKUL MODEL การวิเคราะห์สภาพ ปั ญหาของโรงเรี ยน Swot Analysis
Plan
A=Action pan ( วางแผนกลยุทธ์) S = Sufficiency Economy (ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง) D = Development (พัฒนา)
DO Feedback
L = Learning (เรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง) I = Innovation (นวัตกรรมใหม่ คือ เทคโนโลยี)
U = Unity (ความสามัคคี)นาทีมร่ วมใจ
No
Check K = Know ledge workere (ตังชี้วดั ความสาเร็ จ)
Yes Action
S = Show (แสดงผลการเผยแพร่ สู่สาธารณะ)
๑. นักเรี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่ดีข้ ึน ๒. โรงเรี ยนมีคุณภาพ ตามมาตรฐาน
๓. การดาเนินการพัฒนานวัตกรรม วิธีปฏิบตั ินวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย DISSAKUL MODEL จากการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของสถานศึกษา และความต้องการของ ชุมชน คือ พัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนที่เพิม่ ขึ้นและโรงเรี ยนมีคุณภาพตามมาตรฐาน โดยใช้กระบวนการบริ หารโรงเรี ยน ดังนี้ รุ กด้วยแผนกลยุทธ์ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาการเรี ยนรู ้ร่วมกันด้วยเทคโนโลยี โดยอาศัยทีมงานที่มีคุณภาพ มีตวั ชี้วดั ที่ชดั เจนและประชาสัมพันธ์ ข่าวสารของโรงเรี ยนสู่ สังคมภายนอก ด้วยนวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย “DISSAKUL MODEL” ในการดาเนินการโดยใช้วงจร PDCA ดังนี้ ๑. การวางแผน Plan A (Action pan) วางแผนกลยุทธ์ ๒. ปฏิบตั ิ Do S = Sufficiency Economy(ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง) D = Development (พัฒนา) L = Learning(เรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่อง) I = Innovation(นวัตกรรมใหม่ คือ เทคโนโลยี) U = Unity(ความสามัคคี)นาทีมร่ วมใจ ๓. ตรวจสอบ Check K = Know ledge workere (ตังชี้วดั ความสาเร็ จ) ๔. ปรับปรุ งแก้ไข Action S = Show(แสดงผลการเผยแพร่ สู่ สาธารณะ) ๔. การมีส่วนร่ วมในการพัฒนานวัตกรรม คณะครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรี ยนดิศกุล คณะกรรมการสถานศึกษา นักเรี ยน ผูป้ กครองนักเรี ยน และชุมชน ทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่ วมคิด ร่ วมทา ร่ วมประเมินและร่ วมพัฒนาในการ วิเคราะห์ศกั ยภาพของนวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย DISSAKUL MODEL ทาให้ แก้ปัญหาและพัฒนางานให้สอดคล้องกับความต้องการและสภาพจริ งของโรงเรี ยนได้ ส่ งผลให้การทางานมี ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล ๕. ผลที่เกิดจากการนานวัตกรรมไปใช้ ผลการดาเนินงานโดยใช้ นวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย DISSAKUL MODEL ถือเป็ นนวัตกรรมที่สาคัญในการพัฒนาองค์กร และคุณภาพนักเรี ยน โรงเรี ยนมีความเชื่อมัน่ ว่า การ บริ หารงานแบบมีส่วนร่ วม และมีการส่ งเสริ มให้บุคลากรได้ปฏิบตั ิงานอย่างมีคุณภาพทาให้เกิด ประสิ ทธิภาพในการทางานและเกิดประสิ ทธิ ผลกับผูเ้ รี ยน มีความสุ ขในการทางาน ส่ งผลให้นกั เรี ยนได้รับ
ความรู ้ มีความสามรถ และอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่างมีความสุ ข ผูเ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเพิ่มขึ้น บุคลากรทางานได้อย่างสร้างสรรค์ ตรงตามศักยภาพ ความสามารถ ให้ความร่ วมมือในการปฏิบตั ิหน้าที่ ทั้งงานการสอนและงานพิเศษอย่างเต็มความสามารถ บุคลากรได้รับการยอย่องเป็ นประกาศเกียรติคุณ จน เกิดขวัญและกาลังใจในการปฏิบตั ิงาน โรงเรี ยนมีความพร้อมด้วยอาคารสถานที่ มีหอ้ งเรี ยน และ ห้องปฏิบตั ิการเพียงพอที่จะใช้เป็ นห้องเรี ยน ได้นาความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน สถานศึกษา ๖. ประโยชน์ของนวัตกรรมในการแก้ปัญหาหรื อพัฒนาคุณภาพของกลุ่มเป้ าหมาย นวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย DISSAKUL MODEL สามารถนาไปพัฒนาไป พัฒนา ครู และบุคลากรทางการศึกษา นักเรี ยน และโรงเรี ยนได้ตามจุดประสงค์และเป้ าหมายของโรงเรี ยน ได้อย่างครบถ้วน ๗. การใช้ทรัพยากรในการพัฒนานวัตกรรม ประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างเหมาะสม คุม้ ค่า สอดคล้องกับบริ บทของโรงเรี ยนทั้งการ มอบหมายงานให้กบั คณะครู และบุคลากรทางการศึกษา การจัดสรรงบประมาณ การใช้วสั ดุอุปกรณ์และ การใช้กระบวนการบริ หารจัดการตามโครงสร้างการบริ หารและโครงการต่าง ๆ ๘. ปั จจัยแห่งความสาเร็ จ การบริ หารโรงเรี ยนตามหลัก DISSAKUL MODEL สาเร็ จเพราะครู ให้ความร่ วมมือ โดยมี ปั จจัยแห่งความสาเร็ จดังนี้ ๑) ผูบ้ ริ หาร เป็ นผูน้ าการเปลี่ยนแปลง กล้าคิดกล้าทา กล้าตัดสิ นใจ กล้าเปลี่ยนแปลง มีภาวะ ผูน้ า มีคุณธรรม และประพฤติเป็ นแบบอย่างที่ดี ๒) ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีการทางานแบบเป็ นทีม ร่ วมคิด ร่ วมประสาน ร่ วมทาจนทา ให้งานสาเร็ จบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมายที่วางไว้ ๓) คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครองนักเรี ยน ผูน้ าชุมชน ชุมชน องค์กรปกครองส่ วน ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้การยอมรับและให้การสนับสนุนด้านงบประมาณในการพัฒนา การศึกษา ๔) ทรัพยากรและแหล่งเรี ยนรู ้ โรงเรี ยนมีความพร้อมด้านนวัตกรรมต่าง ๆ ด้านวัสดุอุปกรณ์การ เรี ยนการสอน สื่ อ และเทคโนโลยี ๙. บทเรี ยนที่ได้รับ จากการบริ หารโรงเรี ยนตามหลัก DISSAKUL MODEL ของโรงเรี ยนพบว่า การดาเนิ นงาน ด้านการพัฒนาการศึกษาให้ได้มาตรฐาน ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งด้านผูเ้ รี ยน ด้านครู ด้านผูบ้ ริ หารและด้านชุมชน จะประสบผลสาเร็ จได้ตอ้ งเกิดความร่ วมมือของทุกฝ่ าย ต้องเริ่ มตั้งแต่การ วางแผน ดาเนินการ ตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุ ง ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องโดยตลอดจึงจะ นาไปสู่ ความสาเร็ จตามเป้ าหมาย