BEST PRACTICE ของ นางสาวปาณิสรา มณีจำรัส ครูโรงเรียนบ้านหินแด้น สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

Page 1

Best practices การอ่านสร้างชีวิต ลิขิตอนาคต

นางสาวปาณิสรา มณีจารัฐ ครูชานาญการพิเศษ

โรงเรียนบ้านหินแด้น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ กระทรวงศึกษาธิการ


คำนำ เอกสารฉบั บ นี้ จั ดทาขึ้น เพื่อเสนอขอรับการประเมินรับรางวัล ทรงคุ ณค่า OBEC AWARDS ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ประเภทบุคลยอดเยี่ยม ด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับประถมศึกษา ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยผู้จัดทาได้รวบรวมสรุปผลงาน ตามหัวข้อการประเมินที่กาหนดพร้อมแนบหลักฐานเอกสารอ้างอิงไว้ด้วยแล้ว เอกสารประกอบเพื่อขอรับการ ประเมินฉบับนี้เสร็จสมบูรณ์ได้ด้วยความร่วมมือของนักเรียน บุคลากรโรงเรียนบ้านหินแด้น ที่ได้ช่วยรวบรวม ข้อมูลต่างๆ ทาให้สะดวกต่อการจัดทารายงานฉบับนี้ หวังว่าเอกสารฉบับนี้คงจะอานวยความสะดวกให้แก่ คณะกรรมการการประเมินในการพิจารณาตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอขอรับการประเมินต่อไป

ปาณิสรา มณีจารัฐ


สำรบัญ เรื่อง

หน้ำ

ผลงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ชื่อผลงาน ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนา BP ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นสพป./สพฐ./สถานศึกษา แนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP กระบวนการพัฒนา BP ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง ภาคผนวก

๑ ๑ ๑ ๒ ๓ ๓ ๔ ๗ ๘ ๘


Best practices การอ่านสร้างชีวิต ลิขิตอนาคต ๑. ชื่อนวัตกรรม/ผลงาน การอ่านสร้างชีวิต ลิขิตอนาคต ๒. ชื่อผู้เสนอผลงาน นางสาวปาณิสรา มณีจารัฐ ตาแหน่งครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านหินแด้น ตาบลหนองไผ่ อาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี๗๑๑๑๐ หมายเลขโทรศัพท์๐๘๙-๙๑๘๔๐๑๑ ๓. วัตถุประสงค์ ๓.๑เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยและลด จานวนนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ๓.๒เพื่อแก้ไขปัญหาการอ่าน การเขียน ให้มีศักยภาพที่สูงขึ้น และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาษาไทย ๔. ความเป็นมา/ความสาคัญ ตามที่โรงเรียนบ้านหินแด้นได้กาหนดนโยบายในการพัฒนาการบริหารและจัดการสถานศึกษาเพื่อให้ สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ .ศ. ๒๕๔๒แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่๒) พ.ศ. ๒๕๔๕หมวด๔แนวการจั ด การศึ ก ษามาตรา๓๐ให้ ส ถานศึ ก ษาพั ฒ นากระบวนการเรี ย นการสอนที่ มี ประสิทธิภาพและพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษาเพื่อเป็นการนานโยบายสู่การ พัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมโรงเรียนบ้านหินแด้น จึงได้ดาเนินงานตามแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อ ส่ งเสริ มสนั บ สนุ น ให้ ครู ผู้ ส อนทุกกลุ่ มสาระการเรียนรู้ดาเนิน การจั ดกิจ กรรมการเรีย นการสอนตามแผน ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานพ.ศ. ๒๕๕๑โรงเรียนบ้านหินแด้นมีนโยบายการบริหารโรงเรียนโดยเน้นการสร้างโอกาสและความ เท่าเทียมในด้านการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนในด้านการอ่านการเขียน จึงเป็นการสร้างโอกาสทางการศึกษา ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองไปสู่ระดับที่สูงขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนดังต่อไปนี้ ๑. ลดปัญหาการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และวัยของผู้เรียน ๒. ลดปัญหาการเรียนไม่ทัน ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะการคิด ๓. เพิ่มคุณภาพผลงานของผู้เรียน กระตุ้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ๔. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยที่ดีขึ้น สัมพันธ์เชื่อมโยงกับมาตรฐานกับการเรียนรู้ และตัว ชี้วัด ที่เป็ น เป้ าหมายของหน่ ว ยการเรียนรู้ ช่ว ยสร้างองค์ความรู้และทักษะเพื่อพัฒ นาผู้ เรียนไปสู่ มาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนด


๒ ๕. นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนและสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข และพัฒนา ศักยภาพของตนเองไปสู่ระดับที่สูงขึ้น สามารถประเมินเพื่อสะท้อนมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดของหน่วย การเรียนรู้ได้ ๕. ระยะเวลาในการพัฒนา ระยะการพัฒนาพัฒนาตลอดปีการศึกษาดาเนินการต่อเนื่องตลอดปีการศึกษา ๖. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา จุดเน้นของสพป. / สพฐ. / สถำนศึกษำ เป้ำหมำยของ BP • นักเรียนทุกคนอ่านออกเขียนได้ คิดเลข เป็น ทักษะ • พัฒนาเด็กให้เกิดการเรียนรู้เข้าใจเกี่ยวกับบทเรียน วิชาภาษาไทย การคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต การสื่อสารอย่าง • เด็กได้นาความรู้ไปใช้ในชีวิตจริง สร้างสรรค์ • เด็กสนุกสนานรักและภาคภูมิใจในภาษาไทย • นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรัก ชาติ ๗. แนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP 7.1 เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เด็กมีความสุขสนุกสนานทาให้จดจาและเรียนรู้ได้ดีมีเจตคติที่ดีต่อการเรียน 7.๒ จัดประสบการณ์ตรงที่สอดคล้องกับผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ๗.๓ เน้นการปลูกฝังจิตสานึก ค่านิยมและจริยธรรมที่ถูกต้อง ดีงาม สอนจากรูปธรรมไปหานามธรรม ๗.๔ พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะทีสาคัญในศตวรรษที่ ๒๑ ได้แก่ ทักษะชีวิตและอาชีพ ( Life and Career Skills ) ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ( Leamimg and Innovation Skills ) และทักษะด้าน สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ( Information Media and Technology Skills ) ๗.5 จัดการเรียนรู้เพื่อปรับตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซี่ยน ( Asian Community ) ๗.๖ พัฒนาผู้เรียนตามกระบวนทัศน์การเรียนรู้ ๕ ขั้นตอน ( บันได ๕ ขั้น ) ได้แก่ ๑. การเรียนรู้ตั้งคาถาม ( Learning to Question ) ๒. การเรียนรู้แสวงหาสารสนเทศ ( Learning to Search ) ๓. การเรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ ( Learning Construct ) ๔. การเรียนรู้เพื่อสื่อสาร ( Learning Communicate) ๕. การเรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม ( Learning to Serve ) ๗.๗ จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมนักเรียนให้กล้าคิด กล้าทาในสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย ๗.๘ ให้ผู้เรียนได้ร่วมทางานเป็นกลุ่มมีปฎิสัมพันธ์ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อให้มีการพัฒนาการเรียนของตน นอกจากนี้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เป็นหัวใจ สาคัญที่ช่วยให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตรและเกิดการบูรณาการอย่างแท้จริง


๓ ๘. กระบวนการพัฒนา BP ๘.๑กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุ่มเป้าหมาย) ประเภทของกลุ่มเป้าหมายนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนบ้านหินแด้น ๘.๒ขั้นตอนการดาเนินงานและพัฒนาผลงานเมื่อผู้สอนพบว่านักเรียนมีความสามารถในการเรียนรู้ที่ แตกต่างกันทาให้เกิดปัญหาในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนส่งผลกระทบกับการพัฒนาศักยภาพของ ผู้เรียน ผู้สอนจึงได้ดาเนินการแก้ไขปัญหาในทันทีทั้งนี้ผู้สอนได้พัฒนาวิธีการดาเนินงานโดยใช้วงจรคุณภาพ ( PDCA ) ของเดมมิ่งดังนี้ ขั้นวางแผน (Plan) การวางระบบเป็นการกาหนดขั้นตอนการทางานเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอน โดยวิเคราะห์หลักสูตรจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาวิเคราะห์นักเรียนเป็นรายบุคลโดยอาศัยข้อมูล จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในปีที่ผ่านมาการประเมินผลความรู้ก่อนเรียนสารวจข้อมูลนักเรียน เป็นรายบุคคลด้าน EQ, SDQ และความสามารถพิเศษของนักเรียน สารวจข้อมูลครอบครัวนักเรียน ผู้ปกครองนักเรียนโดยการสัมภาษณ์ กรอกแบบสอบถามและเยี่ยมบ้านนักเรียน สรุปข้อมูลนักเรียนเป็น รายบุคคลประเมินการจัดการเรียนการสอนของครูโดยใช้เทคนิค WHERE TO ขั้นดาเนินการ(DO) (แนวทางการจัดการเรียนการสอน) นาข้อบกพร่องที่ได้จากการประเมินมาออกแบบพัฒนาปรับปรุงแผนการ จัดการเรียนรู้นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้มาใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและประเมินผลการเรียนรู้ตาม แนวทางการประเมินผลตามสภาพจริงโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ขั้นตรวจสอบ (Check) ดาเนินการประเมินผลว่าเป็นไปตามจุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงานหรือไม่โดยเน้นการประเมิน ทบทวนกระบวนการการจัดการเรียนการสอนประเมินความคิดเห็นของผู้เรียนและการเสนอแนะข้อคิดเห็นเพื่อ การพัฒนาจากผู้บริหารคณะครูผู้มีประสบการณ์พร้อมทั้งสร้างเครือข่ายความร่วมมือ

ขั้นปรับปรุงพัฒนา (Action) นาผลการประเมินทบทวนมาปรับปรุงพัฒนาระบบหรือวิธีการดาเนินงานเพื่อมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตาม จุดประสงค์และเป้าหมายความสาเร็จที่วางไว้


แผนภาพขั้นตอนการพัฒนา การจัดการเรียนการสอน โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การเตรียมความพร้อม สร้าง/ออกแบบแผนการสอน

ดาเนินการจัดการเรียนการสอน

การประเมินผล, บรรลุวัตถุประสงค์ วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง

สรุปและรายงานผล

ปรับปรุงและพัฒนา


๕ ๘.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ ) วิธีการตรวจสอบ คุณภาพ BP ใช้แบบประเมินผล แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่สร้างขึ้น แบบประเมิน ความพึงพอใจนาผลการประเมินที่ได้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบปรับปรุงเพื่อดูคุณภาพของ BP ผลการตรวจสอบ คุณภาพที่ได้ นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาไทยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยสูงขึ้นดูจากแบบสังเกต พฤติกรรมและความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย ๑) ประเมินความสามารถพื้นฐานโดยใช้เครื่องมือที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ หรือสถานศึกษาจัดทาขั้น ๒) ประเมินนักเรียนระหว่างจัดการเรียนการสอนเป็นระยะ ๓) ประเมินเพื่อสรุปโดยใช้เครื่องมือวัดและประเมินผลที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานจัดทาขึน้ ๔) จัดทาแผนงาน/โครงการเพื่อพัฒนาหรือซ่อมเสริมนักเรียนที่มีปัญหาการอ่าน ๘.๔แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ใช้ในการพัฒนาทักษะทางภาษาไทยและนักเรียนสามารถ นาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ๙. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) ๙.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณนักเรียนกลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๘๕ มีความสาเร็จในการเรียนภาษาไทยและ มีเจตคติที่ดีต่อภาษาไทย ๙.๒ ผลสาเร็ จ เชิ ง คุณ ภาพนั ก เรี ย นมีเ จตคติที่ ดี ต่อ การเรี ย นภาษาไทยผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ภาษาไทยสูงขึ้น ๙.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้ที่เกี่ยวข้องและ วิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) นักเรียนร้อยละ๘๕มีความพึงพอใจในระดับมาก – มากที่สุดได้มา จากแบบสังเกตความพึงพอใจโดยให้ผู้เรียนเป็นผู้ประเมิน ๑๐. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๑๐.๑วิธีการตรวจสอบซ้า BP ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุข้อบกพร่องแต่ละขั้นตอนแล้วนามา ปรับปรุงแก้ไขและหารูปแบบใหม่ๆที่น่าสนใจมาเสนอให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนแล้วดาเนินการซ้า ๑๐.๒ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนสามารพัฒนาการเรียน ภาษาไทยได้ดีขึ้นและมีเจตคติที่ดีต่อภาษาไทยและนาไปใช้ได้อย่างยั่งยืน ๑๑. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวันเวลาและรูปแบบ/ วิธีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่และขยายผล) นักเรียนที่สนใจภาษาไทยเข้าร่วมแข่งขันเกี่ยวกับภาษาไทยในหลายๆโครงการประสบผลสาเร็จบ้างใน บางโครงการและได้เผยแพร่ผลงานให้แก่ครูในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาพ่อขุนด่าน


ภาคผนวก


ผลงานจากหน่วยงานอืน่


ผลงานจากหน่วยงานต้นสังกัด


ผลงานจากหน่วยงานต้นสังกัด


๑๐

ผลงานจากหน่วยงานต้นสังกัด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.