Best Practice 1. ชื่อผลงาน Best Practice การบริหารงานวิชาการตามพระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ ด้ าน( / )วิชาการ( )บริหารจัดการศึกษา ( )นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน 2. ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้พฒ ั นา Best Practice 2.1 ชื่อผู้พฒ ั นา Best Practice นายสมเดช ช้ างงา ผู้อานวยการโรงเรี ยนชานาญการพิเศษ 2.2 โรงเรี ยนบ้ านวังลาน ตาบลหนองหญ้ า อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เครื อข่ายพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเกาะสาโรง 2.3 โทรศัพท์ 081-5269487 e-mail Mrsomdesh@hotmail.co.th 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice 3.1 เพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ มีคณ ุ ภาพ 3.2 เพื่อจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 3.3 เพื่อวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ที่มีคณ ุ ภาพ มาตรฐาน มีความชัดเจน 3.4 เพื่อพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู้มีคณ ุ ภาพและจานวนเพียงพอ 3.5 เพื่อพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ภาพส่งเสริมหลักสูตรคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.6 เพื่อให้ มีระบบนิเทศภายในสถานศึกษาที่มีคณ ุ ภาพ 4. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice 16 พฤษภาคม 2555 – 31 มีนาคม 2556 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง Best Practice กับเป้าหมาย/จุดเน้ นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา เชื่อมโยงกับกลยุทธ์ที่ 1 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื ้ ้นฐาน คือพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้ านเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่ องมือใน การเรี ยนรู้ สัมพันธ์กลยุทธ์ที่ 1 ของสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 คือ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้ านเทคโนโลยี เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้ และสัมพันธ์กบั กลยุทธ์ที่ 1ของโรงเรี ยนคือ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาทุกระดับและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้ การบริหารงานตามพระราช ดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” เพื่อการบริหารวิชาการสูค่ ณ ุ ภาพ เป็ นภาระหลักของสถานศึกษาอย่าง หนึง่ ที่จะต้ องพัฒนานวัตกรรมการบริหารงานที่เหมาะสมกับบริบท สอดคล้ องวิสยั ทัศน์ เป้าหมาย พันธกิจ และกลยุทธ์ของโรงเรี ยน วิสัยทัศน์ ของโรงเรียน ”โรงเรี ยนบ้ านวังลานจัดการศึกษาให้ ได้ มาตรฐานการศึกษาชาติ นาเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนรู้ บุคลากรมีมาตรฐานวิชาชีพ ผู้เรี ยนมีคณ ุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง โดยชุมชนมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา”
2 พันธกิจ 1.จัดการศึกษาให้ ได้ มาตรฐานการศึกษาชาติ 2.ส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีในการจัดการ 3.พัฒนาบุคลากรให้ มีมาตรฐานวิชาชีพ 4.ส่งเสริมผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ลักษณะอันพึงประสงค์และดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 5.ส่งเสริมให้ ชมุ ชนเข้ ามามีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา เป้าประสงค์ 1.จัดการศึกษาให้ ได้ มาตรฐานการศึกษาชาติ 2.ใช้ เทคโนโลยีในการจัดการ 3.บุคลากรมีมาตรฐานวิชาชีพ 4.ผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ลักษณะอันพึงประสงค์และดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5.ชุมชนเข้ ามามีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา กลยุทธ์ การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรี ยนบ้ านวังลาน กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อเป็ น เครื่ องมือในการเรี ยนรู้ กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝั งคุณธรรม ความสานึกในความเป็ นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ ทวั่ ถึงครอบคลุมผู้เรี ยนได้ รับ โอกาสในการพัฒนาเต็ม ตามศักยภาพ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทังระบบ ้ กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางการกระจายอานาจตาม หลักธรรมาภิบาล เน้ นการมีสว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ ในการพัฒนา Best Practice พระราชดารัสของพระเจ้ าอยูห่ วั ที่ทรงให้ ไว้ กบั ประชาชนชาวไทย ถ้ านาไปปฏิบตั ติ ้ องประสบความสาเร็จ อย่างแน่นอนจากแนวคิดนี ้โรงเรี ยนบ้ านวังลาน ได้ นาพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ที่วา่ “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” มาใช้ ในการบริหารงานของโรงเรี ยนบ้ านวังลาน เข้ าใจ หมายถึงความเข้ าใจในบริบทของสถานศึกษา เข้ าใจชุมชน เข้ าใจบุคลากร เข้ าใจนักเรี ยน โดยต้ องมองอย่างเป็ นกลาง ปราศจากอคติโดยพื ้นฐานของความเป็ นจริง เข้ าใจสภาพแวดล้ อมของ ชุมชน ทังเศรษฐกิ ้ จ การเมืองและครอบครัวของนักเรี ยนทุกคน โดยคณะครูจะเข้ าไปเยี่ยมบ้ านของ
3 นักเรี ยน สัมภาษณ์ผ้ ปู กครอง เก็บภาพแต่ละครอบครัว นามาวิเคราะห์และจัดลาดับในประเด็นต่าง ๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคม การเลี ้ยงดู ความเสี่ยง และอื่น ๆ เข้ าถึง หมายถึงการเข้ าถึงปั จจัย องค์ความรู้ หลักคิดทฤษฎี แนวทาง ทรัพยากรการบริหาร ต่าง ๆ ของงานที่ทา โดยโรงเรี ยนได้ เชิญผู้เกี่ยวข้ องและผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย มีผ้ บู ริหารโรงเรี ยน ครู คณะกรรมการสถานศึกษาขันพื ้ ้นฐานของโรงเรี ยน ตัวแทนนักเรี ยน ตัวแทนชุมชน ผู้นาหมูบ่ ้ าน ตัวแทน ผู้ปกครองมาร่วมจัดทา SWOT พร้ อมวิเคราะห์เพื่อให้ ทราบถึงบริบทของโรงเรี ยน จุดมุง่ หมายและ ทิศทางที่จะดาเนินการ เมื่อวิเคราะห์จนได้ ประเด็น ความต้ องการ และทิศทางในการดาเนินงาน ทางโรงเรี ยนได้ จดั ประชุมวิชาการเพื่อให้ คณะครูได้ รับความรู้ และแนวทางในการปฏิบตั งิ าน ตลอดจนมอบหมาย ผู้รับผิดชอบในงานต่าง ๆ พร้ อมทังร่้ วมกันเขียนโครงการรองรับเพื่อใช้ ในการปฏิบตั งิ าน ตามเงื่อนไขดังนี ้ 1.การกระจายอานาจ (Decentralization) เป็ นการมอบอานาจให้ กบั ผู้ใต้ บงั คับบัญ ชาตามภาระ งานโดยอาศัยหลักธรรมาภิบาล (Good governence) คือหลักนิตธิ รรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีสว่ นร่วม หลักความคุ้มค่า ทาให้ ได้ ทีมงาน (Team )ในการร่วม ปฏิบตั งิ านที่มีข้อตกลงร่วมกัน มีผลประโยชน์ร่วมกัน และมีความรับผิ ดชอบร่วมกัน 2.กระบวนการจัดการเรี ยนรู้ (Knowledge Management) มี 7 ขันตอน ้ 2.1 การบ่งชี ้ความรู้ คือการวิเคราะห์ความรู้ที่มีอยูใ่ นตัวบุคลากรของโรงเรี ยนว่ามีความรู้ อะไรอยูแ่ ล้ ว และต้ องการความรู้ในเรื่ องใด เพื่อโรงเรี ยนจะได้ ดาเนินการพัฒนา 2.2 การสร้ างและแสวงหาความรู้จากแหล่งต่าง ๆ เช่น เข้ าอบรมสัมมนา จากหนังสือและ สิ่งพิมพ์ตา่ ง ๆ 2.3 การประมวลความรู้ คื อนาความรู้ที่ได้ มากลัน่ กรอกและสามารถมาเรี ยนรู้ได้ จริง 2.4 การจัดหมวดหมูค่ วามรู้ คือการนาความรู้ที่ประมวลกลัน่ กรอกแล้ วมาจัดเป็ นหมวด หมู่ เพื่อสะดวกในการค้ นคว้ า 2.5 การเข้ าถึงความรู้ คือการประชาสัมพันธ์ถึงแหล่งเรี ยนรู้ที่จดั เก็บเป็ นหมวดหมูแ่ ล้ วเพื่อจะ ได้ ค้นหาได้ ง่าย 2.6 การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ คือการจัดเวทีให้ บคุ ลากรได้ มีโอกาสพูดคุยถึงเรื่ องที่ได้ เรี ยนรู้ ซึง่ เป็ นการแลกเปลี่ยนความรู้และเรี ยนรู้ไปด้ วยกัน เพื่อเป็ นข้ อมูลในการดาเนินงาน 2.7 การเรี ยนรู้ คือการลงมือปฏิบตั ติ ามโครงการหรื อกิจกรรมที่ตนเองและคณะที่รับผิดชอบ บนพื ้นฐานความรู้ที่ได้ รับมา พัฒนา หมายถึงการลงมือปฏิบตั งิ าน การตรวจสอบ ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน และหาทางทาต่อยอด องค์ความรู้เดิมให้ ดีขึ ้น สิ่งต่อยอดใหม่เรี ยกว่านวัตกรรมเกิดวิธีคดิ ใหม่ (Paradigm) ที่เป็ นของตน ส่วนนี ้ ถือเป็ นองค์ความรู้ที่จะเป็ นทางให้ ผ้ อู ื่นได้ เรี ยนรู้และต่อยอด ถือเป็ นทฤษฎีการพัฒนาสูค่ วามปฏิบตั ิ โครงการหรื อกิจกรรมตามที่ได้ รับมอบหมาย โดยจะต้ องอาศัยหลักปฏิบตั เิ ชิงคุณภาพตามวงจรคุณภาพ
4 ของเดมมิ่ง (Deming Cicle: PDCA) พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยูห่ วั ที่วา่ “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” ซึง่ มี กระบวนทัศน์สาคัญที่สดุ ที่ต้องเปลี่ยนคือ “เรี ยนชีวิต ไม่ใช่เรี ยนวิชา” โดยพิจารณา 3 อย่าง การพัฒนาการเรี ยนรู้ 3 ทางที่ต้องเชื่อมโยงสอดคล้ องเข้ าหากัน ได้ แก่ 1. การเรี ยนการสอนในห้ องเรี ยน 2. กิจกรรมเสริมในโรงเรี ยนสิ่งแวดล้ อม แหล่งเรี ยนรู้ในโรงเรี ยน 3. ชีวิตจริงนอกโรงเรี ยน 4. ผู้บริหารใช้ กระบวนการบริหารแบบเชิงราบ หรื อกระบวนการกลุม่ 5. ศึกษานิเทศก์ชว่ ยเหลือโรงเรี ยน ช่วยเหลือครูอย่างกัลยาณมิตร 6. ตัวครูผ้ สู อนต้ องใช้ จิตวิทยาเชิงบวกต่อนั กเรี ยน 7. ครูและนักเรี ยนเน้ นกระบวนการเรี ยนรู้สทู่ กั ษะ โดยเรี ยนรู้เป็ นทีม
รูปแบบการบริหารวิชาการตามพระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” การบริหารโดยทัวไปมี ่ ความมุ่งหมายเพือ่ ต้องการให้การปฏิบตั งิ านบรรลุตามวัตถุประสงค์ การบริหาร จึงเป็ นทัง้ ศาสตร์และศิลป์ ซึง่ มีเทคนิควิธเี พือ่ นาไปสู่เป้ าหมายทีก่ าหนดไว้ โดยอาศัยหลักการและกระบวนการ ก่อนทีจ่ ะกล่าวถึงหลักการและกระบวนการจึงต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของการบริหารและงาน วิชาการ ดังนี้
5 1. ความหมายของการบริหารและการบริหารงานวิชาการ การบริหารในฐานะที่เป็ นศาสตร์ ( S c i e n c e ) ซึง่ ประกอบด้ วยทฤษฎี หลักการและเหตุผล จาเป็ นต้ องกระทาอย่างเป็ นระบบและมีกระบวนการการบริหารมีความหมายและความสาคัญตามทัศนะ ต่าง ๆ เช่นแคมป์เบลล์ และคณะ (Campbell and Others. 1976 : 137) ได้ กล่าวถึงการบริหาร หมายถึง ขันตอนต่ ้ างๆ ของการดาเนินงานที่ผ้ บู ริหารต้ องทาหน้ าที่ดาเนินการให้ ผ้ ปู ฏิบตั ไิ ด้ ดาเนินงานจนเสร็จสิ ้น ได้ ผลงานตามที่ต้องการ ไซมอน (Simon. 1976 : 1) ได้ กล่าวถึงการบริหารว่าเป็ น ศิลป์ในการปฏิบตั งิ าน ให้ กิจกรรมต่าง ๆ ประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่ต้องการนอกจากนี ้สมพงศ์ เกษมสิน (2517 : 6) ได้ กล่าวถึงการบริหารคือการใช้ ศาสตร์ และศิลป์ในการนาเอาทรัพยากรการบริหาร (Administrative Resources) มาประกอบกันตามกระบวนการบริหาร(Process of Administration)ให้ บรรลุวตั ถุประสงค์ ที่กาหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารงานวิชาการเป็ นงานหนึง่ ในหลาย ๆ งานในหน่วยงานหรื อสถานศึกษา ซึง่ นักการ ศึกษาให้ ความหมายไว้ นานาทัศนะภิญโญ สาธร (2523:436)เห็นว่าการบริหารงานวิชาการหมายถึงการ บริหารกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษาที่เกี่ ยวกับการปรับปรุงพัฒนาการสอนให้ เกิดผลดีแก่นกั เรี ยน และ มีประสิทธิภาพสูงสุด จึงสรุปได้ วา่ การบริหารงานวิชาการ หมายถึง กระบวนการจัดกิจกรรมในงานวิชาการ ซึง่ เป็ น ภารกิจหลักให้ เกิดการปรับปรุงพัฒนาและเป็ นประโยชน์สงู สุดแก่ผ้ เู รี ยน กระบวนการดังกล่าวนี ้ ได้ แก่ การวางแผน การจัดระบบโครงสร้ าง และการกาหนดบทบาทหน้ าที่ การจัดดาเนินงานทางวิชาการ การ ผลิตสื่อและอุปกรณ์ การศึกษาการวัดและประเมินผลการจัดบรรยากาศเพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ หรื อศูนย์สารสนเทศรวมทังการจั ้ ดสิ่งอานวยความสะดวกอื่นๆและการนิเทศภายในเพื่อ ให้ งานวิชาการมี คุณภาพ 2. หลักการบริหารงานวิชาการ หลักการบริหารงานวิชาการเป็ นแนวคิดเพื่อปฏิบตั ไิ ปสูค่ วามสาเร็จในการบริหารงานวิชาการ จาเป็ นต้ องมีหลักการที่สาคัญ ๆ ดังนี ้ 2.2.1 หลักการพัฒนาคุณภาพ (Quality Management) เป็ นการบริหารงานเพื่อนาไปสู่ ความเป็ นเลิศทางวิชาการองค์ประกอบของคุณภาพที่เป็ นตัวชี ้วัดคือผลผลิตและ กระบวนการ เป็ นปั จจัยสาคัญที่ทาให้ บคุ ลากรและผู้รับบริการได้ รับความพึงพอใจ พัฒนาศักยภาพ เป็ นที่ยอมรับของสังคมในระดับสากลมากขึ ้นโดยอาศัยกระบวนการ ประกันคุณภาพการศึกษาได้ แก่การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการ ประเมินคุณภาพ 2.2.2 หลักการมีสว่ นร่วม (Participation) การปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการบริหารได้
6 พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอตลอดเวลา โดยทุกคนในหน่วยงานมีสว่ นร่วม เสนอแนะปรับปรุงและพัฒนา หลักการมีสว่ นร่วมต้ องการให้ ทกุ คนได้ ร่วมกันทางาน ซึง่ ลักษณะของงานวิชาการต้ องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่ าย อาจดาเนินงานในรูป ของคณะกรรมการวิชาการ ซึง่ จะมีเป้าหมายการทางานร่วมกัน นาไปสูก่ ารพัฒนา คุณภาพได้ มากขึ ้น การมีสว่ นร่วมต้ องเริ่มจาก การร่วมคิด ร่วมทา และร่วมประเมินผล 2.2.3 หลักการ 3 องค์ประกอบ (3-Es) ได้ แก่ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และประหยัด 1) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง การปฏิบตั ติ ามแผนที่กาหนดไว้ เป็ นไป ตามขันตอนและกระบวนการมี ้ ปัญหาและอุปสรรคอย่างไรในขณะดาเนินการก็สามารถ ปรับปรุงแก้ ไขได้ มีประสิทธิภาพเน้ นไปที่กระบวนการ (Process) การใช้ กลยุทธ์และ เทคนิควิธีตา่ ง ๆ ที่ทาให้ บรรลุวตั ถุประสงค์มากที่สดุ 2) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ได้ ผลผลิต (Outputs) ตามวัตถุประสงค์ ที่กาหนดไว้ ตรงตามจุดมุง่ หมายของหลักสูตร มีความรู้ความสามารถ มีทกั ษะเพิ่มขึ ้น รวมทังการค ้ านึงถึงประโยชน์ที่ได้ รับ อย่างไรก็ตามมักใช้ คาสองคานี ้ควบคูก่ นั คือมี ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล 3) หลักประหยัด (Economy) หมายถึง การใช้ เวลาน้ อย การลงทุนน้ อย การใช้ กาลัง หรื อแรงงานน้ อย โดยไม่ต้องเพิ่มทรัพยากรทางการบริหาร แต่ได้ ผลผลิตตามที่คาดหวัง ดังนัน้ การลงทุนในทางวิชาการจึงต้ องคานึงถึงความประหยัดด้ วยเช่นเดียวกัน ผู้บริหาร จะใช้ กลวิธีอย่างไรในการบริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพโดยอาศัยความประหยัดบุคลากร งบประมาณ วัสดุและเทคโนโลยี และใช้ เวลาน้ อยอีกด้ วย 2.2.4 หลักความเป็ นวิชาการ (Academic) หมายถึง ลักษณะที่ครอบคลุมเนื ้อหาสาระของ วิชาการ ได้ แก่ หลักการพัฒนาหลักสูตร หลักการเรี ยนรู้ หลักการสอน หลักการวัดผล ประเมินผลหลักการนิเทศการศึกษาและหลักการวิจยั เป็ นต้ น หลักการต่าง ๆ เหล่านี ้ เป็ นองค์ประกอบสาคัญ ก่อให้ เกิดลักษณะความเป็ นวิชาการที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ เพื่อทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงและสร้ างสรรค์ดงั นัน้ การบริหารงานวิชาการจาเป็ นต้ อง คานึงถึงหลักการต่าง ๆ เหล่านี ้ สรุปได้ วา่ หลักการบริหารงานวิชาการต้ องคานึงถึงการพัฒนาสูค่ วามเป็ นเลิศ ทาให้ ดีที่สดุ นาไปสูค่ ณ ุ ภาพที่คาดหวัง คานึงถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการศึกษา โดยให้ บคุ ลากรทุกฝ่ ายได้ รับผิดชอบร่วมกันทาให้ ผลผลิตมีคณ ุ ภาพคานึงถึงประสิทธิภาพประสิทธิผลและความประหยัด 7. กระบวนการพัฒนา Best Practice 7.1 กลุม่ เป้าหมายในการนา Best Practice ไปใช้ กลุม่ เป้าหมายในการพัฒนา ได้ แก่ ครูและ บุคลากร นักเรี ยน ของโรงเรี ยนบ้ าน วังลาน และผู้เกี่ยวข้ อง ประกอบด้ วย ครูและบุคลากร ทางการศึกษาจานวน 20 คน นักเรี ยนจานวน 271 คน
7 7.2 ขันตอนการพั ้ ฒนา Best Practice การพัฒนา Best practice เรื่ อง การบริหารวิชาการตามพระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” ประกอบด้ วย วิธีดาเนินการพัฒนา วิธีดาเนินการพัฒนา ดาเนินการตาม 4 ขันตอน ้ คือ ตอนที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการบริหารงานตามพระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” ตอนที่ 2 การสร้ างรูปแบบการบริหารงานตามพระราชดารัส“เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” ได้ ดาเนินการดังนี ้ 1. นาผลการวิเคราะห์ แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั และการวิเคราะห์ความคิดเห็น เกี่ยวกับ องค์ประกอบที่สาคัญของรูปแบบการบริหารงานแบบต่างๆ มาร่างเป็ นรูปแบบ โดยมี องค์ประกอบหลัก และองค์ประกอบย่อย 2. การตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็ นไปได้ ของรูปแบบการบริหารงานตามพระราช ดารัส“เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” โดยผู้เกี่ยวข้ องจากสถานศึกษาในเครื อข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษาเกาะสาโรง จานวน 8 คน และผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน โดยใช้ แบบสอบถามชนิด มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ นาข้ อมูลที่ได้ ไปแก้ ไข ปรับปรุงร่างรูปแบบการบริหารงานตาม พระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” ตามข้ อเสนอแนะของผู้เกี่ยวข้ องและผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้ รูปแบบมีความเหมาะสมและความเป็ นไปได้ มากที่สดุ แล้ วนามาสร้ าง ข้ อตกลงร่วมกัน ดาเนินการตามรูปแบบการบริหารงานตามพระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” เพื่อการบริหาร วิชาการสูค่ ณ ุ ภาพ 3. การประเมินความเหมาะสมของคูม่ ือการดาเนิน การตามรูปแบบการบริหารงานตามพระราช ดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” โดยผู้เชี่ยวชาญและผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา จานวน 27 คน ด้ วยแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยพิจารณาจาก ระดับความเหมาะสม นาข้ อมูลที่ได้ ไปปรับปรุงข้ อตกลงการดาเนินการตามรูปแบบการ บริหารงานตามพระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” ตามความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะของ ผู้เชี่ยวชาญและผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาแล้ วนาไปทดลองใช้ ตอนที่ 3 การทดลองใช้ รูปแบบการบริหารงานตามพระราชดารัส“เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” โดยทดลองใช้ ใน โรงเรี ยนบ้ านวังลาน ตาบลหนองหญ้ า อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ปี การศึกษา 2556 ตังแต่ ้ เดือนพฤษภาคม 2555 ถึง เดือน มีนาคม 2556 โดยได้ ทดลองการดาเนินงานตามข้ อตกลง การดาเนินการตามรูปแบบการบริหารงานตามพระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” และวัดผล การดาเนินการตามรูปแบบหลังการทดลองใช้ ตอนที่ 4 การประเมินรูปแบบการบริหารงานตามพระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” ซึง่ มี รายละเอียดดังนี ้ 4.1 การศึกษาข้ อมูลพื ้นฐานสาหรับการพัฒนารูปแบบการบริหารงานตามพระราชดารัส“เข้ าใจ
8 เข้ าถึง พัฒนา” ได้ ดาเนินการรวบรวมข้ อมูลสารสนเทศจากแหล่งข้ อมูล คื อ ศึกษาพระราชดารัส แนวคิด ทฤษฎี จากเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ องกับ การบริหารการศึกษา หลักการทางาน เป็ นทีม ภารกิจและขอบข่ายงานวิชาการในสถานศึกษาขันพื ้ ้นฐานและ กระบวนการบริหารงาน วิชาการตามแนวปฏิรูปการศึกษา 4.2 การสังเคราะห์เนื ้อหา ผู้ใช้ นาผลจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์เนื ้อหาและดาเนินการร่าง รูปแบบการบริหารงานตามพระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” ซึง่ ประกอบด้ วยโครงสร้ างที่ แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างองค์ประกอบ การบริ หารงานตามพระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา” ประกอบด้ วย การเรี ยนรู้ ในห้ องเรี ยน ชีวิตจริงนอกห้ องเรี ยน กิจกรรมเสริม /แหล่ง เรี ยนรู้/ฐานการเรี ยนรู้ เน้ นกระบวนการเรี ยนรู้ สูท่ กั ษะ ทางานเป็ นทีม เรี ยนจากการปฏิบตั จิ ริง คุณธรรมจริยธรรม 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ Best Practice ในขันตอนนี ้ ้ผู้พฒ ั นาได้ ดาเนินการดังนี ้ ประเมินคุณภาพ ของ รูปแบบ ก่อน นาไปใช้ โดยหาคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญด้ านการบริหารทังหมด ้ 8 ท่านเมื่อมี คุณภาพแล้ วจึงนามาใช้ จริง การสร้ างรูปแบบต้ องมีการศึกษารูปแบบต่างๆ อย่างชัดเจนก่อนสร้ าง รูปแบบใหม่ที่เหมาะสมกับ สภาพการบริหารจัดการ บริบทของแต่ละโรงเรี ยนแต่ความน่าเชื่อถือใน รูปแบบการบริหารจัดการต้ องอยูใ่ นระดับดีมากการบริหารจึงจะประสบความสาเร็จ การทบทวน ปรับปรุง พัฒนาต้ องมีอย่างต่อเนื่อง ซึง่ จะนาผลจากการเก็บข้ อมูลมาวิเคราะห์ ปรับปรุงต่อไป 7.4 แนวทางการนา Best Practice ไปใช้ ประโยชน์ 1) ทุกคนที่เกี่ยวข้ องมีสว่ นร่วม ร่วมคิด ร่วมสร้ าง ร่วมใช้ และร่วมประเมิน 2) ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนาการจัดการศึกษาให้ ผ้ เู รี ยนเป็ นคนดี คนเก่ง และคนที่ มี ความสุขอยูร่ ่วมกันในสังคมอย่างสันติรูปแบบการบริหารจัดการที่ดีที่สดุ คือรูปแบบของนักเรี ยน เรา โรงเรี ยนเรา และบริบทของเรา 3) ทาให้ เกิดองค์กรคุณภาพครูและนักเรี ยนมี จิตมุง่ เน้ นการให้ บริการที่ดี คุณธรรมจริยธรรม การ เรี ยนรู้ตลอดเวลา คานึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า มีทกั ษะในการคิดและการ ดาเนินชีวิต 4) มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องทาให้ เกิดระบบงานที่มีคณ ุ ภาพเกิดวัฒนธรรมองค์กรที่มีความยัง่ ยืน 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ ้นจากการพัฒนา Best Practice 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) เพื่อให้ มีหลักสูตรทุกกลุม่ สาระการเรี ยนรู้ 2) เพื่อจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพ มีแผนการจัดการเรี ยนรู้ทกุ วิชา 3) เพื่อวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ทกุ ภาคเรี ยน หรื อปี ละ 1 ครัง้ 4) เพื่อพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู้ทกุ สาระวิชา 5) เพื่อพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ภาพ ส่งเสริมหลักสูตร คุณลักษณะอันพึง
9 ประสงค์ปีการศึกษาละ 1 ครัง้ 6) เพื่อให้ มีระบบนิเทศภายในสถานศึกษา ภาคเรี ยนละ 1 ครัง้ 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) เพื่อให้ ได้ หลักสูตรที่มีคณ ุ ภาพ 2) เพื่อมีแนวทางจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 3) เพื่อให้ การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ที่มีคณ ุ ภาพ มาตรฐาน มีความชัดเจน 4) เพื่อพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู้มีคณ ุ ภาพและจานวนเพียงพอ 5) เพื่อพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ภาพ ส่งเสริมหลักสูตร คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 6) เพื่อให้ มีระบบนิเทศภายในสถานศึกษาที่มีคณ ุ ภาพ 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้ องต่อ Best Practice จากการประเมินความพึงพอใจของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรี ยนบ้ านวังลาน ประกอบด้ วย ครูและบุคลากรทางการศึกษาจานวน 20 คน นักเรี ยนจานวน 165 คน ผู้ปกครอง นักเรี ยนจานวน 82 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขันพื ้ ้นฐานจานวน 9 คน รวม คนโดยใช้ แบบสอบถาม ร้ อยละ 92 มีความพึงพอใจในระดับดีมาก 8.4 ปั จจัยความสาเร็จของการพัฒนา Best Practice / ประสบการณ์เรี ยนรู้จากการนา Best Practice ไปใช้ ปั จจัยที่ทาให้ เกิดความสาเร็จในการบริหารรูปแบบการบริหารที่พฒ ั นาขึ ้น คือ 1) ผู้บริหารให้ การสนับสนุน ส่งเสริม เป็ นที่ปรึกษา แนะแนวทางสร้ างและปฏิบตั ิ อย่างจริงจัง ต่อเนื่อง 2) ครูมีความตระหนักเห็นคุณค่าของการพัฒนาตนรวมทังการถ่ ้ ายทอดสัง่ สอนนักเรี ยนอย่างเต็ม ศักยภาพ 3) องค์กรมีทิศทางการบริหารและพัฒนาที่ชดั เจน เกิดวัฒนธรรมองค์กร 4) การจัดการความรู้ถกู นามาใช้ อย่างแท้ จริง 5) การพัฒนาต้ องมีความต่อเนื่องจึงจะเกิดความยัง่ ยืน 9. กระบวนการตรวจสอบซ ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง Best Practice ให้ เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ ้า Best Practice จากการดาเนินงานในปี การศึกษาแรกประสบความสาเร็จในระดับหนึง่ ดังนันจึ ้ งได้ นารูปแบบ การบริหารงานตามพระราชดารัส “เข้ าใจ เข้ าถึง พัฒนา “ เพื่อการบริหารวิชาการสูค่ ณ ุ ภาพ มาปรับปรุงพัฒนา เพิ่มเติมบางส่วนให้ เกิดความสมบูรณ์ แล้ วนาไปใช้ ในปี การศึกษาต่อไป เป็ น การสร้ าง การใช้ การประเมินผลแล้ วนาผลการประเมินมาใช้ พฒ ั นาอย่างเป็ นระบบที่ตอ่ เนื่อง 9.2 ผลการตรวจสอบซ ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง Best Practice ผลการประเมินพบว่า
10 ทัง้ 5 ส่วนประกอบมีความสาคัญ ต้ องพัฒนาไปพร้ อม ๆ กัน สร้ างให้ เกิดขึ ้นในตัวของครูและ นักเรี ยนดังนี ้ 1) มีหลักสูตรที่มีคณ ุ ภาพทุกกลุม่ สาระวิชา 2) มีการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ทุกกลุม่ สาระวิชา 3) มีการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ที่มีคณ ุ ภาพ มาตรฐาน ทุกกลุม่ สาระวิชา 4) มีการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมเพื่อการเรี ยนรู้มีคณ ุ ภาพและจานวนเพียงพอทุกกลุม่ สาระวิชา 5) มีการพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยนให้ มีคณ ุ ภาพ ส่งเสริมหลักสูตร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6) มีระบบนิเทศภายในสถานศึกษาที่มีคณ ุ ภาพทุกปี การศึกษา 10.การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practiceและการเผยแพร่ การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practiceและการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้ าง โรงเรี ยนได้ เผยแพร่ผา่ นทางเว็บไซด์ของโรงเรี ยน ตังแต่ ้ ปี 2555 จนถึงปั จจุบนั จัดนิทรรศการเผยแพร่ผ ลงาน วิชาการของโรงเรี ยนบ้ านวังลาน ได้ เผยแพร่เป็ นเอกสารไปยังโรงเรี ยนในศูนย์เครื อข่ายพัฒนา คุณภาพการศึกษาเกาะสาโรง โรงเรี ยนต่าง ๆ ใน อาเภอเมือง และสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
11 หมายเหตุ 1. อาจมีภาพถ่าย เอกสาร หลักฐาน หรื อผลงานประกอบ 2. กรุณาส่งทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ poopiyanard@gmail.com 3. ความยาวไม่เกิน ๒๐ หน้ า จัดส่งเป็ น ไฟล์ PDF