Best Practice ผอ.อัจฉรา รอดภัย

Page 1

ผลงานนวัตกรรม Best Practice

“ วิสัยทัศน์ พัฒนาโรงเรียนสู่ ความสาเร็จ ” ของ นางอัจฉรา รอดภัย ผู้อานวยการโรงเรียนบ้ านหนองหญ้ าปล้ อง

สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


๒ ผลงานนวัตกรรม Best Practice ๑. ชื่อผลงาน BP วิสยั ทัศน์ พัฒนาโรงเรี ยนสู่ความสาเร็ จ ด้ าน บริ หารจัดการศึกษา ๒. ข้ อมูลทั่วไปของผู้พฒ ั นา BP ๒.๑ ชื่อผู้พฒ ั นา BP นางอัจฉรา รอดภัย ๒.๒ โรงเรียน บ้านหนองหญ้าปล้อง เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา จรเข้เผือก ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘๕ – ๒๙๙๓๑๐๗ E-mail : adchara_7721@hotmail.co.th ๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP เพื่อพัฒนาโรงเรี ยนให้ครบทุกด้าน ดังนี้ - พัฒนาตนเอง - พัฒนาบุคลากรทุกคนที่อยูใ่ นโรงเรี ยน - พัฒนางานทั้ง 4 ฝ่ ายโดยใช้การกระจายอานาจ - สร้างความร่ วมมือระหว่างชุมชน เครื อข่ายต่างๆ - พัฒนาโรงเรี ยนให้ได้รับมาตรฐานต่างๆ ตามที่หน่วยงานต้นสังกัดกาหนด และตามศักยภาพของ โรงเรี ยนที่สมควรจะได้รับ(มาตรฐานสากล) ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ปี การศึกษา ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ ๕. ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้ นของ สพป./สพฐ./ สถานศึกษา วิสัย ทั ศ น์ : โรงเรี ยนบ้านหนองหญ้า ปล้องเป็ นผูน้ าการเรี ยนรู้ ข องชุ มชน บริ ห ารจัด การแบบมี ส่วนร่ วมอย่างเป็ นระบบ บุคลากรมีคุณภาพ นักเรี ยนยึดหลักคุณธรรม นาความรู้ควบคู่เทคโนโลยี ดาเนิ นวิถี ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ ๑. จัดส่งเสริ มสนับสนุนการศึกษาให้แก่ชุมชน ๒. สนับสนุ น ให้บุค ลากรทางการศึก ษา ผูป้ กครอง คณะกรรมการสถานศึก ษา ผูน้ าชุ มชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องอื่น ๆ มีส่วนร่ วมในการบริ หารจัดการ ๓. ส่งเสริ มให้บุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและเต็มตามศักยภาพ


๓ ๔. ส่งเสริ มให้ผเู้ รี ยนมีคุณธรรม จริ ยธรรม และดารงชีวิตอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุข ๕. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็ นไป ตามเกณฑ์มาตรฐานระดับชาติ ๖. จัดส่งเสริ มสนับสนุนให้ผเู้ รี ยนแสวงหาความรู้โดยใช้เทคโนโลยี ๗. ผูเ้ รี ยนมีจิตสานึกอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย แผนกลยุทธ์ ของสถานศึกษา กลยุทธ์ ๑ ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทวั่ ถึง ชุมชนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มศักยภาพ กลยุทธ์ ๒ พัฒนาประสิทธิภาพการบริ หารจัดการศึกษา เน้นการมีส่วนร่ วมจากทุกภาคฝ่ าย กลยุทธ์ ๓ พัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถจัดการเรี ยนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ กลยุทธ์ ๔ ปลูกฝั งคุณธรรม จริ ยธรรม ความสานึ กในความเป็ นไทยและวิถีชีวิต ตามหลั กปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ ๕ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรการส่งเสริ มความสามารถทาง เทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้ ตามนโยบายของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันศุกร์ ที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ โดยนโยบายด้านการศึกษาได้ กาหนดไว้ ใน ข้อ ๔ คื อ การศึก ษาและเรี ยนรู้ การทานุ บารุ งศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม รัฐบาลจะน า การศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ความภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์ และความเป็ นไทยมาใช้สร้างสังคมให้ เข้มแข็งอย่างมีคุณภาพ และคุณธรรมควบคู่กนั โดยมีขอ้ ที่เชื่อมโยงกับ BP นี้ คือ จัดให้มีการปฏิรูปการศึกษา และการเรี ยน เพื่อสร้างคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรี ยนรู้ พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ พัฒนาคนทุกช่วง วัยโดยส่งเสริ มการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต พัฒนาครู ที่มีคุณภาพและจิตวิญญาณของความเป็ นครู ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีทนี่ ามาใช้ ในการพัฒนา BP แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP คือ ๑. การบริ หารแบบมีส่วนร่ วม (Participative Management) หมายถึง การบริ หารโดยให้บุคคลใน องค์กรหรื อผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการตัดสินใจ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และความเชี่ยวชาญ ในการ บริ หารงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ หรื อแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากการบริ หารงาน ๒. การกระจายอานาจ ในการบริ หารจัดการในสถานศึกษา คือ การมีอานาจร่ วมกันเป็ นรู ปแบบของ ประสิทธิภาพที่เพิ่มประสิทธิผลของการบริ หารจัดการงบประมาณในระบบการศึกษา ๓. การสร้างเครื อข่าย ประสานความร่ วมมือภาคีเครื อข่าย สนับสนุนให้ กลุ่มและเครื อข่ายต่าง ๆ อันได้แก่ เครื อข่ายส่งเสริ มประสิทธิภาพการศึกษา ศูนย์พฒั นาการเรี ยนรู้ และศูนย์เครื อข่ายแกนนาต่าง ๆ ได้ ประสานความร่ วมมือให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลกันในการดาเนินการเร่ งรัดพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะ การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนทั้งในระดับสถานศึกษาและระดับชาติ


๔ ๔. จิตวิญญาณความเป็ นครู ครู ที่แท้จริ งต้องเป็ นผูท้ าดี หมัน่ เพียรขยัน อุตสาหะ เอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ และ เสียสละ สารวมระวังความประพฤติปฏิบตั ิของตนให้อยูใ่ นระเบียบแบบแผนที่ดีงาม รวมทั้งต้องซื่อสัตย์ รักษา ความจริ งใจ วางใจเป็ นกลาง ไม่ปล่อยไปตามอานาจอคติ ๕. กระบวนการทางาน แบบ PDCA ของเดมมิ่ง PDCA คือ วงจรที่พฒั นามาจากวงจรที่คิดค้นโดยวอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท(Walter Shewhart ) ผูบ้ ุกเบิกการใช้สถิติสาหรับวงการอุตสาหกรรมและต่อมาวงจรนี้เริ่ มเป็ นที่รู้จกั กันมากขึ้นเมื่อ เอดวาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) ปรมาจารย์ดา้ นการบริ หารคุณภาพเผยแพร่ ให้เป็ นเครื่ องมือสาหรับการปรับปรุ ง กระบวนการทางานของพนักงานภายในโรงงานให้ดียงิ่ ขึ้น และช่วยค้นหาปัญหาอุปสรรคในแต่ละขั้นตอนการ ผลิตโดยพนักงานเอง จนวงจรนี้เป็ นที่รู้จกั กันในอีกชื่อว่า “วงจรเด็มมิ่ง” ต่อมาพบว่า แนวคิดในการใช้วงจร PDCA นั้นสามารถนามาใช้ได้กบั ทุกกิจกรรม จึงทาให้เป็ นที่รู้จกั กันอย่างแพร่ หลายมากขึ้น ทัว่ โลก PDCA เป็ นอักษรนาของศัพท์ภาษาอังกฤษ ๔ คา คือ P : Plan D : Do C : Check A : Action

= = = =

วางแผน ปฏิบตั ิตามแผน ตรวจสอบ / ประเมินผลและนาผลประเมินมาวิเคราะห์ ปรับปรุ งแก้ไขดาเนินการให้เหมาะสมตามผลการประเมิน

๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ - ผูพ้ ฒั นา BP - บุคลากรทุกคนในโรงเรี ยน คือ ครู ครู อตั ราจ้าง พนักงานราชการ ธุรการโรงเรี ยน นัก การ ภารโรง และนักเรี ยน - ชุมชนโดยรอบโรงเรี ยน และใกล้เคียง


๕ ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP

START

พัฒนาตน พัฒนาคน พัฒนางาน ประสานเครือข่ าย

กระจายอานาจ

สู่ มาตรฐาน (สากล)

FINISH


๖ ๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP นาระบบการนิเทศ กากับ ติดตามผลมาใช้ โดยมีผบู้ ริ หารเป็ นผูด้ าเนินการ ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ ประโยชน์ ๑. ประชุมชี้แจงคณะครู และบุคลการในสถานศึกษา ให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการนา วิสยั ทัศน์ในการบริ หารของผูอ้ านวยการมาใช้ในการพัฒนาโรงเรี ยนสู่ความสาเร็ จในด้านต่างๆ ๒. คณะครู และบุคลากรในสถานศึกษาทุกคน ดาเนินงานตามแผนงานที่ผอู้ านวยการได้ วางแผนไว้ ๓. ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนกากับ นิเทศติดตามผลการดาเนินงาน และนาผลมาปรับปรุ งให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึน้ จากการพัฒนา BP ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ - ผูบ้ ริ หารได้รับรางวัลอย่างน้อย ๑ รางวัล ในระดับต่างๆ ทุกปี การศึกษา - ครู ได้รับรางวัลอย่างน้อย ๑ รางวัล ในระดับต่างๆ ทุกปี การศึกษา - นักเรี ยนได้รับรางวัลอย่างน้อย ๑ รางวัล ในระดับต่างๆ และมีผลสัมฤทธิ์ที่ดีข้ ึนทุก ปี การศึกษา - โรงเรี ยนได้รับรางวัลอย่างน้อย ๑ รางวัล ในระดับต่างๆ และผ่านการประเมิน ตามที่หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานอืน่ ๆ มาประเมิน ทุกปี การศึกษา ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ - ชุมชน ผูป้ กครอง ให้ความร่ วมมือในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรี ยนเป็ น อย่างดี ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกีย่ วข้ องต่อ BP - ผูบ้ ริ หาร คณะครู และบุคลากรในโรงเรี ยน นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อผลสาเร็ จที่ ได้รับ คิดเป็ นร้อยละ ๙๕ โดยใช้แบบสอบถาม - คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง และบุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีความพึงพอใจ ต่อการบริ หารโรงเรี ยนของผูอ้ านวยการโรงเรี ยน ที่ใช้วิสยั ทัศน์น้ ี คิดเป็ นร้อยละ ๙๐ โดยใช้แบบสอบถาม ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์การเรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ความร่ วมมือของคณะครู และบุคลากรในโรงเรี ยน รวมถึงผูป้ กครอง ชุมชน และ นักเรี ยน


๗ ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP ตรวจสอบตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ในแต่ละขั้นตอน เป็ นระยะ และถ้ามีปัญหา เข้าปรับปรุ งและแก้ไขทันที โดยหาวิธีการใหม่ เพื่อดาเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่วางไว้ ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพือ่ การพัฒนาและปรับปรุง BP ผลงาน รางวัล ผลการประเมินของโรงเรี ยน ผูบ้ ริ หาร ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรี ยน และชุมชนในแต่ละปี การศึกษา ๑๐. การประชาสัมพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง ทุกปี การศึกษาจะดาเนินการแจ้งผลการดาเนินงานของโรงเรี ยนให้คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน ผูป้ กครอง และชุมชน รับทราบ และชื่นชมกับผลการดาเนินงานในด้านต่างๆ เช่น ผลการประเมิน สถานศึกษา รางวัลของโรงเรี ยน ผูบ้ ริ หาร ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรี ยน โดยผ่านการประชุม วารสาร ของโรงเรี ยน ป้ ายนิเทศหน้าโรงเรี ยน เว็บไซต์ของโรงเรี ยน ตามความเหมาะสม


ภาคผนวก


๙ วิสัยทัศน์ ทเี่ ป็ น แนวคิดในการพัฒนาสถานศึกษา สู่ ความสาเร็จจนเป็ น Best Practice

“ พัฒนาตน พัฒนาคน พัฒนางาน ประสานเครือข่ าย กระจายอานาจ สู่ มาตรฐานสากล ” การศึกษาในปัจจุบนั นี้มกี ารเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา เพื่อสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของ โลกที่ไม่หยุดนิ่ง ดังนั้นในวงการศึกษาของเราก็ตอ้ งมองให้รอบด้าน ทันต่อเหตุการณ์ทุกอย่าง เพื่อพัฒนาให้ เด็กไทยได้รับความรู้ เพื่อพัฒนาประเทศต่อไป ซึ่งเด็กนักเรี ยนในวันนี้ค่อนข้างอยูใ่ นภาวะเสี่ยง ไม่ว่าจะเสี่ยง ต่อสิ่งแวดล้อมที่ไม่ดี เสี่ยงต่อภาวะครอบครัวที่แตกแยก ดังนั้นในฐานะที่เป็ นผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ควรมี ทิศทางในการพัฒนาการศึกษา โดยเริ่ มจากพัฒนาตนเอง พัฒนาบุคลากร พัฒนาครู พัฒนานักเรี ยน ควบคู่กนั ไปอย่างเป็ นระบบ โดยเริ่ มจาก การพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถในการบริ หารงาน โดยการศึกษาหา ความรู้ ค้นคว้า เข้าประชุมทางวิชาการ อบรม สัมมนา และวิธีอื่นๆ ตามความเหมาะสม และนาความรู้ที่ได้มา รวบรวม ประมวลผลความรู้ เพื่อพัฒนาองค์กรต่อไป นาความรู้ที่ได้รับมาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคลากร ในสถานศึกษา พัฒนาโดยนาหลักการบริ หารโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน บริ หารแบบการกระจายอานาจในงาน ทั้ง ๔ งานหลัก คือ งานบริ หารวิชาการ งานบริ หารบุคลากร งานบริ หารงบประมาณ และงานบริ หารทัว่ ไป โดยใช้หลักการพื้นฐาน คือ กระจายอานาจสู่บุคลากรทุกคน บริ หารแบบมีส่วนร่ วม จะทาให้บุคลากรทุก คนทางานอย่างมีความสุข และเต็มความสามารถ การพัฒนาตนเอง ข้าพเจ้าได้เข้ารับการอบรม ประชุม ศึกษาดูงานจากหน่วยงานใน ต้นสังกัด และหน่วยงานอื่นๆ ตามความเหมาะสมดังนี้ ที่

วัน เดือน ปี

๑ ๒

๒-๖ , ๙-๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๓ ๒๐-๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๓

๒๓-๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๔

ชื่อหลักสู ตร การอบรม/ ประชุม /ศึกษา ดูงาน อบรมผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ตาม โครงการพัฒนาครู ท้งั ระบบ ศึกษาดูงานโรงเรี ยนอนุบาลลพบุรี และโรงเรี ยนพิบูลย์วิทยาลัย ตาม โครงการยกระดับคุณภาพครู และ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาทั้งระบบ การพัฒนาครู ปฐมวัยโดยกลุ่ม เครื อข่ายส่งเสริ มคุณภาพการจัด การศึกษาตามโครงการยกระดับ คุณภาพทั้งระบบ

สถานที่ โรงแรมโกลเด้น บีช ชะอา จ.เพชรบุรี โรงเรี ยนอนุบาลลพบุรีและ โรงเรี ยนพิบูลย์วิทยาลัย จังหวัดลพบุรี โรงแรมริ เวอร์แคว จ.กาญจนบุรี และศึกษาดูงาน โรงเรี ยนอนุบาลสุพรรณบุรี


๑๐ ที่

วัน เดือน ปี

๒๔-๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔

๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๔

๒๐-๒๓ กันยายน ๒๕๕๔

๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

๒๖-๒๗ มีนาคม ๒๕๕๕

๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓

๑๔

ชื่อหลักสู ตร การอบรม/ ประชุม /ศึกษา ดูงาน การเสริ มสร้างความรู้ดา้ นกฎหมาย การศึกษาเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูป การศึกษา และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการบริ หารจัดการศึกษา การสัมมนาการพัฒนาบุคลากร เครื อข่ายพัฒนาคุณภาพฯ จระเข้ เผือก การประชุมปฏิบตั ิการศึกษาดูงาน พัฒนาศักยภาพเชิงวิชาการสาหรับ ผูบ้ ริ หาร โครงการสมัชชาการขับเคลื่อนการ ปฏิรูปการศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี

สถานที่ โรงแรมริ เวอร์ อ.เมือง จ.นครปฐม

โรงแรมราชศุภมิตร จ.กาญจนบุรี จังหวัดชลบุรี และจังหวัด ระยอง วิทยาลัยอาชีวกาญจนบุรี ร่ วมกับ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ โรงเรี ยนนายร้อยพระ จุลจอมเกล้า จ.นครนายก โครงการพัฒนาครู ท้งั ระบบ

ศึกษาดูงานโรงเรี ยนนายร้อยพระ จุลจอมเกล้า จ.นครนายก ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๕ เข้าฝึ กอบรมพัฒนาด้วยระบบ eTrainning ผ่านจานวน 8 หลักสูตร ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๕ เข้าค่ายวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อ การศึกษากาญจนบุรี ๑๐-๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕ วิทยากรค่ายคุณธรรม จริ ยธรรม วัดหนองหญ้าปล้อง ๒๑-๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖ การฝึ กทักษะทางภาษา สพป.กจ.๑ ๑๖-๑๗ กันยายน ๒๕๕๖ การอบรมเชิงปฏิบตั ิการเสริ มสร้าง สพป.กจ.๑ ประสิทธิภาพการบริ หารเชิงกลยุทธ์ สาหรับสถานศึกษา ๒๖-๒๘ เมษายน ๒๕๕๗ การประชุมพัฒนาศักยภาพผูบ้ ริ หาร สพฐ. โรงเรี ยนการศึกษาภาคบังคับ หรื อ โรงเรี ยนขยายโอกาส


๑๑ ที่

วัน เดือน ปี

๑๕

๒๔-๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๗

๑๖

๒๖-๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๗

ชื่อหลักสู ตร สถานที่ การอบรม/ ประชุม /ศึกษา ดูงาน การอบรมโครงการประชุมเชิง สพป.กจ.๑ ปฏิบตั ิการ: การพัฒนาทักษะการ อ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความ โดยใช้รูปแบบพหุระดับ โครงการประชุมเชิงปฏิบตั ิการ สพฐ. โครงการเสริ มสร้างคุณธรรม จริ ยธรรม และธรรมาภิบาลใน สถานศึกษา “ป้ องกันการทุจริ ต” เครื อข่าย “โรงเรี ยนสุจริ ต”

เมื่อบุคลากรมีกาลังใจในการทางานแล้ว ผูบ้ ริ หารก็ดาเนินการพัฒนาครู หรื อบุคลากรในโรงเรี ยน ต่อไป โดยยึดหลักพัฒนาให้เต็มศักยภาพ เริ่ มจากให้คาปรึ กษา แนะนา ช่วยแก้ปัญหากับครู ในการร่ วมงาน ต่างๆ ร่ วมคิด ร่ วมทา ร่ วมตัดสินใจทุกครั้งในกระบวนการพัฒนาบุคลากรของโรงเรี ยน โดยพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างให้กบั บุคลากรในโรงเรี ยน พยายามส่งเสริ ม สนับสนุน และให้โอกาสครู ได้ พัฒนาในรู ปแบบต่างๆ ตามความเหมาะสม ให้โอกาสครู แสดงความสามารถตามที่ถนัด และมุ่งพัฒนาครู ใน ด้านการจัดการเรี ยนการสอนเพื่อผลสัมฤทธิ์ที่ดีของผูเ้ รี ยน โดยเน้นองค์ประกอบ ๕ ส่วน คือ ๑. การให้ความรู้ครู เกี่ยวกับการออกแบบการเรี ยนรู้แบบอิงมาตรฐาน (Backward Design) ๒. การพัฒนาสื่อการเรี ยนการสอนที่เน้นการพัฒนาการทางสมอง (BBL) ๓. การส่งเสริ มให้ครู ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรี ยนการสอน (ICT) ๔. ส่งเสริ มให้ครู ทาวิจยั ในชั้นเรี ยน เพื่อแก้ไขปัญหานักเรี ยนเป็ นรายบุคคล ๕. พัฒนาความรู้ของนักเรี ยนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญควบคู่ไปกับการสอดแทรกคุณธรรม จริ ยธรรมตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เมื่อผูบ้ ริ หาร และครู ได้รับการพัฒนาทั้งในด้านความรู้ ความสามารถแล้ว ก็นาความรู้ ความสามารถนั้นมาพัฒนาผูเ้ รี ยนต่อไป โดยผูเ้ รี ยนนั้นจะเป็ นภาพสะท้อนให้เห็นว่าการบริ หารของโรงเรี ยน ประสบผลสาเร็ จมากหรื อน้อยเพียงใด ผูเ้ รี ยนเป็ นตัวชี้วดั ที่สาคัญ ต้องพัฒนาอย่างเป็ นระบบ และต่อเนื่อง โดย เริ่ มจาก ให้ผเู้ รี ยนมีความรู้ค่คู ุณธรรม พัฒนาการเรี ยนไปพร้อมกับคุณธรรมตามวิสยั ทัศน์ของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พัฒนาบรรยากาศ สิ่งแวดล้อม แหล่งเรี ยนรู้ท้งั ภายใน และภายนอก ให้เหมาะสม และส่งเสริ มการเรี ยนการสอนของผูเ้ รี ยน เช่น พัฒนาห้องปฏิบตั ิการต่างๆ ห้องสมุดโรงเรี ยน ห้องเรี ยน ICT แหล่งเรี ยนเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นต้น เด็กในโรงเรี ยนมีหลาย ประเภท และหลากหลายต่อการดูแล ควรมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนที่เข้มแข็ง เพื่อช่วยแก้ไขปัญหา และส่งเสริ มเด็กได้ทนั เวลา จัดทาโครงการส่งเสริ มผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถพิเศษ และด้อยโอกาสอย่างทัว่ ถึง


๑๒ การพัฒนาผูบ้ ริ หาร พัฒนาครู และพัฒนาผูเ้ รี ยนนั้นเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญในการขับเคลื่อนให้ การศึกษาของไทยเจริ ญก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล อย่างยัง่ ยืน และต่อเนื่อง จะทาให้ ประเทศไทยมีการศึกษาที่ไม่นอ้ ยหน้าประเทศอื่น เพียงทุกคนในวงการศึกษาไทยมีความตั้งใจ มุ่งมัน่ และ สามัคคีกนั การศึกษาไทยก็จะได้รับการพัฒนาอย่างถูกวิธี ปัญหาทุกอย่างหมดไป การศึกษาก็จะดาเนินไป ด้วยดีต่อไปเช่นกัน เมื่อผูบ้ ริ หาร บุคลากรทุกฝ่ ายพร้อม การดาเนินการต่อไปก็มุ่งสู่การพัฒนางานให้ได้มาตรฐาน (สากล) โดยเริ่ มต้นจากการบริ หารงานแบบมีส่วนร่ วม ทุกฝ่ ายได้เสนอแนวคิด แสดงความคิดเห็น มีการ ตัดสินใจร่ วมกัน ยอมรับต่อผลที่จะเกิดขึ้นจากการตัดสินใจร่ วมกัน มีการทางานเป็ นทีม ติดตาม กากับการ ปฏิบตั ิงานอย่างต่อเนื่อง การบริ หารโดยใช้โรงเรี ยนเป็ นฐาน มีการระดมผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูท้ ี่มีประสบการณ์มาร่ วม กันจัดการศึกษา สร้างขวัญและกาลังใจให้กบั บุคลากร มีการระดมทรัพยากร ส่งเสริ มภาวะผูน้ าให้กบั ทุ กคน ในโรงเรี ยน ให้ทุกคนมีความรู้สึกว่าทุกคนเป็ นเจ้าของโรงเรี ยน ในการบริ หารงานปัจจุบนั นี้ไม่สามารถอยูไ่ ด้เพียงลาพัง ต้องมีการสร้างเครื อข่าย ประสานงานกับ องค์กรต่างๆ เพื่อทาให้การดาเนินงานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ซึ่งการบริ หารงานใน โรงเรี ยนปัจจุบนั นี้จะพัฒนากันเองภายในโดยใช้บุคลากรในโรงเรี ยนเพียงอย่างเดียวคงไม่ได้ และยังถือว่าเป็ น การบริ หารงานที่เสี่ยง ดังนั้นในการบริ หารงานของโรงเรี ยนต้องมองปัจจัยภายนอก ประสานความร่ วมมือกับ องค์กรภายนอกด้วย โดยเริ่ มจากปัจจัยที่ใกล้ตวั ของโรงเรี ยนที่สุด นั้นก็คือ ผูป้ กครอง เช่น การแต่งตั้ง คณะกรรมการผูป้ กครองเครื อข่าย โดยผูป้ กครองสามารถให้คาแนะนาเกี่ยวกับโรงเรี ยนในภาพรวมต่างๆ ได้ ดึงชุมชนมาเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ให้นกั เรี ยน ประสานกับโรงเรี ยนข้างเคียงเป็ นโรงเรี ยนพี่โรงเรี ยนน้องกัน ประสานกับโรงเรี ยนในระดับที่สูงกว่าในจังหวัดเดี ยวกัน โรงเรี ยนในกรุ งเทพมหานคร โรงเรี ยนใน ต่างจังหวัด หรื อถึงระดับต่างประเทศก็ได้ เพื่อให้เป็ นโรงเรี ยนพี่เลี้ยงในการจัดการเรี ยนการสอน การพัฒนา บุคลากร เป็ นต้น เมื่อโรงเรี ยนมีเครื อข่ายทุกที่แล้วนั้น ทาให้การขอความร่ วมมือในการดาเนินงานของ โรงเรี ยนเป็ นไปโดยง่าย และสาเร็ จลุล่วงด้วยดีตามมา ในส่วนของการกระจายอานาจนั้น ถือเป็ นการบริ หารงานที่ดี โรงเรี ยนมีอานาจในการบริ หาร จัดการได้เองหลายๆ อย่าง และแบ่งภาระงานได้อย่างชัดเจน คือ แบ่งงานออกเป็ น ๔ ฝ่ าย ประกอบด้วย งาน บริ หารวิชาการ งานบริ หารงบประมาณ งานบริ หารบุคคล และงานบริ หารทัว่ ไป ทาให้ผบู้ ริ หารสามารถนิเทศ ติดตามงานได้ ในการดาเนินการต่างๆ ตามแนวคิดในการพัฒนาสถานศึกษา และการบริ หารสถานศึกษานั้น ทุก ส่วนต้องมีการวางแผนพัฒนา และดาเนินการ ประเมินผล นาผลกลับมาเป็ นแนวทางในการพัฒนาสถานศึกษา ต่อไป


๑๓ รางวัลที่ภาคภูมใิ จของสถานศึกษา นักเรียน ๑. รางวัลระดับเหรี ยญทอง ชนะเลิศ กิจกรรม การสร้างการ์ตนู แอนิเมชัน่ ระดับชั้น ม.๑ – ม.๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ครั้งที่ ๖๒ ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๕ ๒. รางวัลระดับเหรี ยญทอง รองชนะเลิศอันดับ ๑ กิจกรรม การแข่งขันแปรรู ปอาหาร ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ครั้งที่ ๖๒ ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๕ ๓. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรม การสร้างการ์ตูนแอนิเมชัน่ ระดับชั้น ม.๑ – ม.๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๒ ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๕ ๔. รางวัลระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรม โครงงานวิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ม.๑ – ม.๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๒ ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๕ ๕. รางวัลระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรม โครงงานคณิ ตศาสตร์ ระดับชั้น ม.๑ – ม.๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๒ ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๕ ครู และบุคลากรทางการศึกษา ๑. นางณิ ชาภัทร เส็งเครื อ ได้รับโล่ยกย่องเชิดชูเกียรติผปู้ ฏิบตั ิงานด้านยาเสพติดที่เสี่ยงภัยและ เสียสละเวลาในการดูแลนักเรี ยน จาก กระทรวงศึกษาธิการ ๒. นางสาวอารี ย ์ หลักศิลา ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ การประกวดรู ปแบบการปฏิบตั ิที่ เป็ นเลิศ (Best Practice) ระดับปฐมวัย ปี การศึกษา ๒๕๕๕ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ๓. นายณัฐภัทร์ ตวันคา ได้รับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (Obec Awards) ปี การศึกษา ๒๕๕๕ ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก รางวัลชมเชย ประเภทครู ผสู้ อนยอดเยีย่ ม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่ม สาระการเรี ยนรู้คณิตศาสตร์ ด้านวิชาการ ๔. นางณิ ชาภัทร เส็งเครื อ ได้รับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (Obec Awards) ปี การศึกษา ๒๕๕๕ ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก รางวัลชมเชย ประเภทครู ผสู้ อนยอดเยีย่ ม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่ม สาระการเรี ยนรู้ภาษาไทย ด้านบริ หารจัดการ สถานศึกษา ๑. รับโล่ ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย ในพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี รับรองคุณภาพ ปี การศึกษา ๒๕๕๖ – ๒๕๕๘ ๒. ผ่านการประเมินเป็ นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรี ยนการสอนและการบริ หาร จัดการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง ๒๕๕๖” ๓. ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา รอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘) จากสานักงานรับรอง


๑๔ มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด้าน ปฐมวัย ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ๔. ได้รับรางวัลชนะเลิศในระดับภาคในการประกวดสถานศึกษาร่ วมใจ สร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ประจาปี ๒๕๕๖ ๕. ผ่านเกณฑ์การประเมินตามโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข ระดับ ดีเด่น อันดับ ๒ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๖. ได้รับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (Obec Awards) ปี การศึกษา ๒๕๕๕ ระดับภาคกลางและภาค ตะวันออก รางวัลชมเชย สถานศึกษายอดเยีย่ ม ประเภทประถมศึกษา ขนาดกลาง ผู้บริหารสถานศึกษา ๑. นางอัจฉรา รอดภัย เป็ นผูบ้ ริ หารดีเด่น ของกลุ่มเครื อข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาจรเข้เผือก ประจาปี การศึกษา ๒๕๕๖


๑๕ รูปภาพกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนทีด่ าเนินการตามวิสัยทัศน์ ของผู้บริหารสถานศึกษา

การประชุมพัฒนาศักยภาพผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน การศึกษาภาคบังคับ หรื อโรงเรี ยนขยายโอกาส

ร่ วมจัดนิทรรศการอาเซียนกับเครื อข่ายจรเข้เผือก

จัดนิทรรศการบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย ของเด็กปฐมวัย ประชุมรับเมล็ดพันธุพ์ ระราชทานไปปลูก ในโรงเรี ยน ของอาเภอด่านมะขามเตี้ย

นาครู ที่รับผิดชอบโครงการโรงเรี ยนสุจริ ตเข้ารับการ สัมมนารับความรู้เพื่อนาไปดาเนินการในโรงเรี ยน


๑๖

ศึกษาดูงาน

รับเกียรติบตั รสถานศึกษาพอเพียง

ครู ที่โรงเรี ยนรับเกียรติบตั ร Obec Awards นานักเรี ยนรับทุนการศึกษา ณ วัดหนองหญ้าปล้อง

รับการประเมินจากสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมกาญจนบุรี เขต ๑

รับโล่รางวัลชนะเลิศระดับภาคกลางจากกรมการขนส่ง


๑๗

รับงบประมาณสนับสนุนปรับปรุ ง ภูมิทศั น์ของโรงเรี ยน รับตราบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย

รับพันธุป์ ลาดุกไปเลี้ยงในโรงเรี ยน เพื่อโครงการอาหารกลางวัน

นานักเรี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมส่งเสริ มคณิ ตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์


๑๘

นาคณะครู รับความรู้ดา้ นการสอนแบบพหุระดับ

จัดกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด

นาคณะครู และนักเรี ยนเข้าค่ายธรรมะ

จัดพิธีวนั สถาปนาลูกเสือไทย

รับเกียรติบตั รผูบ้ ริ หารดีเด่นของเครื อข่าย

นาคณะครู ศกึ ษาดูงานเกี่ยวกับ BBL


๑๙

ร่ วมกับชุมชนพัฒนานักเรี ยนให้ห่างไกลยาเสพติด


๒๐


๒๑

“สามัคคี คือ พลัง ทุกความสาเร็จย่อมเป็ นของทุกคน”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.