ฺBest Practice นายโชค เอียดช่วย ผอ.ร.ร.บ้านห้วยน้ำขาว

Page 1

แบบสรุปผลการปฏิบัตงิ านที่เปนเลิศ Best Practice (BP)

๑. ชื่อผลงาน BP.รูปแบบการบริหารจัดการ “เทคโนฯสรางสรรค การศึกษากาวไกล” ชื่อรางวัลที่เสนอขอ ผูอํานวยการสถานศึกษาขยายโอกาสทางการศึกษา ดาน นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอน ๒. ขอมูลทั่วไปของผูพัฒนา BP ชื่อผูพัฒนา BP นายโชค เอียดชวย ตําแหนง ผูอํานวยการชํานาญการพิเศษ โรงเรียนบานหวยน้ํา ขาว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี โทรศัพท 081-5261239 e-mail : chok_9@yahoo.com Line ID : chokkan2555 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๓. เปาหมาย/วัตถุประสงคของการพัฒนา BP เปาหมายคือ สงเสริมใหผูใชโทรสมารทโฟน และแท็บเล็ต ไดใชโทรศัพทสมารทโฟน และ แท็บเล็ตไดใชในเชิงสรางสรรค เกิดประโยชนสรางศักยภาพทางการศึกษาใหเพิ่มขึ้น วัตถุประสงค ๑) เพื่อใหทุกฝายที่เกี่ยวของเปนผูมีสวนไดสวนเสียทางการศึกษาเขามามีสวนรวมในการ ใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) ในเชิงสรางสรรค ๒) เพื่อสงเสริมใหผูที่ใชโทรศัพท smartphone ไดใชโทรศัพทในเชิงสรางสรรค ๓) เพื่อสรางความตระหนักในการใชโทรศัพท smartphone เชิงสรางสรรค ๔) เพื่อนําแท็บเล็ต (Tablet) ที่รัฐจัดสรรใหไปใชใหเกิดความคุมคา ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ป พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖ ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธระหวาง BP กับเปาหมาย/จุดเนนของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา ของ สพฐ. ดานผูเรียน ๑.๒ นั กเรีย นมี คุณ ธรรม จริ ยธรรม รั กความเปน ไทย หา งไกลยาเสพติด มี คุณลัก ษณะและทัก ษะทางสั งคมที่ เหมาะสม  นักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 1-3 ใฝดี 

นักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 4-6 ใฝเรียนรู

๑.๓ นักเรียนที่มีความตองการพิเศษไดรับการสงเสริม และพัฒนาเต็มศักยภาพ  เด็กพิการไดรับการพัฒนาศักยภาพเปนรายบุคคลดวยรูปแบบที่หลากหลาย 

เด็กดอยโอกาสไดรับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร และอัต ลักษณแหงตน

โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๑


นักเรียนที่มคี วามสามารถพิเศษ ไดรับการสงเสริมใหมเี ปนเลิศ ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี พื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร คณิตศาสตร ภาษา กีฬา ดนตรี และศิลปะ

นิยามศัพท โทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) หมายถึง โทรศัพทมือถือที่นอกเหนือจากใชโทรออก-รับสาย แลวยังมีแอพพลิเคชั่นใหใชงานมากมาย สามารถรองรับการใชงานอินเทอรเน็ตผาน 3G, Wi-Fi และสามารถ ใชงานโซเชียลเน็ตเวิรคและแอพพลิเคชั่นสนทนาชั้นนํา เชน LINE, Youtube, Facebook, Twitter ฯลฯ โดย ที่ผูใชสามารถปรับแตงลูกเลนการใชงานสมารทโฟนใหตรงกับความตองการไดมากกวามือถือธรรมดา ผูผลิตสมารทโฟนรุนใหมๆ นิยมผลิตสมารทโฟนที่มีหนาจอระบบสัมผัส, ใสกลองถายรูปที่มีความละเอียด สูง, ออกแบบดีไซนใหสวยงามทันสมัย, มีแอพพลิเคชั่นและลูกเลนที่นาสนใจ (http://news.siamphone.com/news-14121.html) แท็บเล็ต (Tablet) หมายถึง อุปกรณคอมพิวเตอรที่มีหนาจอระบบสัมผัสขนาดใหญ มีขนาด หนาจอตั้งแต 7 นิ้วขึ้นไป พกพาไดสะดวก สามารถใชงานหนาจอผานการสัมผัสผานปลายนิ้วไดโดยตรง มี แอพพลิเคชั่นมากมายใหเลือกใช ไมวาจะรับ-สงอีเมล, เลนอินเทอรเน็ต, ดูหนัง, ฟงเพลง, เลนเกม หรือ แมกระทั่งใชทํางานเอกสารออฟฟต ขอดีของแท็บเล็ตคือมีหนาจอที่กวาง ทําใหมีพื้นที่การใชงานเยอะ มี น้ําหนักเบา พกพาไดสะดวกกวาโนตบุคหรือคอมพิวเตอร สามารถจดบันทึกหรือใชเปนอุปกรณเพื่อ การศึกษาไดเปนอยางดี (http://news.siamphone.com/news-14121.html) App QR Droid หมายถึง โปรแกรมประยุกตที่นําไปติดตั้งใชกับโทรศัพทที่มีระบบปฏิบัติการเปน Android มีคุณสมบัติทําใหกลองถายรูปบนมือถือเปนเครื่องอานรหัสบารโคดได Account หมายถึง การสรางบัญชีผูใช หรือ การลงทะเบียนเปนผูใช ในเว็บไซด youtube เพื่อใหมี สิทธิในการใชประโยชนเว็บไซด Youtube ได คิวอารโคด (QR Code : Quick Response) หมายถึง รหัสบารโคด 2 มิติ ชนิดหนึ่งซึ่งสามารถเก็บ ขอมูลสินคา เชน ชื่อ ราคาสินคา เบอรโทรศัพทติดตอ และชื่อเว็บไซต เปนการพัฒนามาจาก บารโคด โดย บริษัทเดนโซ-เวฟ ซึ่งเปนบริษัทในเครือของโตโยตา ประเทศญี่ปุน คิดคนขึ้นในป ค.ศ. 1994 และไดจด ทะเบียนลิขสิทธิ์ชื่อ "QR Code" แลวทั้งในญี่ปุน และทั่วโลก ผูคิดคนที่พัฒนาคิวอารโคดมุงเน นให สามารถถอานไดอยางรวดเร็ว โดยการอานคิวอารโคด นิยมใชกับโทรศัพทมือถือ รุนที่มีกลองถายภาพ และ สามารถติดตั้งซอฟแวร เพิ่มเติมได (ที่มา : ดวงกมล นาคะวัจนะ , 2554, QR Code, วารสารประกาย ปที่ 8 ฉบับที่ 85 , หนา 36) ความเปนมาของนวัตกรรม ศ. น.พ.วิจารณ พานิช ไดกลาววา การศึกษาในศตวรรษที่ 21 เปนยุคที่คนทุกคนตองเรียนรูตั้งแต ชั้นอนุบาลไปจนถึงมหาวิทยาลัย และตลอดชีวิต คือ 3R x 7C โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๒


3R ไดแก(R)eading (อานออก), (W)Riting (เขียนได) และ (A)Rithmetics (คิดเลขเปน) 7C ไดแก Critical thinking & problem solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณ และทักษะใน การแกปญหา) Creativity & innovation (ทักษะดานการสรางสรรค และนวัตกรรม) Cross-cultural understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรม ตางกระบวนทัศน) Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทํางานเปนทีม และ ภาวะผูนํา) Communications, information & media literacy (ทักษะดานการสื่อสาร สารสนเทศ และ รูเทาทันสื่อ) Computing & ICT literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร) Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู) ซึ่งการดําเนินงานการศึกษาเพื่อใหเด็กยุคนี้มีคุณสมบัติดังกลาวขางตนนั้นสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษา แหงชาติที่กําหนดไว คือ มาตรฐานการจัดการศึกษา ตัวบงชี้ที่ ๗.๔ ครูใชสื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ผนวกกับการนํา บริบทและภูมิปญญาของทองถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู มาตรฐานการจัดการศึกษา ตัวบงชี้ที่ ๑๓.๑ มีการสรางและพัฒนาแหลงเรียนรูภายในสถานศึกษา และใชประโยชนจากแหลงเรียนรู ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา เพื่อพัฒนา การเรียนรูของผูเรียนและ บุคลากรของสถานศึกษา รวมทั้งผูที่เกี่ยวของ มาตรฐานการจั ด การศึ ก ษา ตั ว บ ง ชี้ ที่ ๑๓.๒มีก ารแลกเปลี่ ย นเรีย นรู ร ะหวา งบุ ค ลากรภายใน สถานศึกษา ระหวางสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองคกรที่เกี่ยวของ ซึ่งทา มกลางความเปลี่ ยนแปลงที่รวดเร็วของโลกในปจจุบัน มนุษยจึง มีค วามจําเปนอยางยิ่ง ที่ จะตองนําเครื่องมือที่ทันสมัยมาใชในการสื่อสาร โทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) เปนเครื่องมือสื่อสาร ชนิดหนึ่งที่นิยมใชกันสูงในปจจุบัน โดยเฉพาะอยางยิ่งเด็กที่อยูในวัยเรียนใชกันเปนแฟรชั่น แตดวยความ ไมเขาใจ หรือการรูไมเทาทันของผูใชสงผลใหเกิดปญหาตาง ๆ ตามมามากมาย และนับวันจะเพิ่มขึ้นอยาง รวดเร็ว ประกอบกั บ ผลการประเมิ น ภายนอกรอบสองทั้ ง ในระดั บ ปฐมวั ย และระดั บ ประถมศึ ก ษาและ มัธยมศึกษา เมื่อเดือนมกราคม ๒๕๕๒ สมศ.ไดใหขอเสนอแนะวา ทิศทางการพัฒนาในอนาคต

โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๓


“โรงเรียนควรพัฒนาการใชสื่อและเทคโนโลยีใหเกิดประโยชนแกผูเรียนใหมากขึ้น” (สํานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา ,๒๕๕๒ : ๓ ) ที่สําคัญยิ่งคือในบริบทที่ตั้งของโรงเรียนบานหวยน้ําขาวเปนชายแดนไทย-พมา พื้นที่เปน ปาภูเขาการเดินทางไปมาไมสะดวก ทําใหการสื่อสารโดยใชโทรศัพทสมารทโฟนเปนชองทางที่คุมคา ที่สุด เพราะเปนสื่อประเภทมัลติมีเดียมีทั้งภาพทั้งเสียง สามารถ รับ-สง ขอมูลทุกประเภทถึงกันไดอยาง รวดเร็ว และไดทุกเวลา (สัญญาณมือถือกระจายไดทั่วพื้นที่เขตบริการ) เพื่อเปนการปองกันปญหาที่จะเกิดเพิ่มขึ้นในอนาคตโรงเรียนบานหวยน้ําขาวจึงไดนําเอา โทรศัพทสมารทโฟนที่นักเรียนและคนในชุมชนใช (smartphone) มาเปนสื่อสรางสรรคในการจัด การเรียนรูรวมกัน ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นํามาใชในการพัฒนา Best Practice (BP) การพัฒนา Best Practice (BP) ในครั้งนี้ ไดสังเคราะหแนวคิด ดานการบริหาร แบบมี ส ว นร ว ม ด า นการจั ด การเรี ย นรู ที่ เ น น ผู เ รีย นเป น สํ า คั ญ โดยใชโ ทรศั พ ท smartphone เป น สื่ อ สรางสรรค สรุปได ดังนี้ ๑. การดําเนินงานการปฏิรูปการเรียนรูของโรงเรียนยึดหลักการและแนวคิดการบริหารแบบ มีสวนรวม ดานการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยใชโทรศัพท smartphone เปนสื่อ สรางสรรค ดังนี้ ๑.๑ แนวคิดดานการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และการปฏิรูปทุกฝายที่เกี่ยวของ คือ ตองสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาไปตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพของผูเรียน ดังสาระของการ จัดกระบวนการเรียนรูตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และแกไขเพิ่มเติม(ฉบับ ที่๒)พ.ศ.๒๕๔๕ ที่กําหนดไวในหมวด ๔ ตามมาตรา ๒๔ , ๒๕, ๒๙ ผูพัฒนาจึงไดวิเคราะหและ สรุปองคประกอบของดานการบริหารแบบมีสวนรวม ดานการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ ดานการจัดการเรียนรูจากแหลงเรียนรู และดานภูมิปญญาทองถิ่น ที่จะใชเปนแนวทางในการพัฒนา ครั้งนี้ ออกเปน 4 ดาน ไดแก ดานการจัดเนื้อหาสาระการเรีย นรู ดานการจัดสื่อและแหลงการ เรียนรู ดานการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม และดานความรวมมือกับชุมชนในการจัดการศึกษา ๑.๒ แนวคิดการปฏิรูปทั้งโรงเรียน เปนแนวคิดที่มุงเนนใหทุกฝายที่เกี่ยวของมีสวนรวม อยางเต็มที่ในการนําหลักการมีสวนรวมของผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกฝายโดยมีขั้นตอนที่สําคัญ ๔ ขั้นตอนคือ ๑) การรวมคิดและสรางจิตอาสา ๒) รวมวางแผนใชแหลงเรียนรูและภูมิปญญาทองถิ่น ๓) การรวมดําเนินการ ๔)รวมประเมินและเผยแพรประชาสัมพันธ โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๔


๑.๓ การใชกระบวนการวิจัย เปนเครื่องมือหลักในการพัฒนา การดําเนินงานที่สําคัญ แบงกระบวนการหลักเปน ๒ ขั้นตอนคือ ขั้นตอนการพัฒนา และขั้นตอนการวิจัย มีการดําเนินการ ตอเนื่องกันไป ๗. กระบวนการพัฒนา กลุมเปาหมายคือ บุคลากรของโรงเรียนบานหวยน้ําขาว และผูเกี่ยวของ ประกอบดวย ผูบริหาร ๑ คน ครู ๓๒ คน นักเรียน จํานวน ๕๕๓ คน ผูปกครองนักเรียนจํานวน ๓๗๙ คน คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน จํานวน ๑๕ คน ผูนําชุมชน จํานวน ๑๒ คน รวม ๙๘๕ คน ขั้นตอนการพัฒนา BP

โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๕


การออกแบบนวัตกรรม การใชสมารทโฟน (smartphone) และแท็บเล็ต เปนสื่อสรางสรรคผาน QR Code K - วิธีใชโทรศัพท - การใช App - วิธีถายภาพนิ่ง และวีดีโอ -วิธีดูแลบํารุงรักษาโทรศัพท

P

smartphone สื่อสารผาน QR Code

นักเรียน

-ใชโทรศัพทได -ใช App เปน -ดูแลบํารุงรักษาโทรศัพทได -ถายภาพนิ่ง และวีดีโอเป

ผูปกครอง

A - มีวิจารณญาณในการใช โทรศัพท

P

- มีความคิดสรางสรรค

A

การ บริหารงาน แบบมีสวน รวม

- มีจิตสาธารณะ

D

- มีความรับผิดชอบ

C

โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๖

ชุมชน


MODEL การพัฒนา

A

P

พัฒนาสูความยั่งยืน

๑. ศึกษาสภาพปญหาการใช smartphone ๒.จัดทําแผน

การบริหารงาน แบบมีสวนรวม C สํารวจความพึงพอใจ เปรียบเทียบกอน และหลัง การใชนวัตกรรม

D ๑.ประชุมชี้แจง ๒.สํารวจขอมูลผูใช ๓.สํารวจแหลงเรียนรู ๔.ศึกษาจากแหลงเรียนรู ๕.สรางแหลงเรียนรู ๖.แลกเปลี่ยนเรียนรู ๗.สรางนวัตกรรม ๘.สรางเครือขวยฯ

โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๗


วางแผน (Plan) ๑. ศึกษาสภาพปญหาของของการใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) ๒. จัดทําแผนการดําเนินงาน ๓. จัดตั้งคณะทํางาน การดําเนินงาน (Do) ๑. ประชุมชี้แจงคณะทํางานและมอบหมายความรับผิดชอบ ๒. สํารวจจํานวนผูใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) ๓. สํารวจแหลงเรียนรูในการโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) ๔. ศึกษาจากแหลงเรียนรู ๕. สรางแหลงเรียนรูการใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) ๖. แลกเปลี่ยนเรียนรูการใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) ๗. สรางนวัตกรรมนําเสนอผลงานสรางสรรคผานโทรศัพทสมารทโฟนโดยใช QR Code ๘. สรางเครือขายการใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) เชิงสรางสรรค ๙. จัดกิจกรรมประกวดการใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) เชิงสรางสรรค ตรวจสอบ (Check) ประเมินผลการดําเนินงาน ตรวจผลยอนกลับนําไปพัฒนา (Action) นําผลที่ไดไปพัฒนาสรางความยั่งยืนตอไป ตรวจสอบคุณภาพ BP (Check) ประเมินผลการดําเนินงาน โดยสํารวจจากความพึงพอใจของคนในชุมชน การสังเกต และ สัมภาษณนักเรียน แนวทางการนํา BP ไปใชประโยชน นวัตกรรมนี้เปนนวัตกรรมที่ใชงายและสะดวกเพราะใชทรัพยากรที่ใชเดิมอยูแลว content มีอยูใน Internet ใช Online ไดทําใหสามารถใชไดทั่ว ๆ ไป เพียงแตสราง QR CODE ขึ้นมาเพื่อนําไปใชโทรศัพท สมารทโฟน หรือแท็บเล็ต เชื่อมตอ Internet แลวไปสแกน CODE ก็สามารถเรียนรูไดอยางสะดวกสบายมี ภาพมีเสียงครบงายตอการเรียนรู โดยมีขั้นตอน คือ

โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๘


วางแผน (Plan) ๑. ศึกษาสภาพปญหาของของการใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) • สรางแบบสอบถามสภาพปญหาการใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) • มอบหมายใหคณะครู นักเรียน และคณะกรรมการสถานศึกษานําแบบสอบถามไป เก็บขอมูลและเก็บขอมูลสงคืนโรงเรียน • นําขอมูลไปประมวลผล • จัดทําแผนการดําเนินงาน การดําเนินงาน (Do) ๑. จัดตั้งคณะทํางานประกอบดวยผูบริหาร ครู ธุรการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการนักเรียน ผูนําชุมชน ๒. ประชุมชี้แจงคณะทํางานและมอบหมายความรับผิดชอบ ๓. สํารวจจํานวนผูใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) มอบหมายให ธุรการโรงเรียน สํารวจขอมูลการใชของบุคคลากรในโรงเรียน ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาเก็บ ขอมูลจากกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการนักเรียนเก็บขอมูลจากนักเรียน ผูใหญบาน เก็บขอมูลจากลูกบาน ๔. สํารวจแหลงเรียนรูในการโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) โดยมอบหมายใหครูเก็บ ขอมูลแหลงเรียนรูทั่วไป นักเรียน และผูนําชุมชน สํารวจแหลงเรียนรูในชุมชน ๕. ศึกษาจากแหลงเรียนรู ผูบริหารและคณะครูศึกษาจากแหลงเรียนรูทั่ว ๆ ไป นักเรียนและ ผูนําชุมชนเรียนรูจากแหลงเรียนรูในชุมชน ๖. สรางแหลงเรียนรูการใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) สรางแหลงเรียนรูที่โรงเรียน ประสานความขอรวมมือใหผูใหญบานสรางแหลงเรียนรูประจําหมูบาน และนายยก อบต. จัดแหลงเรียนรูที่ อบต. ๗. แลกเปลี่ย นเรีย นรูการใชโทรศัพ ทสมารทโฟน (smartphone) ใหทุกคนที่ไปเรียนรูม า แลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน

โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๙


๘. สรางนวัตกรรมนําเสนอผลงานสรางสรรคผานโทรศัพทสมารทโฟนโดยใช QR Code ประกอบดวย กิจกรรมจับดีคนรอบขาง คลิปคุณธรรม นักขาวนอย สมารทโฟนเฝาบาน เรียนรู online ฯลฯ มีขั้นตอน คือ  สราง Account ใน Youtube  นําสื่อที่สรางไวดวยโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) upload ขึ้น Youtube  นํา Link Youtube ไปสราง QR Code และทดสอบ Code  นํา App QR Droid ไปลงในเครื่องโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone)  เปด App QR Droid แลวใชกลองถายรูปของสมารทโฟน scan QR Code ก็จะเห็น สื่อสรางสรรคที่สรางไวนําเสนอผานหนาโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) ๙. สรางเครือขายการใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) เชิงสรางสรรค โดยมีโรงเรียน เปนศูนย บานผูใหญบานเปนแมขายของหมูบาน และ อบต.เปนศูนยประสานงานระดับ ตําบล ๑๐. จั ด กิ จ กรรมประกวดการใช โ ทรศั พ ท ส มาร ท โฟน (smartphone)

เชิ ง สร า งสรรค

จัดมหกรรมประกวดผลงานสรางสรรคจากสมารทโฟน ในงานสัปดาหวิทยาศาสตร ตรวจผลยอนกลับนําไปพัฒนา (Action) ๘. ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP ผลสําเร็จเชิงปริมาณ ๑. บุคคลตามกลุมเปาหมายมีสวนรวมในการใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) ในเชิง สรางสรรค รอยละ ๑๐๐ ๒. มีแหลงสงเสริมการเรียนรูการใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) ในเชิงสรางสรรค ประจําชุมชนในเขตบริการของโรงเรียน รอยละ ๑๐๐ ผลสําเร็จเชิงคุณภาพ ๑. ผูใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone) มีความตระหนักในการใชโทรศัพท smartphone เชิงสรางสรรค อยูในระดับดีมาก (จากตารางเปรียบเทียบความพึงพอใจของคนที่อยูในเขต บริการของโรงเรียนตอผูใชโทรศัพทสมารทโฟน (smartphone)) นําผลที่ไดไปพัฒนาสรางความยั่งยืนตอไป โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๑๐


ความพึงพอใจของผูเกี่ยวของตอ BP สรุปความพึงพอใจในภาพรวม ที่บุคคลในพื้นที่เขตบริการของโรงเรียนบานหวยน้ําขาว มีตอผูใชโทรศัพทสมารทโฟน และแท็บเล็ตเปรียบเทียบกอนและหลังการรวมกิจกรรม กอนรวมกิจกรรม ระดับคุณภาพ S.D. 2.40 0.35

หลังรวมกิจกรรม ระดับคุณภาพ S.D. 4.42 0.26

หมายเหตุ

จากการประเมิ น ความพึ ง พอใจของบุ ค ลากรของโรงเรี ย นบ า นห ว ยน้ํ า ขาวและผู ที่ เ กี่ ย วข อ ง ประกอบดวย ครู ๓๒ คน นักเรียน ป.๕ – ม.๓ จํานวน ๑๐๐ คน ผูปกครองนักเรียน จํานวน ๑๕๐ คน คณะกรรมการสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จํ า นวน ๑๕ คน ผู นํ า ชุ ม ชน ๑๒ คน รวม ๓๐๙ คน โดยใช แบบสอบถามความพึงพอใจ กอนรวมกิจกรรมอยูในระดับคุณภาพนอย (๒.๔๐, S.D.๐.๓๕) และหลังจากได รวมกิจกรรมแลวระดับคุณภาพในภาพรวมมีความคิดเห็นอยู ในระดับดีมาก (๔.๔๒, S.D.=๐.๒๖) ซึ่ง หมายความวานวัตกรรมที่สรางขึ้นมีผลทําใหผูใชสมารทโฟนไดนําสมารทโฟนไปใชในเชิงสรางสรรค บรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว ปจจัยความสําเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณเรียนรูจากการนํา BP ไปใช การมีสวนรวมในการพัฒนานวัตกรรม ใหผูที่มีสวนไดสวนเสีย และองคกร ภาคสวนตาง ๆ มีสวนรวม ตลอดแนว ตั้งแตรวมกัน วางแผน รวมกันดําเนินงาน รวมกันประเมินตรวจสอบ และรวมกันพัฒนาสูความยั่งยืน (ดูไดจากการ ดําเนินการพัฒนานวัตกรรม) ประโยชนของนวัตกรรมในการแกปญหาหรือพัฒนาคุณภาพของกลุมเปาหมาย หลังจากที่ไดทํานวัตกรรมออกไปแลวสงผลใหบุคคลในกลุมเปาหมายไดใชโทรศัพทสมารท โฟน (smartphone) เชิงสรางสรรคมีการสรางสื่อดวยสมารทโฟน (smartphone) ที่มีแนวคิดเชิง สรางสรรคตอสังคมอยางตอเนื่อง สงผลดังตอไปนี้ นักเรียน นักเรีย นมีทัก ษะ ในการอาน การเขีย น และดา นคิดคํา นวณดีขึ้น มีวิจารณญาณในการ แยกแยะกลาพูดกลาถาม กลาทํา นําความรูไปใชแกปญหาในชีวิตประจําวันได มีความคิดสรางสรรค นําไป สร า งชิ้ นงานต า ง ๆ ได ดวยตนเอง มีค วามเข า ใจในความแตกตา งวัฒ นธรรม และวิ ธีก ารดํา เนิน งานที่ โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๑๑


หลากหลายลดปญหาความขัดแยงลง ใหความรวมมือและทํางานรวมกับผูอื่นไดดี และภาวะผูนําที่สูงขึ้น มี ความสามารถในการสื่อสาร สารสนเทศ และรูเทา ทันสื่อ สามารถวิเคราะหแยกแยะประมวลความคิ ด ตั ด สิ น ใจทางเลื อ กได ถู ก ต อ ง มี ค วามสามารถในการใช ค อมพิ ว เตอร และเทคโนโลยี ส ารสนเทศ และการสื่ อสารได อย างมี ป ระสิ ท ธิภ าพยิ่ ง ขึ้น มีทัก ษะอาชี พ ขั้นพื้นฐาน สามารถนํา ไปประยุก ตใ ชกับ ชีวิตประจําวันได ครู ได ป รับ เปลี่ ย นพฤติก รรมจากเดิมเปลี่ย นจากเดิม ที่ค รูเปนผูใหความรูม าเปนการเรีย นรู รวมกันโดยมีการออกแบบการเรียนรู คือ ๑. ออกแบบการเรี ย นรู ทั ก ษะการคิด อย า งมี วิ จ ารณญาณ และการแก ป ญ หา โดยมี เป าประสงค คือ มุงใหนัก เรีย นสามารถใชเหตุผล นั กเรีย นสามารถใช กระบวนการคิดอยางเปน ระบบ (systems thinking) นักเรียนสามารถใชวิจารณญาณและตัดสินใจ นักเรียนสามารถแกปญหาได ๒. ออกแบบการเรียนรูทักษะการสื่อสารและความรวมมือ โดยมีเปาประสงค คือ ทักษะใน การสื่อสารอยางชัดเจน ทักษะในการรวมมือกับผูอื่น ๓. การออกแบบการเรียนรูทักษะดานความสรางสรรค และนวัตกรรม โดยมีเปาประสงค คือ ทักษะการคิดอยางสรางสรรค ทักษะในการทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค ประยุกตสูนวัตกรรม ผูปกครอง ผูครองไดรับความรูในการใชโทรศัพทสมารทโฟนสามารถใชอยางมีประสิทธิภาพขึ้น ได ขอมูล ข าวสารที่ที่หลากหลายถูก ตอง และรวดเร็วขึ้น รวมทั้งมีค วามเขา ใจที่ดีตอกันกับผูใ ชโทรศัพ ท สมารทโฟน โรงเรียน โรงเรียนไดนําเอานวัตกรรมนี้ไปใชในการบริหารจัดการการศึกษาในบริบทของโรงเรียน ไดอยางมีประสิทธิภาพยิ่ง คือ งานวิชาการ ไดนําโทรศัพทสมารทโฟนไปใชประโยชนดังนี้

๑) สืบคนความรูผาน

อินเตอรเน็ต ๒) ถามความรูครูนอกเวลา ผาน Mail, facebook, line, sms ๓) สงการบานครูผานมือถือ ๔)ใชถาย VDO ถายภาพนิ่ง เก็บสาระความรูเมื่อไปศึกษานอกสถานที่ ๕)ใชเผยแพรขาวสารทางวิชาการ ๖)ใชบันทึกเสียงสาระความรูตาง ๆ ๗) ใชติดตามขาวสารราชการตาง ๆ ผาน web, Mail, facebook, line, sms

โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๑๒


งานงบประมาณ ไดนําโทรศัพทสมารทโฟนไปใชประโยชนดังนี้ ๑)ใชสืบคนหาความรู ตางๆ เกี่ยวกับการเงินและพัสดุ ๒)ใหสืบคนรายการสินคาวัสดุที่จําเปนตอการดําเนินงาน ๓)ใชสั่งซื้อวัสดุ ครุภัณฑตาง ๆ ๔)ใชระบบบารโคดคุมสตอกวัสดุครุภัณฑ ๕)วางแผนบริหารจัดการใชงบประมาณ งานบุคคล ไดนําโทรศัพทสมารทโฟนไปใชประโยชนดังนี้ ๑)ใชวางแผนบริหารจัดการ งานบุคคล ๒) ใชนัดหมายเชิญประชุม ๓)ใชประชาสัมพันธประกาศยกยองบุคคล ๔)ใชถาย VDO ถายภาพนิ่ง เก็บสาระความรูในการศึกษาดูงานในโอกาสตาง ๆ ๕)ใชบันทึกเสียงประชุม ๖)ใชบันทึกเตือนความจํา งานบริหารทั่วไป ไดนําโทรศัพทสมารทโฟนไปใชประโยชนดังนี้ ๑) ใชดูกลองวงจรปดเมื่อ อยูนอกสถานที่ ๒)ใชอัพโหลดดาวนโหลอขอมูลผานอินเตอรเน็ต ๓) ใชประชาสัมพันธกิจกรรมตาง ๆ ผาน web, Mail, facebook, line, sms ๔)ใชสังเกตพฤติกรรมผูเรียนเพื่อวางแผนปองกันไมใหอยูในภาวะเสี่ยงตาง ๆ ๕) ใชเปนชองทางติดตอผูปกครอง ผาน web, Mail, facebook, line, sms ๖) ใชสรางเครือขายการเรียนรูกับทุก ภาคสวน ๗)ใชประกาศยกยองบุคคลดีในสังคม ๘) ใชถายทํา VDO/ภาพนิ่ง ขาวสารตาง ๆ ๙) ประกวดคลิป คุณธรรม ชุมชน ชุ ม ชนได ส ร า งเครื อ ข า ยฯสร า งสรรค ใ นการโทรศั พ ท ส มาร ท โฟนทํ า ให ส ามารถ ติดตอสื่อสารกันไดสะดวก รูเทาทันสื่อ มีคุณธรรมจริยธรรมในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้ําเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ใหเกิดผลดีอยางตอเนื่อง วิธีการตรวจสอบซ้ํา BP วิธีการตรวจสอบซ้ํา หลังจากดําเนินงานพัฒนา BP จนประสบผลสําเร็จแลว โดยสํารวจความพึงพอใจ สังเกต และ สัมภาษณผูเกี่ยวของ ปการศึกษาตอมาก็ยังคงดําเนินการตอเนื่อง โดยมีการประชุมสรุปบทเรียนที่ไดรับจา การดําเนินการเพื่อนําไปพัฒนาในปตอไป ผลการตรวจสอบซ้ํา ผลการตรวจสอบซ้ําเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP ผลการประเมินพบวา ๑) ผลการประเมินการนํารูปแบบการบริหารจัดการแบบมีสวนรวมในการใชโทรศัพท smartphone เปนสื่อสรางสรรค มาพัฒนาคุณภาพผูเรียน จากแบบสอบถามในภาพรวม อยูในระดับดีมาก ๒) ผลจากการสัมภาษณนักเรียน ครู ผูปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและ ผูนําชุมชน อยูในระดับดีมาก โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๑๓


การยอมรับนวัตกรรม การเผยแพรเป นการเผยแพร Online ผาน youtube จึงสามารถเผยแพรไดอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเปนเว็บไซดที่มีสิทธิบัตรควบคุมและที่นิยมของคนทั่วโลก ๑๐. การประชาสัมพันธผลสําเร็จของ BP และการเผยแพร ขยายผล ในวงกวาง การประชาสัมพันธผลสําเร็จ BP และการเผยแพร ขยายผลในวงกวาง ไดนําผลสําเร็จดังกลาวไปประชาสัมพันธ และ เผยแพร ดังนี้ ๑) ในปการศึกษา ๒๕๕๔-ปจจุบัน โรงเรียนเปนแหลงเรียนรูดานเทคโนโลยีของชุมชน และเขตพื้นที่ฯ ๒) โรงเรียนไดนํา BP เผยแพรทางอินเทอรเน็ต มาจนถึงปจจุบัน ๓) จัดนิทรรศการเผยแพรผลงานในงานสัปดาหวิทยาศาสตร ๔) จั ด นิ ท รรศการเผยแพร ใ นงานศิ ล ปหั ต ถกรรมนั ก เรี ย นระดั บ ภาคกลางและภาค ตะวันออกป ที่จังหวัดเพชรบุรี การศึกษา ๒๕๕๖

โ ร ง เ รี ย น บ า น ห ว ย น้ํา ข า ว สํา นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ก า ญ จ น บุ รี

หนา ๑๔


ภาพกิจกรรมการใชโทรศัพท smart phone & Tablet ในเชิงสรางสรรค ของโรงเรียนบานหวยน้ําขาว สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

เครือขายผูใช smartphone & Tablet

ประชุมวางแผนการใช smartphone & Tablet เชิงสรางสรรค

อบรมใหความรูการใช Smartphon & Tablet

เครือขายแกปญหานักเรียนที่อานไมออกเขียนไมได


เครือขายนักขาวนอย ทํากิจกรรมรวมกับทหาร

คลิปคุณธรรม

กิจกรรมเรียนรูผาน qr code


ใช smartphone ในการสื่อสาร facebook line sms mail

นักเรียนถายทําคลิปสงประกวด

โล เกียรติบัตร ถวยรางวัล


ผูบริหารใช smartphone เชิงสรางสรรค

เกียรติบัตร/รางวัลที่ไดรับ





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.