BEST PRACTICE การบริหารการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้โครงงานประดิษฐ์ดอกไม้ จากแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญานาพาเอกลักษณ์สู่งานหนังสือพิมพ์มหัศจรรย์พอเพียง สาหรับชัน้ ประถมศึกษาปีที๖
โดย นางวนิดา ปากโมกข์ โรงเรียนบ้านหนองสองตอน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คานิยาม ข้าพเจ้านางวนิดา ปากโมกข์ ตาแหน่ง ครู คศ.3 โรงเรียนบ้านหนองสองตอน ได้ศึกษาค้นคว้า ทดลองการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ (Best Practice) เรื่อง การบริหารการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากโครงงานประดิษฐ์ดอกไม้ จากแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา นาพาเอกลักษณ์สู่งานหนังสือพิมพ์มหัศจรรย์พอเพียง สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ข้าพเจ้าได้นากระบวนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนจริงในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๖โรงเรียนบ้านหนองสองตอน ตาบล แก่งเสี้ยน อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ได้ ผ ลดีเ ป็ น ที่น่ าพอใจ นั ก เรี ย นได้ มีทั กษะกระบวนการทางสื บ เสาะแสวงหาความรู้ สู่ ก ระบวนการคิด อย่ า ง สร้างสรรค์ที่น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ข้าพเจ้ าขอขอบพระคุณ นายสมยศ ส าเนียงงาม ศึกษานิเทศก์ สพป.กจ.เขต ๑ นายบารุง ข่ายคา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองสองตอน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ พร้อมกับให้ ข้อคิดและข้อเสนอแนะในการจัดทา Best Practice ให้สาเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดี ผู้จัดทาหวังว่าจะเป็น ประโยชน์และเป็นแนวทางต่อครูผู้สอน และผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องตลอดจนผู้ที่สนใจทั่วไป
นางวนิดา ปากโมกข์ ครู คศ.3 โรงเรียนบ้านหนองสองตอน
ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยม (Best Practice ) 1.
ชื่อผลงาน BP การบริหารการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากโครงงานประดิษฐ์ดอกไม้ จากแหล่งเรียนรู้ภูมิ ปัญญานาพาเอกลักษณ์สู่งานหนังสือพิมพ์มหัศจรรย์พอเพียง สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ 2.
ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา BPนางวนิดา ปากโมกข์ 2.2 ครูโรงเรียนบ้านหนองสอตอน จังหวัดกาญจนบุรี ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการศึกษาหนองบัว- แก่งเสี้ยน 2.3 โทรศัพท์ 0๙๖-๘๘๙๔๓๗๕
3.
เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๑. เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและกระบวนการทางานของนักเรียน ตระหนัก และเห็น คุณค่า งานจากเศษวัสดุเหลือใช้ที่มีอยู่ในบ้าน ชุมชนโรงเรียน มาใช้ประโยชน์ที่โรงเรียนและที่บ้านได้ ๒. เพื่อปลูกจิตสานึกด้านความมีระเบียบวินัยให้แก่นักเรียนรู้จักมารยาทการทางานร่วมกับผู้อื่น และมีแนวทางในการประกอบอาชีพได้ ๓. เพื่อให้นักเรียนได้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
4.
ระยะเวลาในการพัฒนา BP ปีการศึกษา 2553- ปีการศึกษา 255๘
5.ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย จุดเน้นของ สพป.สพฐ. สถานศึกษา หน่วยงาน/บุคคล นโยบาย/จุดเน้น นโยบายรัฐบาลปัจจุบันด้านการศึกษา
เน้นครูและนักเรียนเรียนรู้อย่างมีความสุขผ่านการใช้สื่อ IT สู่การประกอบอาชีพได้จริงกับ AEC ค่านิยม 12 ประการจุดเน้นข้อ 10 รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้ยาม จาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ถ้าเหลือ
นโยบาย สพฐ.
ตามจุดเน้นสร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา อย่างทั่วถึงศึกษาต่อและประกอบอาชีพส่งเสริมการจัด การศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดย การขยายผลสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบมีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียน ทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึงศึกษาต่อ และประกอบอาชีพส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์มีความสามัคคีในการทางาน
สถานศึกษา/โรงเรียนบ้านหนองสองตอน
นักเรียนมีคุณภาพการศึกการศึกษาตามมาตรฐาน การศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จุดเน้นถึงแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญานาสู่การประกอบอาชีพ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ครู
กลุ่ มสาระการงานอาชีพ ฯเป็ นการพั ฒ นาให้ ผู้ เ รีย นมี ความรู้ ความเข้ าใจ มีทั ก ษะพื้น ฐานที่ จาเป็ นต่ อการ ดารงชีวิ ต และรู้เ ท่า ทัน การเปลี่ ย นแปลงสามารถน า ความรู้เกี่ยวกับการดารงชีวิต การอาชีพและเทคโนโลยี มาใช้ประโยชน์ในการทางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และแข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการ ประกอบอาชี พ รั ก การท างานและมี เ จคติ ที่ ดี ต่ อ การ ทางาน สามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างพอเพียงและ มีความสุขและมีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอัน พึงประสงค์การใช้แหล่งเรียนรู้ครูภูมิปัญญาจัดกิจกรรม การเรียนการสอนในรูปแบบของโครงงาน
6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑)มุ่งเน้นให้นักเรียน เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข ตามกลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร และส่ งเสริ มความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ประกอบกับมาตรฐานการศึกษาขั้น พื้นฐานที่14การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่กาหนดขึ้น โรงเรียนบ้าน หนองสองตอนมีเอกลักษณ์ของโรงเรียนคือการประดิษฐ์ด อกไม้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ตามกลยุทธ์ที่ 1 และ มาตรฐานที่ 14 และและนโยบายของรัฐบาลปัจจุบันให้นโยบายด้านการศึกษาตามกระแสพระราชดารัสเกี่ยวกับ การปฏิรูปการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “ให้ครูรักเด็กและเด็กรักครู” การอ่าน การใช้ ICT เรียน เพื่อไปประกอบอาชีพตามความต้องการประเทศและ AEC การบริหารการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากโครงงานประดิษฐ์ดอกไม้จากแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา นาพาเอกลักษณ์สู่งานหนังสือพิมพ์มหัศจรรย์พอเพียง สาหรับชั้นประถมศึกษาปี่ที่ ๖ ที่มาของหนังสือพิมพ์ มหัศจรรย์พอเพียงเป็นการต่อยอดจากการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นที่เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย จากคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง สพป.กจ ๑ ให้เป็นเอกลักษณ์ของโรงเรียนบ้านหนองสองตอนเป็นการ เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่เป็นปราชญ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและใช้การบริหารจัดการเรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้ใน รูปแบบของโครงงาน นักเรียนทุกคนในชั้นเรียนและในโรงเรียนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการ ทางานในรูปแบบของการเข้าชุมนุมอีกด้วย ภาสินี เปี่ยมพงศ์สานนท์ (๒๕๓๖ : ๔๕-๔๖) ได้เสนอการจัดการเรียน การสอนโดยใช้แหล่งวิทยากรชุมชนว่า หมายถึง ทุกสิ่งอย่างในชุมชนที่นามาเป็นตัวอย่างให้เกิดแนวคิด ข้อสรุป ค่านิยมแก่ผู้เรียน แหล่งวิทยาการประเภทนี้ จึงรวมไปถึงสถานการณ์ของชุมชนทุกรูปแบบซึ่งนักเรียนสามรถนามา ศึกษาเป็นการฝึกสติปัญญา ความคิดหรือฝึกทักษะทางสังคมด้านต่างๆ ตลอดจนประสบการณ์ทุกอย่างที่ให้เขา สามารถแสดงความรู้สึกนึกคิดของตนออกมาได้การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการ พัฒนาการคิดของบลูม (Blom) ทั้ง 6 ขั้นตอน คือ 1. ความรู้ความจา (Knowledge) 2. ความเข้าใจ (Comprehension) 3. การนาไปใช้ (Application) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมินค่า (Evaluation) ข้าพเจ้าดาเนินการวิเคราะห์จุดเน้นและเป้าหมายของสถานศึกษา และนามากาหนดการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยีแบบเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่เป็นปราชญ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและการเรียนรู้แบบ โครงงานตลอดจนการบูรณาการการจัดการเรียนรู้สู่หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยังน้อมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องของภูมิปัญญาและวัสดุเหลือใช้ที่นากลับมาใช้ใหม่ โดยใช้กระบวนการ๔ R ๑. Reuse หรือการใช้ซ้า ๒.Repair หรือการซ่อมบารุง ๓.Reduce หรือลดการใช้ทรัพยากร๔. Recycle หรือนากลับมาใช้ใหม่โดยผ่านกระบวนการและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องการใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่าอีกด้วยโดยการวางแผนการดาเนินการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางปีการศึกษา ๒๕๕๑ ๒. วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา ๓. วิเคราะห์ผู้เรียน ๔. จัดทาหน่วยการเรียนรู้ 5. จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนการสอน
นอกจากการจัดการเรียนรู้แบบเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่เป็นปราชญ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและการเรียนรู้แบบ โครงงานตลอดจนการบูรณาการการจัดการเรียนรู้สู่หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื่อง และสนับสนุน ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนสู่ความเป็นเลิศกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี การจัดการเรียนการสอนโดยใช้แหล่งวิทยากรชุมชนว่า หมายถึง ทุกสิ่งอย่างในชุมชนที่นามาเป็นตัวอย่างให้เกิด แนวคิด ข้อสรุปค่านิยมแก่ผู้เรียน แหล่งวิทยาการประเภทนี้ จึงรวมไปถึงสถานการณ์ของชุมชนทุกรูปแบบซึ่ง นักเรียนสามรถนามาศึกษาเป็นการฝึกสติปัญญา ความคิดหรือฝึกทักษะทางสังคมด้านต่างๆ ตลอดจน ประสบการณ์ทุกอย่างที่ให้เขาสามารถแสดงความรู้สึกนึกคิดของตนออกมาได้การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการ เรียนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของบลูม (Blom) ทั้ง 6 ขั้นตอน คือ 1. ความรู้ความจา (Knowledge) 2. ความเข้าใจ (Comprehension) 3. การนาไปใช้ (Application) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 5. การ สังเคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมินค่า (Evaluation)ทาให้เกิดองค์ความรู้ใหม่เพิ่มพูนตลอดเวลา ความรู้และ กระบวนการดังกล่าวมีการถ่ายทอดต่อเนื่องกันเป็นเวลายาวนานแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา Best Practice
หลักการพัฒนาการคิด
6 ขั้นตอน คือ
1. ความรู้ความจา (Knowledge) 2. ความเข้าใจ (Comprehension) 3. การนาไปใช้ (Application) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมินค่า (Evaluation)
ความหมายของโครงงาน หมายถึง
วิธีทางานที่เป็นระบบขั้นตอนเพื่อทางานขั้นใดขั้นหนึ่งให้สาเร็จ
ความสาคัญ
เสริมสร้างประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ส่งผลทาให้เกิดความริเริ่มสร้างสรรค์ในการ ทาโครงงานใหม่ๆ ที่จะนาไปสู่โลกของงานอาชีพและการศึกษา อีกทั้งโครงงานที่ตนเองสนใจยังก่อให้เกิดองค์ ความรู้ที่กว้างขวางเป็นการประสานงานวิชาการตามสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
ประโยชน์ของโครงงาน 1. ทาให้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทางาน ประสานงาน และติดต่อกับหน่วยงานต่างๆ พร้อมทั้งมี การวางแผนการทางานตามกระบวนการทาให้กล้าคิดกล้าแสดงออก ต่อที่ชุมชนมากขึ้น ๒. ทาให้รู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบมากขึ้น ๓. ทาให้รู้จักการทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ ๔. ทาให้รู้จักการเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี ๕. ทาให้เกิดการพัฒนาความคิด และรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ๖. ทาให้รู้จักแบ่งเวลาและการตรงเวลา ๗. ทาให้รู้จักแก้ปัญหาต่างๆ โดยเฉพาะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
ความหมายของแหล่งเรียนรู้หมายถึง แหล่งข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศและประสบการณ์ที่สนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่เรียน ใฝ่รู้ และแสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย อย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
ความสาคัญของแหล่งเรียนรู้ 1. 2. 3. 4. 5.
แหล่งการศึกษาตามอัธยาศัย แหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต แหล่งปลูกฝังนิสัยรักการอ่านการศึกษาค้นคว้าแสวงหาความรู้ด้วยตัวเอง แหล่งสร้างประสบการณ์ภาคปฏิบัติ แหล่งสร้างเสริมความรู้ ความคิด วิทยาการและประสบการณ์ ภาสินี เปี่ยมพงศ์สานนท์ (๒๕๓๖ : ๔๕-๔๖) ได้เสนอการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
แหล่งวิทยากรชุมชนหมายถึง ทุกสิ่งอย่างในชุมชนที่นามาเป็นตัวอย่างให้เกิดแนวคิด ข้อสรุปค่านิยมแก่ผู้เรียน แหล่งวิทยาการประเภทนี้ จึงรวมไปถึงสถานการณ์ของชุมชนทุกรูปแบบซึ่งนักเรียนสามารถนามาศึกษาเป็นการฝึก สติปัญญา ความคิดหรือฝึกทักษะทางสังคมด้านต่างๆ ตลอดจนประสบการณ์ทุกอย่างที่ให้เขาสามารถแสดง ความรู้สึกนึกคิดของตนออกมา 7. กระบวนการขั้นตอนการพัฒนาBest Practice ลาดับขั้นตอนการดาเนินกิจกรรมพัฒนา Flow Chart (แผนภูมิ) Model ของ Best Practice ขั้นที่ ๑ ประชุมปรึกษาหารือผู้บริหารและคณะครูใช้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในหมู่บ้านหนองสองตอนมี ปราชญ์ภูมิปัญญาเรื่องการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นซึ่งเป็น O-TOPในหมู่บ้าน เริ่มดาเนินการ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 255๓ มีผลงานเป็นที่ยอมรับให้เป็นเอกลักษณ์ของโรงเรียนบ้านหนองสองตอน ปี พ.ศ. 2556 ได้ ติดต่อปราชญ์ภูมิปัญญาเรื่องการประดิษฐ์แจกันจากหนังสือพิมพ์ผสมปูนซีเมนต์ต่อยอดการประดิษฐ์ดอกไม้จาก วัสดุในท้องถิ่นด้วยการประดิษฐ์แจกันในรูปแบบต่าง ๆ จากหนังสือพิมพ์ผสมปูนซีเมนต์เพื่อเป็นการลดต้นทุน ประหยัดค่าใช้จ่าย และปัจจุบันพัฒนาจากการประดิษฐ์แจกันมาประดิษฐ์ของใช้ได้อีกหลายรูปแบบ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ป้ายประชาสัมพันธ์ ป้ายโรงเรียน ซุ้มดอกไม้ กระถาง ฯลฯ เป็นต้น ขั้นที่ ๒ ติดต่อประสานดาเนินการจัดตารางเรียนให้นักเรียนไปเรียนกับวิทยากรภูมิปัญ ญาตาม ตารางและระดับชั้นหรือเชิญวิทยากรภูมิปัญญามาที่โรงเรียนระดับชั้น ป. ๑ - ม.๓ เปิดเป็นวิชาการงานอาชีพ และเทคโนโลยี (เพิ่มเติม) ม.๑ – ม.๓ และเปิดเป็นชุมนุมในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตั้งแต่ ป.๑ – ม.๓ ขั้น ที่ ๓ จั ดทาหลั กสู ตรท้องถิ่นการประดิษฐ์ ดอกไม้จากวัส ดุธ รรมชาติในท้องถิ่น ทาโครงสร้าง หลักสูตร สร้างบทเรียนโดยเรียนรู้แบบโครงงาน ขั้นที่ ๔ จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ระดับชั้น ป. 1 - ม.3 เรียนรู้เรื่องการประดิษฐ์ ดอกไม้ จ ากวั ส ดุ ธ รรมชาติ ใ นท้ อ งถิ่ น เช่ น ประดิ ษ ฐ์ ด อกประดู่ เ ป็ น ดอกกุ ห ลาบ ดอกขี้ ห นอนเป็ น ดอกลิ ล ลี่ ประดิษฐ์ดอกบอลลูนจากต้นกระถินที่เหลาจากกบ จัดช่อ จัดแจกัน จัดกระเช้า และการประดิษฐ์แจกันจาก หนังสือพิมพ์ผสมปูนซีเมนต์ ทาแจกันในรูปแบบต่างๆ ทาซุ้มดอกไม้ ซุ้มป้ายโรงเรียน ทากระถาง ทาโต๊ะ เก้ าอี้ ฯลฯ จากวัสดุเหลือใช้ ขั้นที่ ๕ นาบทเรียนการเรียนรู้แบบโครงงานไปใช้ประกอบการสอน
ขั้ น ที่ ๖ ท าวิ จั ย ส าหรั บ นั ก เรี ย นที่ มี ปั ญ หาจากการวิ เ คราะห์ ผู้ เ รี ย นที่ แ ยกเป็ น กลุ่ ม ดี พอใช้ ปรับปรุง ขั้นที๗่ สรุปผลของการใช้บทเรียนการเรียนรู้แบบโครงงานและรายงานผลการใช้บทเรียนการเรียนรู้แบบโครงงาน ๗.๑กลุ่มเป้าหมายในการนา Best Practieไปใช้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และนักเรียนที่เข้ากิจกรรมชุมนุมปีการศึกษา 2553-255๘ ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนาBest Practice (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) การเปรียบเทียบรูปแบบการสอนแบบเก่า – แบบใหม่
แบบเก่า
แบบใหม่
(Traditional)(New Paradigm)
ครู
ครู จัดสถานการณ์การเรี ยนรู ้แบบ โครงงานประสบการณ์ตรง
สอนตรง
นักเรียน
แหล่งเรียนรู้ เรี ยนรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้ ใน,นอกโรงเรี ยน ภูมิปัญญาท้องถิ่น
นักเรียน
PDCA (Plan DO Check Action) P (Pan) ๑. ประชุมปรึกษาหารือผู้บริหารและคณะครู คณะกรรมการ สถานศึกษาใช้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาปราชญ์ภูมิปัญญาน้อม นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จนได้เป็น สถานศึกษาต้นแบบ ๑.๑ เรื่องการประดิษฐ์ดอกไม้ฯ เริ่มปี พ.ศ.2553 -จนถึง ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับให้เป็นเอกลักษณ์ของโรงเรียนบ้าน หนองสองตอน ๑.๒ เรื่องการประดิษฐ์แจกันที่ทาจากหนังสือพิมพ์ผสม ปูนซีเมนต์ต่อยอดการประดิษฐ์ดอกไม้ฯด้วยการประดิษฐ์ แจกันในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อเป็นการลดต้นทุนประหยัด ค่าใช้จ่าย และปัจจุบันพัฒนาจากการประดิษฐ์แจกันมา ประดิษฐ์ของใช้ได้อีกหลายรูปแบบ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ป้าย ประชาสัมพันธ์ ป้ายโรงเรียน ซุ้มดอกไม้ กระถาง เป็นต้น ๑.๓ เรื่องการทาน้ายาเอนกประสงค์ ๒. จัดทาหลักสูตรท้องถิ่นการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุ ธรรมชาติในท้องถิ่น ทาโครงสร้างหลักสูตร สร้างบทเรียนโดย เรียนรู้แบบโครงงาน ๓. จัดโครงการรองรับตามแผนปฏิบัติการเพื่อของบประมาณ ๓.๑ โครงการการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติใน ท้องถิ่น ๓.๒ โครงการแหล่งรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๔.. จัดให้มีตารางเรียนในวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (เพิ่มเติม) ๕. จัดกิจกรรมชุมนุม เช่นชุมนุมการประดิษฐ์ดอกไม้ฯ มี ตั้งแต่ระดับอนุบาล ป.๑ – ม.๓ เป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งงานในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับครูและนักเรียน ร่วมกันรับผิดชอบทุกคน ๖. นาบทเรียนการเรียนรู้แบบโครงงานไปใช้ประกอบการ สอน ๗. ประเมินผลเพื่อหาจุดเด่น จุดด้อย และจัดที่ควรพัฒนา (Action) ๘. รายงานผลให้ผู้ส่วAนเกี ่ยวข้องทราบ รายงานผลให้ผมู ้ ีส่วนเกี่ยวข้องทราบ มี ร ายงานผลโครงการตามแผนปฏิ บ ัติ ง าน โรงเรี ยน
D (Do) ๑. จัดการบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้จากโครงงานที่เรียน จากแหล่งเรียนรู้ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑.๑ จัดทาหลักสูตรท้องถิ่น ๑.๒ จัดทาโครงการลงแผนปฏิบัติงาน ๑.๓ พานักเรียนไปแหล่งเรียนรู้ภูมิ ปัญญาท้องถิ่น เช่น การประดิษฐ์ดอกไม้ เป็นศูนย์ O-Topในหมู่บ้าน,ประดิษฐ์แจกัน จากหนังสือพิมพ์,การทาน้ายา เอนกประสงค์ ฯลฯ ๑.๔ จัดตารางเรียนปกติในสาระการ งานอาชีพฯ และในวิชาเพิ่มเติม ๑.๕ จัดลงกิจกรรมชุมนุมตั้งแต่ระดับ อนุบาล ป.๑ – ม.๓ ๑.๖ จัดทาแผนการสอนแบบการ เรียนรู้โดยใช้โครงงานนอกจากการทาแผน ปกติ ๒. แบ่งงาน กระจายงานการเรียนรู้ให้ครู, นักเรียนร่วมกันรับผิดชอบ ๓. ประเมินกิจกรรมตามมาตรฐานการ เรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๔. ทาวิจัย ๕ บท
C (Check) ประเมินผล ศึกษาจุดเด่น จุดด้อย และจุด ควรพัฒนา มีวจิ ยั ๕ บท
ขั้นตอนการดาเนินงานที่มีการปฏิบัติที่เป็นเลิศการบริหารการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ จากโครงงานประดิษฐ์ดอกไม้จากแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญานาพาเอกลักษณ์สู่งานหนังสือพิมพ์มหัศจรรย์ พอเพียง สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
ประชุม
วางแผน/ตั้งกรอบ ครูผ้ สู อน เพือ่ นช่ วยเพือ่ น เรียนรู้จากสื่ อ
ครู ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ แหล่งเรี ยนรู ้
พีส่ อนน้ อง เ
การเรี ยนรู้แบบ โครงงาน
(ใช่)
เพิ่มเติม มประ
จัดทาแผนการจัดกิจกรรมการ (ไม่) เรี ยนรู้ ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ประเมินผลการเรี ยนรู้
นาเสนอผลงาน เผยแพร่ ผลงาน
ผ่านเกณฑ์
(ไม่)
หรื อไม่ (ผ่าน) พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้/วิจยั พัฒนา สรุ ป/รายงานผล
แก้ไขปรับปรุ ง/ วิจยั ปฏิบตั ิการ
แผนผังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ( โครงงาน ) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ และนักเรียนที่เข้าชุมนุมตั้งแต่ชั้น ป.๑ - ชั้น ม.๓ กิจกรรมที่ตอ้ งปฏิบตั ิ
กิจกรรมโครงงาน ( ในโรงเรี ยน ) 50 % แบ่งกลุ่มนักเรี ยน กลุ่มละ 3-5 คน นักเรี ยนเลือกทาโครงงาน ตามความสนใจเข้าชุมนุม ตั้งแต่ช้ นั ป.๑ – ม.๓ นักเรี ยนวางแผนทาโครงงาน เขียนโครงงาน /ปฏิทินปฏิบตั ิงาน ) ดาเนินการตามแผน บันทึกผลการปฏิบตั ิงาน นาเสนอผลงานเผยแพร่ ผลงาน ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน/ โครงการโดยนักเรี ยน ครู กลุ่ม
ไปเรี ยนรู ้จากปราชญ์ภูมิปัญญาการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น การทาแจกัน การทาน้ ายาเอนกประสงค์ ฯลฯ
นักเรี ยนชั้น ป.๑-ม.๓ ทุกคนฝึ กประสบการณ์จากปราชญ์ภูมิ ปั ญญาประดิษฐ์ดอกไม้และภูมิปัญญาประดิษฐ์แจกัน
นักเรี ยนเลือกทาโครงงานตามเรื่ องที่ได้เรี ยนรู้จากปราชญ์ภูมิปัญญา เช่น ประดิษฐ์ดอกไม้ที่ตนเองสนใจ พร้อมแจกัน นักเรี ยนบันทึกรายละเอี3ยดกระบวนการฝึ กลงในใบงาน ชัว่ โมง นักเรี ยนสรุ ปผลการฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพและนาเสนอผลงาน ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน โดยครู นักเรี ยน ผูป้ กครอง และผูป้ ระกอบการ ครู สรุ ปผลการปฏิบตั ิงาน
ครู สรุ ปผลการปฏิบตั ิงาน
ครู สรุ ปรวบรวมผลการประเมิน และรายงาให้ระดับคุณภาพ ครู รายงานผลการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
7.3 แนวทางการนาBest Practiceไปใช้ประโยชน์ 1. นาไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. นาไปใช้กับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีทุกระดับชั้น 3. ทาให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุขได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้รับประสบการณ์ ตรงเกิดการเรียนรู้ที่ชัดเจน 4. ทาให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาคภูมิใจในความเป็นไทย รักท้องถิ่นของตนเอง มีจิตสานึกในการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ๕. นาไปใช้กับการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมชุมนุม 8.ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา Best Practice ข้าพเจ้าได้รับผิดชอบในสอนกลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สอนในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ได้สังเกตพฤติกรรมการเรียนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ของนักเรียนทาให้ทราบว่า เมื่อ ให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาจากหนังสือและใบความรู้ นักเรียนไม่ค่อยส่งงาน ไม่ตั้งใจฟัง ทากิจกรรมกลุ่มก็ไม่ช่วย เพื่อนร่วมกลุ่ม ดังนั้นข้าพเจ้าจึงได้เปลี่ยนวิธีการสอนมาใช้แหล่งเรียนรู้ที่เป็นปราชญ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างความสนใจมาสร้างการเรียนรู้ในรูปแบบของโครงงานเพื่อแก้ ไขปัญหา ในการจัดการเรียนการสอน ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จานวน ๓0 คน และนักเรียนที่เข้าชุมนุมร้อยละ๘๐มีพัฒนา ทักษะกระบวนการคิด - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จานวน ๓0คน และนักเรียนที่เข้าชุมนุมร้อยละ๘๐มีจิตสานึกด้าน ความมีระเบียบวินัยในการศึกษาบทเรียน - นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จานวน ๓0คน และนักเรียนที่เข้าชุมนุมร้อยละ ๘๐ มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีพัฒนาการด้านกระบวนการคิด ความมีระเบียบวินัย และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8.3 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการเรียนรู้จากการนา BPไปใช้ 1. นักเรียนมีการพัฒนาการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี อยู่ในระดับดี เยี่ยมและนักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียนเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพได้ ๒. ครู ผู้ ส อนมี ความมุ่ งมั่น ที่จ ะพัฒ นาผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนวิช าการงานอาชีพ และเทคโนโลยี ๓. ครูผู้สอนมีการพัฒนาความรู้ความสามารถโดยการศึกษาความรู้ด้วยตนเองเข้าร่วมการอบรม สัมมนาเชิงปฏิบัติการต่างๆและนาความรู้มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๔. ครูผู้สอนได้รับรางวัลเหรียญเงินOBEC AWARDS ด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยมกลุ่มสาระการงาน อาชีพและเทคโนโลยี ระดับชาติประจาปี ๒๕๕๖ ๕. ครูผู้สอนได้รับรางวัลเหรียญทองOBEC AWARDS ด้านด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยมกลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชาติประจาปี ๒๕๕๗
๙.กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง Best Practice ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๑. นักเรียนมีการพัฒนาการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีอยู่ในระดับดีเยี่ยม ๒ ครูผู้สอนได้รับรางวัลเหรียญเงินOBEC AWARDS ด้านด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยมกลุ่มสาระการงานอาชีพและ เทคโนโลยี ระดับชาติ ประจาปี ๒๕๕๖ ๓ครูผู้สอนได้รับรางวัลเหรียญทองOBEC AWARDS ด้านด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยมกลุ่มสาระการงานอาชีพและ เทคโนโลยี ระดับชาติ ประจาปี ๒๕๕๗ ๑0. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practice และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง 1. เผยแพร่ ในงานศิล ปหั ต ถกรรมนัก เรีย นระดับ เขตพื้น ที่ก ารศึ กษาของส านัก งานเขตพื้ น ที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 2.เผยแพร่ผลงานให้แก่คณะครูในโรงเรียน ในสังกัดและผู้มาศึกษาดูงานของโรงเรียนปีการศึกษา 25553 –255๘ ๓. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความสาเร็จของ Best Practice งานวิชาการของสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ๔. เผยแพร่ในเว็ปไซต์ OBEC AWARDS ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑
ภาคผนวก