BEST PRACTICE ของ นางสาววาณี แท่นกาญจนภรณ์ ครูโรงเรียนวัดหนองเสือ สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

Page 1

วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

คานิยาม การจัดทา Best Practice กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ เรื่อง บริหารจัดการดี ดนตรีสร้างสรรค์ ในครั้งนี้ เป็นการนาเสนอผลงานที่นาไปใช้ใ นการพัฒนาทัก ษะดนตรีในระดับ ชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น ที่ทาให้เกิดผลประสบความสาเร็จเป็นที่น่าพอใจ นักเรียนเกิดความรู้สึกรักและเห็น คุณค่าในความงามของดนตรี จึงส่งผลต่อการพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ผลงาน Best Practice เรื่อง บริหารจัดการดี ดนตรีสร้างสรรค์ ประกอบด้วยข้อมูลทั่วไปของ ผู้ จั ด ท า วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการพั ฒ นา ระยะเวลาในการพั ฒ นา ความเชื่ อ มโยง แนวคิ ด หลั กการ กระบวนการพัฒนา ผลสาเร็จ กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ขอขอบคุณ นายชาญชัย ไตรวิเชียร ครูโรงเรียนวัดหนองเสือ รักษาราชการแทนผู้อานวยการ โรงเรียนวัดหนองเสือ คณะผู้ปกครอง และศิษย์ทุกรุ่น ที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้การปฏิบัติงานในหน้า ที่ของ ครูและผลงาน Best Practice เรื่อง บริหารจัดการดี ดนตรีสร้างสรรค์ ประสบผลสาเร็จด้วยดี

นางสาววาณี แท่นกาญจนภรณ์

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

สารบัญ หน้า คานิยาม สารบัญ วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ความเป็นมาและความสาคัญ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนา BP ความเชื่อโยง/ความสัมพันธ์ระหว่าง BP แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP กระบวนการพัฒนา BP ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา BP กระบวนการตรวจสอบซ้า เพื่อปรับปรุงพัฒนา BP การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จและการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง ภาคผนวก เกียรติบัตรครู เกียรติบัตรนักเรียน ภาพกิจกรรมนักเรียน ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน การเผยแพร่ กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน แผนผังการบริหารจัดการชั้นเรียน

๑ ๑ ๒ ๒ ๒ ๒ ๕ ๗ ๘ ๘ ๑๐ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ๑. ชื่อผลงาน BP กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ เรื่อง บริหารจัดการดี ดนตรีสร้างสรรค์ ด้าน บริหารจัดการ ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP โดย นางสาววาณี แท่นกาญจนภรณ์ ครู โรงเรียนวัดหนองเสือ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ โทรศัพท์ ๐๘๗-๑๖๙๘๘๔๔ e-mail wanee๖๐๘๓@hotmail.com ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ดนตรีเป็นสิ่งที่มีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ เพราะดนตรีเป็นศิลปวัฒนธรรมที่สะท้อนอารมณ์ ความรู้สึก ดนตรีสามารถกล่อมเกลาอารมณ์และความคิดของมนุษย์ได้ ทาให้ผู้ที่สัมผัสกับดนตรีเ กิด ความรู้สึกชื่นชมทาให้มีความสุขุมเยือกเย็นช่างสังเกต พิจารณาไตร่ตรองและเห็นคุณค่าในความงาม ของดนตรีความรู้สึกดังกล่าวไม่สามารถรับรู้และสัมผัสได้ทุกคน หากแต่ต้องเรียนรู้ สัมผัสและสร้าง ความเข้าใจ จึงจะส่งผลต่อการพัฒนาความเป็นมนุษ ย์ที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ดัง นั้นดนตรีจึงถือว่ามี ความสาคัญต่อมนุษย์ซึ่งสามารถสื่อความหมายและถ่ายทอดความนึกคิดให้เข้าถึงด้วยเสียง ด้วยทักษะ การขับร้อง การเล่นเครื่องดนตรี สามารถเรียนได้ด้วยตนเองตามความถนัดหรือความสนใจหรือเรียนได้ จากการจัด การเรีย นการสอนในโรงเรียน หากเด็ก ได้สัมผัส ได้เ ล่น ดนตรีโ ดยผ่านสื่อและเครื่องมือ ประกอบการเรียบเรียง การบรรเลงอย่างมีความสุขและสนุกสนาน จะทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่าง รวดเร็ว เกิดความคิดสร้างสรรค์ในขั้นสูง การพัฒนาสมองเด็กโดยผ่านกิจกรรมดนตรีจึงเป็นการวาง พืน้ ฐานสาหรับเด็กที่โตต่อไปในอนาคต เด็กจะเป็นผู้ที่มีค วามคิดฉับไวในการแก้ปัญหาเพราะดนตรีช่วย พัฒนาความฉลาดให้กับเด็กได้ในขณะเดียวกันก็จะเป็นผู้ที่มีวัฒนธรรมมีความประณีตมีเสน่ห์และมี ความงามอยู่ในตัว ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ข้าพเจ้าจึงคิดหาวิธีการสอนด้วยการสร้างสื่อการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะดนตรี สากลได้ อย่างถูกต้อง โดยมุ่งหวังให้นักเรี ยนได้เกิดทักษะด้านดนตรี และเกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาดนตรี สูงขึ้น ๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๑. เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านดนตรีสากลให้สูงขึน้ ๒. เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีตอ่ การเรียนดนตรี ตระหนักและเห็นคุณค่าของดนตรี ๓. เพื่อให้นกั เรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ทาการพัฒนาในภาคเรียนที่ ๑-๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ใช้เวลาในการพัฒนา ๒ ภาคเรียน สาหรับ นักเรียนชุมนุมดนตรีสากล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ โรงเรียนวัดหนองเสือ ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ ที่มคี วามสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะ พื้นฐาน รวมทั้งเจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดย มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพืน้ ฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ การพัฒนาที่สาคัญคือ การพัฒนาที่สมดุลอย่างเป็นองค์รวมทุกด้าน เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มี พืน้ ฐานทางด้านจริยศาสตร์ความเป็นคนดีทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ดนตรีจึงเป็นสิ่งสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ เพราะดนตรีเป็นศิลปวัฒนธรรมที่สะท้อนอารมณ์ความรู้สึก ดนตรีสามารถกล่อมเกลาอารมณ์และความคิดของมนุษย์ได้ ทาให้ผู้ที่สัมผัสกับดนตรีเกิดความรู้สึก ชื่น ชมท าให้มีค วามสุ ขุมเยือกเย็นช่างสังเกต พิจารณาไตร่ตรองและเห็นคุณค่าในความงามของดนตรี ความรู้สึกดังกล่าวไม่สามารถรับรู้และสัมผัสได้ทุกคน หากแต่ต้องเรียนรู้ สัม ผัสและสร้างความเข้าใจ จึงจะส่งผลต่อการพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์มากยิ่งขึน้ ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ๖.๑ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับดนตรี ความไพเราะของดนตรีได้เพิ่มอรรถรสในอารมณ์ความรู้สึกของการฟังอย่างมหาศาล สามารถ สร้างจินตนาการ ชักจูงและโน้มน้าวอารมณ์อย่างวิเศษ นอกจากนีด้ นตรียังมียังคุณค่ามากมาย ดังนั้นในการสอนดนตรีไม่ว่าในลักษณะใด ย่อมมีหลักการผู้สอนยึดเป็นแนวปฏิบัติการศึกษา ทฤษฎีการเรียนรู้ย่อมช่วยให้การสอนดนตรีมีประสิทธิภาพขึ้นได้ ทั้งนี้เพราะครูผู้สอนย่อมมีความเข้าใจ

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

กระบวนการการเรียนของผู้เรียน และสามารถจัดกิจกรรมการสอนดนตรีให้เหมาะสมกับผู้เรียนมาก ที่สุด ผู้สอนจึงควรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้ ๖.๒ หลักการสอนดนตรี การเรียนการสอนดนตรีไม่ว่าในระดับใดก็ตาม ถ้าผู้สอนมีหลักการสอนหรือเทคนิคการสอนที่ ถูกต้องและเหมาะสม ย่อมช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความเข้าใจในสาระดนตรีมากขึ้น วิธีการ สอนดนตรีจัดว่ามีความสาคัญมาก เนื่องจากผู้เรียนยังไม่สามารถเรียนรู้ในสิ่งทีเป็นนามธรรมได้อย่าง ถ่องแท้ ผูส้ อนจึงควรหาวิธีการที่ช่วยให้ผเู้ รียนเกิดความเข้าใจในสาระต่างๆ ได้ดขี นึ้ ๑. หลักการของออร์ฟ (Carl Orff) หลั ก การของออร์ ฟ เน้ น ที่ ก ระบวนการ ผู้ เ รี ย นมี โ อกาสในการทดลองส ารวจเกี่ ย วกั บ องค์ประกอบดนตรีซึ่งสัมพันธ์กับการเคลื่อนไหว และได้รับประสบการณ์ตรงจากการประกอบกิจกรรม ต่างๆ ในกระบวนการเรียนการสอน เรียนจากเรื่องง่ายไปสู่เรื่องที่ยากและลึกซึ้ ง พยายามเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้สัมผัสกับดนตรีและถ่ายทอดโดยการเคลื่อนไหว ต่อพัฒนาการเคลื่อนไหวให้เป็นไปในรูปของ การสร้างสรรค์ และสุดท้ายเป็นการสร้างสรรค์ทางดนตรีซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประสบการณ์ทางดนตรีที่ ผูเ้ รียนแต่ละคนมีอยู่หรือได้รับจากกระบวนการเรียนสอน ๒. “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราช ดารัสชี้แนะแนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดย กรอบแนวคิดเป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนว ทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็นพื้นฐานมาจากวิถีชี วิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถ นามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลาและเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้น การรอดพ้นจากภัยและวิกฤต เพื่อความมั่นคงของการพัฒนา คุณลักษณะเศรษฐกิจพอเพียงสามารถ นามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนา อย่างเป็นขั้นเป็นตอน ๑. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อม ๆ กัน ดังนี้ ๑) ความพอประมาณ หมายถึ ง ความพอดี ที่ ไ ม่ น้ อ ยเกิ น ไปและไม่ ม ากเกิ น ไปโดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ื่น ๒) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป อย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึง ถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ กระทานัน้ ๆ อย่างรอบคอบ ๓) การมี ภู มิ คุ้ ม กั น ที่ ดี ใ นตั ว หมายถึ ง การเตรี ย มตั ว ให้ พ ร้ อ มรั บ ผลกระทบและการ เปลี่ย นแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิ ดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

๒. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศั ยทั้ง ความรู้ และคุณธรรมเป็นพืน้ ฐาน กล่าวคือ ๑) เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบ ด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และ ความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ ๒) เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้ วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ ซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวติ แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุล และยั่ งยืน พร้อมรับ ต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความรูแ้ ละเทคโนโลยี ดังนั้นข้าพเจ้าจึงได้จัดการเรียนการสอนทักษะด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ โดยให้นักเรียนนา หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการวิเคราะห์และปฏิบัติเพื่อให้เกิด การเรียนรู้ที่แท้จริงอันเกิด ประโยชน์อย่างสูงสุดในทุก ๆ ด้าน ๖.๓ ทฤษฎีดนตรีสากลเบือ้ งต้น การเรียนรู้ทฤษฎีดนตรีสากลเริ่มด้วยการทาความเข้าใจกับเครื่องหมายดนตรีในระดับพื้นฐาน ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่มีความสาคัญอาจเปรียบได้กับพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ อันเป็นเครื่องหมาย ที่ใช้ในการเขียนและการอ่านภาษาไทยซึ่งใช้สอนผู้เริ่มเรี ยน เช่น โน้ต (Note) , เครื่องหมายหยุดหรือตัว หยุด (Rests) , บรรทัด ๕ เส้น . กุญแจประจาหลัก (Time Signature) , เครื่องหมายกาหนดจังหวะ , การกั้นห้องเพลง ๖.๔ ทักษะทางดนตรี ส่วนสาคัญอีกส่วนหนึ่งของสาระดนตรีคอื ทักษะทางดนตรีซึ่งเป็นส่วนที่ช่วยให้เกิดความเข้าใจ สาระดนตรีได้และจัดเป็นหัวใจของการศึกษาดนตรี ทักษะดนตรีแต่ละประเภทย่อมมีความสาคัญเท่า เทียมกัน ดังนั้นในการจัด การเรียนการสอนดนตรี ควรมีการเสนอทักษะดนตรีต่างๆ อย่างครบถ้วน สมบูรณ์ ได้แก่ ทักษะการฟัง , ทักษะการร้อง , ทักษะการเล่น , การเคลื่อนไหว , การสร้างสรรค์ , การ อ่านโน้ต ๖.๕ จิตวิทยาการเรียนรู้ ในการเรียนการสอนดนตรีที่จะให้เกิดผลดีนั้น ผู้สอนจะต้องทราบถึงจิตวิทยาการเรียนรูแ้ ละ ทฤษฎีการเรียนรู้ เพื่อให้การเรียนการสอนดาเนินไป ทาให้เกิดผลดีแก่ผเู้ รียน ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิดของการพัฒนาทักษะปฏิบัติของเดวีส์ (Davie’s Instructional Model for Psychomotor Domain) รูปแบบนีม้ ุ่งช่วยพัฒนาความสามารถด้านทักษะปฏิบัติของผู้เรียน โดยเฉพาะ ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

อย่างยิ่ง ทักษะที่ประกอบด้วยทักษะย่อยจานวนมาก ขั้นที่ ๑ สาธิตทักษะหรือการกระทา , ขั้นที่ ๒ สาธิตและให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่ อย , ขั้นที่ ๓ ให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย . ขั้นที่ ๔ ให้เทคนิควิธีการ , ขั้นที่ ๕ ให้ผู้เรียนเชื่อมโยงทักษะย่อย ๆ เป็นทักษะที่สมบูรณ์ ๗. กระบวนการพัฒนา ๗.๑ กลุ่ ม เป้ า หมายในการน า BP ไปใช้ (ระบุ ร ายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ประเภทและจ านวน กลุ่มเป้าหมาย) นักเรียนชุมนุมดนตรีสากล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ โรงเรียนวัดหนองเสือ อาเภอ ท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ภาคเรียนที่ ๑-๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ จานวน ๑๕ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจจะระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา)

วางแผน / กาหนดเวลา / อธิบาย / ชี้แจง

ดาเนินการตามแผน รวบรวมข้อมูล

วิเคราะห์ / ประเมินผล

ป้องกันและแก้ปัญหา / ให้คาปรึกษา / หาทุน / หารายได้พิเศษ

สรุปและประเมินผล

๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) ๗.๓.๑ วิธีการตรวจสอบคุณภาพ ๑.) ศึกษารายละเอียดของทฤษฎีการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หลักการสอนดนตรี ๒.) ดาเนินการสอนตามขั้นตอนโดยครูผู้สอนเป็นผูส้ าธิตวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องเป็นต้นแบบ กากับดูแลเป็นที่ปรึกษา นักเรียนเป็นผู้ปฏิบัติ ดังนี้ ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

- ขั้นที่ ๑ สาธิตทักษะหรือการกระทา - ขั้นที่ ๒ สาธิตและให้ผเู้ รียนปฏิบัติทักษะย่อย - ขั้นที่ ๓ ให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย - ขั้นที่ ๔ ให้เทคนิควิธีการ - ขั้นที่ ๕ ให้ผเู้ รียนเชื่อมโยงทักษะย่อย ๆ เป็นทักษะที่สมบูรณ์ ๓.) ติดตาม ตรวจสอบผลการดาเนินการของนักเรียน ๔.) เก็บรวบรวมข้อมูล ๕.) วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลและรายงานผล ๖.) ปรับปรุง พัฒนาแล้วนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ “บริหารจัดการดี ดนตรีสร้างสรรค์ ” เป็นการสอนทักษะด้านดนตรี ทาให้นักเรียนสามารถ ปฏิบัติดนตรีสากลได้ดยี ิ่งขึ้น ๗.๔.๑ การจัดกิจกรรมดนตรี ๑. ควรมีการเตรียมความพร้อมก่อนสอน ๒. ในการสอนสาระดนตรีควรเน้นเสียงก่อนสัญลักษณ์ ๓. สัญลักษณ์ที่ใช้ระยะแรกควรเป็นสัญลักษณ์ภาพ หรือสัญลักษณ์ที่งา่ ยต่อการจา ๔. การจัดกิจกรรมดนตรีควรยึดทักษะทางดนตรี โดยให้ผเู้ รียนได้ปฏิบัติทักษะต่างๆ โดยตรง ๕. ควรจัดกิจกรรมดนตรีเพื่อให้ผเู้ รียนรักและสนใจดนตรี ๖. ผูส้ อนควรสารวจความถนัดของผู้เรียน เพื่อเป็นแนวทางในการแนะนา ๗.๔.๒ แนวทางในการสอนเล่นดนตรี ๑.) ผูเ้ รียนทุกคนควรได้เล่นเครื่องดนตรีในการประกอบกิจกรรมทางดนตรี ๒.) เครื่องดนตรีควรอยู่ในสภาพดี พร้อมใช้งานอยู่เสมอ ๓.) การเก็บรักษาเครื่องดนตรี ผู้สอนควรปลูกฝังนิสัยการเก็บรักษาเครื่องดนตรีหลังการ เล่น เพื่อให้ผเู้ รียนเกิดความเคยชินกระทาจนเป็นนิสัย ๔.) การเล่ นเครื่อ งดนตรี ผู้ส อนควรสอนวิธี ก ารเล่ นเครื่อ งดนตรี ใ ห้กั บ ผู้ เ รีย น และควร ทบทวนเสมอเพื่อให้เสียงที่ออกมาไพเราะน่าฟัง นอกจากนี้การเล่นเครื่องดนตรีอย่างถูกวิธี เป็นสิ่งหนึ่ง ที่ช่วยให้เครื่องดนตรีทนทานไม่ชารุดเสียหายอย่างรวดเร็ว

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ ๑๐๐ สามารถปฏิบัติทักษะทางด้านดนตรีสากลได้ ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ผลจากการสอน ทาให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีพ้ืนฐานเรื่องโน้ตดนตรีสากล และสามารถ ต่อยอดความรู้ในการปฏิบัติเ ครื่องดนตรีสากลประเภทอื่นๆ ต่อไปได้ ถูกต้องตามหลักทฤษฎีดนตรี สากล นักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทองชนะเลิศ กิจกรรมวงดนตรีสตริง ระดับชั้น ม.๑-ม.๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ นักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญเงิน กิจกรรมวงดนตรีลูกทุ่ง ประเภท ก ระดับชั้น ม.๑-ม.๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ปี การศึกษา ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕ ได้รับทุนการศึกษา จากการสอบตอบปัญหาธรรมะ ได้รางวัลที่ ๑ และ รางวัล ที่ ๒ จากมูลนิธิเ มตตาธรรมโพธิญ าณ จังหวัดกาญจนบุรี และข้าพเจ้าได้รับรางวัลครูผู้สอน นักเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทองชนะเลิศ กิจกรรมวงดนตรีสตริง ระดับชั้น ม.๑-ม.๓ งาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ได้รับรางวัลครูผู้สอนนักเรียนได้รับรางวัล เกียรติบัตรเหรียญเงิน กิจกรรมวงดนตรี ลูกทุ่ง ประเภท ก ระดับชั้น ม.๑-ม.๖ งานศิลปหัตถกรรม นักเรียน ระดับชาติ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕ และได้รับรางวัลที่ ๑ ในการสอนจริยธรรมดีเด่น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตามโครงการความพอเพียงแห่งชีวติ ประจาปี พ.ศ.๒๕๕๘ ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้เกี่ยวข้องและ วิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) จากการประเมินด้วยแบบสอบถามความพึงพอใจ นักเรียนร้อยละ ๙๓ มีความพึงพอใจต่อการ ปฏิบัติดนตรีสากล ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ๑.) ครูและนักเรียน เข้าใจขั้นตอนการฝึกปฏิบัติดนตรีสากล ๒.) ครูคอยกากับ ติดตาม ให้คาปรึกษา แนะนาการฝึกปฏิบัติดนตรีสากล ๓.) นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อตนเองและกระบวนการทางานกลุ่ม ๔.) ผูบ้ ริหารสถานศึกษาให้การสนับสนุนและให้คาปรึกษาในการดาเนินการและส่งนักเรียนที่มี ความสามารถด้านดนตรีเข้าแข่งขันทักษะทางวิชาการ ๕.) คณะครูในโรงเรียนให้ความร่วมมือและให้กาลังใจในการทางานและส่งนักเรียนไปร่วม แข่งขันทักษะทางวิชาการ ๖.) ผูป้ กครองให้ความร่วมมือในการให้นักเรียนฝึกซ้อมดนตรีหลังเลิกเรียน และวันหยุดเสาร์อาทิตย์ ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP รวบรวมปัญหาจากการสอน วิเคราะห์หาสาเหตุและศึกษาเพิ่มเติมเพื่อหาแนวทางแก้ไข แล้ว นามาพัฒนาการกระบวนการสอน ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP การสอน และการบริหารจัดการชั้นเรียน มีประประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สมดังที่กล่าวว่า “บริหารจัดการดี ดนตรีสร้างสรรค์” ๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง (ระบุวันเวลา และรูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี ผู้รับการเผยแพร่ จานวนคน หมายเหตุ ๑ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๕ คณะครูใน สพป.กาญจนบุรี ๕๐ คน ลงนาม ร.ร.อนุบาลวัดไชยชุมพล เขต ๑ ๔๗ คน ชนะสงคราม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี ๒ ๑๒-๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ งาน คณะครูใน สพป.กาญจนบุรี ๖๐ คน ลงนาม ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ เขต ๑ ๓๔ คน ร.ร.เทพศิรินทร์ลาดหญ้า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี ๓ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ ผูเ้ ข้าชมเว็บไซด์ เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต ว็ปไซด์ของ สพป.กาญจนบุรี เขต ๑ ๔ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ คณะครูและนักเรียนที่เข้าร่วม งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน การแข่งขันในกิจกรรมต่างๆ ระดับชาติ ณ อิมแพค เมืองทองธานี จ.นนทบุรี ๕ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ผูเ้ ข้าชมเว็บไซด์ เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต เว็บไซด์ www.youtube.com ๖ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ คณะครูและนักเรียน 300 คน โรงเรียนบ้านหนองสองตอน โรงเรียนบ้านหนองเสองตอน อ.เมือง จ.กาญจนบุรี ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี ๗ ๑-๓ ธันวาคม ๒๕๕๗ งานสัปดาห์สะพานข้ามแม่น้าแคว จ.กาญจนบุรี ๘ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๗ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับ ภาคกลาง จ.นนทบุรี

ผู้รับการเผยแพร่ ผูเ้ ข้าชมการแสดง

จานวนคน หมายเหตุ

คณะครูและนักเรียนที่เข้าร่วม การแข่งขันในกิจกรรมต่างๆ

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ความภาคภูมใิ จ

รางวัลครูผู้สอนนักเรียน รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ กิจกรรมวงดนตรีสตริง งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๔ ปีการศึกษา ๒๕๕๗

รางวัลครูผู้สอนนักเรียน รางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมการสร้างภาพด้วยการปะติด งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาค ปีการศึกษา ๒๕๕๗

รางวัลชนะเลิศ ครูต้นแบบผู้มีผลงาน/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ (สาระดนตรี) ประจาปี ๒๕๕๕

รางวัลครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ (สาระดนตรี) ด้านวิชาการ รางวัลทรงคุณค่า สพฐ . OBEC AWARDS ประจาปี ๒๕๕๖

รางวัลครูผู้สอนนักเรียน รางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมวงดนตรีลูกทุ่ง งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔

รางวัลครูผู้สอนนักเรียน รางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมวงดนตรีลูกทุ่ง งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์

๑๐


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ความภาคภูมใิ จ

รางวัลที่ ๑ ในการสอนจริยธรรมดีเด่น ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ตามโครงการความพอเพียงแห่งชีวติ ประจาปี พ.ศ.๒๕๕๘

รางวัลครูผู้สอนนักเรียน รางวัลทอง ชนะเลิศ กิจกรรมการสร้างภาพด้วยการปะติด งานศิลปหัตถกรรม นักเรียน เขตพืน้ ที่การศึกษา ครั้งที่ ๖๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๘

หัวหน้ากิจกรรมส่งเสริมวงดนตรีสากล โรงเรียนวัดหนองเสือ สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

หัวหน้ากิจกรรมส่งเสริมวงดนตรีสากล โรงเรียนวัดหนองเสือ สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์

๑๑


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) เกียรติบัตรครู

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์

๑๒


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) เกียรติบัตรนักเรียน

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์

๑๓


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) เกียรติบัตรโรงเรียน

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์

๑๔


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) ผลงานที่เกิดขึ้นกับนักเรียน

รางวัลเหรียญเงิน ชนะเลิศ กิจกรรมวงดนตรี สตริง ระดับม.๑-๓ ระดับชาติ ปีการศึกษา ๒๕๕๗

รางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมวงดนตรีลูกทุ่ง ประเภท ก ระดับม.๑-๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๕

รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ ๒ กิจกรรมวงดนตรีลูกทุ่งประเภท ก ระดับม.๑-๖ระดับภาค ปีการศึกษา ๒๕๕๕

รางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมวงดนตรีลูกทุ่ง ประเภท ก ระดับม.๑-๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๔

รางวัลเหรียญเงิน กิจกรรมวงดนตรีสตริง ระดับม.๑-๓ ระดับภาค ปีการศึกษา ๒๕๕๗

รางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับ ๒ กิจกรรมวงดนตรีลูกทุ่งประเภท ก ระดับม.๑-๖ระดับภาค ปีการศึกษา ๒๕๕๔

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์

๑๕


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) ผลงานที่เกิดขึ้นกับนักเรียน

นักเรียนแสดงดนตรี ร่วมกับ กองพล ร.๙ จ.กาญจนบุรี งานสัปดาห์สะพานข้าม แม่น้าแคว พ.ศ.๒๕๕๗

นักเรียนแสดงดนตรี ร่วมกับ ม.ราชภัฏกาญจนบุรี งานสัปดาห์สะพานข้าม แม่น้าแคว พ.ศ.๒๕๕๗

นักเรียนแสดงดนตรี งานลอยกระทง วัดหนองเสือ พ.ศ.๒๕๕๗

นักเรียนแสดงดนตรี งานแต่งงาน อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี

นักเรียนแสดงดนตรี งานเลี้ยงสังสรรค์ต่างๆ ทั้งในชุมชนและต่างจังหวัด

นักเรียนแสดงดนตรี กิจกรรมต่างๆ ใน โรงเรียนและนอกโรงเรียน

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์

๑๖


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) การเผยแพร่ผลงาน

นักเรียนแสดงดนตรีโรงเรียนต่างๆ

แสดงดนตรีสตริง ระดับชาติ

งานสัปดาห์สะพานข้ามแม่น้าแคว ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์

๑๗


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) กิจกรรมการเรียนรู้

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์

๑๘


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE) กิจกรรมการเรียนการสอน

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์

๑๙


วิธกี ารปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

๒๐

แผนผังการบริหารจัดการชัน้ เรียน

การบริหารจัดการชั้นเรียน

ครูใช้เทคนิควางตัว บุคคลเหมาะสม

รู้จักนักเรียนทุกคน

ครูมีลักษณะ ประชาธิปไตย

ฝึกฝนความสะอาดเรียบร้อย

คอยสร้างความสามัคคี

คุณลักษณะของครู และการจัดการชั้นเรียน

จัดกระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ อย่างหลากหลาย วิเคราะห์หลักสูตร สถานศึกษา การจัดกิจกรรม การเรียนรู้

สร้างบรรยากาศดีในการเรียน ปกครองชั้นเรียน ด้วยความยุติธรรม ครูและนักเรียน มีความสัมพันธ์ อันดีตอ่ กัน

ใช้ส่อื การเรียนรู้ เหมาะสม

เพียรสร้างความสนใจ และเสริมแรง แบ่งภาระงานตามเหมาะสม

ประสานความร่วมมือกับ ผูป้ กครองเพื่อการพัฒนา

ใช้เครื่องมือประเมินผล เหมาะสม หลากหลาย

นาผลการประเมินมาพัฒนา การจัดการชั้นเรียน

ด้านบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.