1
B e s t
ผู้อำนวยกำรกลุ่มยอดเยี่ยม ด้ำนวิชำกำรยอดเยี่ยม นางสาวถนอมศรี อัมพร นักวิชาการเงินและบัญชีชานาญการพิเศษ
P r a c
สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต ๑
2
การบริหารเงินงบประมาณที่เป็ นเลิศ(Best Practice) กำรบริ หำรเงินงบประมำณ เป็ นกระบวนกำรใช้เงิน งบประมำณที่ได้รับให้เป็ นไปตำมวัตถุประสงค์ และเป้ ำหมำยที่ต้ งั ไว้ให้ เกิดประโยชน์สูงสุ ด ถูกต้องตำมระเบียบทันเวลำ หรื อทันเหตุกำรณ์ กำรบริ หำรงบประมำณ จึงเป็ นหัวใจหลักอย่ำงหนึ่งในกำรบริ หำรงำนของ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ และสถำนศึกษำของรัฐบำล โดยเฉพำะเรื่ อง กำรเบิกจ่ำยเงิน เพื่อนำไปดำเนินกำรตำมแผนงำน/โครงกำร ที่วำงไว้ กำรเบิกจ่ำยเงินงบประมำณ เบิกจ่ำยจำกเงินงบประมำณ รำยจ่ำยของส่ วนรำชกำร มีดงั นี้ 1. งบดำเนินงำน ให้ใช้จ่ำยเป็ นรำยจ่ำยใด ๆ ซึ่ งสำนัก งบประมำณกำหนดว่ำเป็ นรำยจ่ำยในประเภทงบรำยจ่ำยนี้ และให้ถวั จ่ำย กันได้ภำยในงบรำยจ่ำยนี้ 2. งบลงทุน ให้ใช้จ่ำยเป็ นรำยจ่ำยใด ๆ ซึ่ งสำนัก งบประมำณกำหนดว่ำเป็ นรำยจ่ำยในงบรำยจ่ำยนี้ ตำมรำยกำรและวงเงิน ที่ได้รับจัดสรร ทั้งนี้ ให้ปฏิบตั ิตำมหลักเกณฑ์ และเงื่อนที่กำหนดไว้ใน แผนปฏิบตั ิงำนและแผนกำรใช้จ่ำยงบประมำณ 3. งบเงินอุดหนุ น ให้ใช้จ่ำยเป็ นรำยจ่ำยใด ๆ ซึ่ งสำนัก งบประมำณกำหนดว่ำเป็ นรำยจ่ำยในงบรำยจ่ำยนี้ ดังนี้ 3.1 ประเภทเงินอุดหนุนทัว่ ไป ให้ใช้จ่ำยตำมรำยกำรและ จำนวนเงินที่กำหนดไว้ในเอกสำรประกอบกำรจัดสรรงบประมำณ 3.2 ประเภทเงินอุดหนุนเฉพำะกิจ ให้ใช้จ่ำยตำมรำยกำร จำนวนเงินและรำยละเอียดอื่นใด ที่กำหนดในเอกสำรประกอบกำร จัดสรรงบประมำณ
นำงสำวถนอมศรี อัมพร นักวิชำกำรเงินและบัญชีชำนำญพิเศษ โทร. 081-7941328
Email: tanomsri3@gmail.com
จำกกำรเปลี่ยนแปลงนโยบำยปฏิรูปกำรศึกษำ เป็ นกำร กระจำยอำนำจให้แก่สถำนศึกษำ และกำรปฏิรูประบบงบประมำณจำกระบบเดิม เป็ นระบบงบประมำณแบบ มุ่งเน้นผลงำน ซึ่ งเป็ นระบบงบประมำณที่ให้ควำมสำคัญกับผลผลิต ผลลัพธ์ ควำมคุม้ ค่ำของกำรใช้จ่ำยเงิน อย่ำงมีประสิ ทธิภำพประสิ ทธิ ผลในกำรดำเนินงำน สถำนศึกษำมีควำมเป็ นอิสระ และควำมคล่องตัวในกำร
3 บริ หำรงบประมำณขึ้น ระบบกำรเบิกจ่ำยเงินงบประมำณเปลี่ยนจำกกำรเบิกเงินจำกคลังจังหวัด เป็ นกำร เบิกจ่ำยตำมระบบกำรบริ หำรกำรเงินกำรคลังภำครัฐสู่ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรื อ GFMIS (Government Fiscial Management) กำรจัดหำพัสดุเป็ นระบบกำรจัดซื้ อ จัดจ้ำงภำครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement : e-GP) กำรเปลี่ยนแปลงดังกล่ำวทำให้กำรเบิกจ่ำยเงินงบประมำณของสำนักงำน เขตพื้นที่กำรศึกษำล่ำช้ำไม่เป็ นไปตำมเป้ ำหมำยที่คณะรัฐมนตรี กำหนด ในปี งบประมำณ 2557 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติให้คณะกรรมกำรติดตำมเร่ งรัดกำรใช้จ่ำย งบประมำณภำครัฐกำหนดมำตรกำรเร่ งรัดติดตำมใช้จ่ำยเงินกำหนดให้มีกำรเบิกจ่ำยงบลงทุนไม่นอ้ ยกว่ำร้อย ละ 82.00 ของวงเงินรำยจ่ำยลงทุน กำรเบิกจ่ำยในภำพรวมไม่นอ้ ยกว่ำร้อยละ 95.00 ของวงเงินงบประมำณ รำยจ่ำย ปัญหำหลักที่ทำให้ผลกำรเบิกจ่ำยไม่เป็ นตำมมำตรกำรจำแนกตำมประเภทงบรำยจ่ำยได้ 2 ประเภท ดังนี้ 1) งบดำเนินงำน (ค่ำตอบแทน ใช้สอย และค่ำวัสดุ) มีปัญหำดังนี้ 1. ผูร้ ับผิดชอบโครงกำรตำมแผนปฏิบตั ิกำรของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำไม่ดำเนินกำร ตำมระยะเวลำที่กำหนดไว้โครงกำร 2.เจ้ำหน้ำที่กำรเงินของโรงเรี ยนขำดควำมรู้ ควำมเข้ำใจในด้ำนเอกสำรกำรเบิกจ่ำย และ วิธีกำรเบิกจ่ำย 3.เจ้ำหน้ำที่พสั ดุมีกำรเปลี่ยนผูป้ ฏิบตั ิงำนทำให้ขำดควำมต่อเนื่ อง ควำมเข้ำใจในกำรขั้นตอนกำร ปฏิบตั ิงำน 2) งบลงทุน (ค่ำครุ ภณั ฑ์ ที่ดินและสิ่ งก่อสร้ำง) มีปัญหำดังนี้ 1. ผูบ้ ริ หำรสถำนศึกษำขำดควำมรู ้ ควำมชำนำญงำน ทำให้เกิดข้อผิดพลำดในกำรสั่งกำร กำรตรวจสอบ ดำเนิ นกำรในเรื่ องที่ไม่มีระเบียบรองรับกำรทำงำน 2. กำรดำเนินกำรหำผูร้ ับจ้ำง กำรก่อหนี้ผกู พันและเบิกจ่ำยของโรงเรี ยนล่ำช้ำไม่เป็ นไป ตำมเป้ ำหมำยที่กำหนด สรุ ปปั ญหำจำกกำรดำเนิ นงำนด้ำนงบประมำณจำแนกได้ 2 ประเภท ดังนี้ (1) งบดำเนินงำน (ค่ำตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ) (2) งบลงทุน (ค่ำครุ ภณั ฑ์ ที่ดินและสิ่ งก่อสร้ำง) กำรประยุกต์ใช้แนวคิด วิธีกำร และกำรดำเนิ นกำรบริ หำรเงินงบประมำณเพื่อแก้ไขปั ญหำ 2 ประเภทดังกล่ำวข้ำงต้น และเพื่อพัฒนำกำรบริ หำรงบประมำณให้มีประสิ ทธิ ภำพและเป็ นไปตำมเป้ ำหมำยที่ หน่วยงำน และมติคณะรัฐมนตรี กำหนด ข้ำพเจ้ำได้นำหลักกำรและแนวคิดของกำรดำเนินงำนตำมวงจรเดิมมิ่ง (Deming Circle) หรื อวงจร (PDCA) มำบริ หำรจัดกำรในกำรบริ หำรเงินงบประมำณของสำนักงำนเขตพื้นที่ กำรศึกษำ ซึ่งมีรำยละเอียดสำมำรถนำเสนอในรู ปแผนภำพกำรบริ หำรเงินงบประมำณ ดังนี้
4
แผนภาพการบริหารเงินงบประมาณ Best Practice เพือ่ แก้ ปัญหาด้ านงบดาเนินงาน ผูร้ ับผิดชอบโครงกำรตำม แผนปฏิบตั ิกำรของสำนักงำนเขต พื้นที่กำรศึกษำไม่ดำเนินกำรตำม ระยะเวลำที่กำหนดไว้ในโครงกำร
P
D
C
แต่งตั้งคณะทำงำน คณะท ำงำน ยด ศึกษำรำยละเอี ประชุมคณะทำงำน บตั ิ แต่แจ้งตัง้ งแนวปฏิ คณะทำงำน แจ้งมำตรกำร คณะท ำงำน งรัดมคณะท ทเร่ประชุ ำทะเบี ยนคุม ำงำน ติดตำมกำรเบิกจ่ำย ปรับเปลี่ยนโครงกำร ใหม่ ทะเบียน คุม เอกสำรขออนุ มตั ิเบิกเงิน สรุ ปผล
A
ปรับปรุ งกำรดำเนินงำน รับฟังควำมคิดเห็น
เจ้ำหน้ำที่กำรเงินของโรงเรี ยนขำด ควำมรู ้ ควำมเข้ำใจในด้ำนเอกสำร กำรเบิกจ่ำย และวิธีกำรเบิกจ่ำย
P
เจ้ำหน้ำที่พสั ดุของโรงเรี ยนมีกำรเปลี่ยนผูป้ ฏิบตั ิงำนทำ ให้ขำดควำมต่อเนื่อง ควำมเข้ำใจในกำรปฏิบตั ิงำน
วิเครำะห์ปัญหำ
หำสำเหตุของปั ญหำ
แต่งตั้งคณะทำงำน
แต่งตั้งคณะทำงำน
ศึกษำระเบียบ กม.
P
อบรมสัมมนำ ทำคู่มือ
D
C
รวบรวมระเบียบ เร่ งรัดติดตำม ให้คำแนะนำ และ ให้ คำปรึ กษำ ติดตำมกำรดำเนินงำน ตรวจสอบเอกสำร
D
ประชุมวำงแผน จัดอบรมสัมมนำ จัดทำคู่มือ ติดตำมสอบถำม เร่ งรัดติดตำม กำกับ ติดตำม
C
ตรวจสอบเอกสำร สร้ำงขวัญกำลังใจ
A
ปรับปรุ งขั้นตอนให้ควำมรู ้ต่อเนื่อง
A
อบรมอย่ำงต่อเนื่อง พัฒนำระบบงำน
5
แผนภาพการบริหารเงินงบประมาณ Best Practice เพือ่ แก้ ปัญหา ด้ านงบลงทุน ผูบ้ ริ หำรสถำนศึกษำขำดควำมรู้ ควำมชำนำญงำน ทำ ให้เกิดข้อผิดพลำดในกำรสั่งกำร กำรตรวจสอบ ดำเนินกำรในเรื่ องที่ไม่มีระเบียบรองรับกำรทำงำน
P
D
C
แต่งตั้งคณะทำงำน ประชุมคณะทำงำน วิเครำะห์ปัญหำ ประชุมสัมมนำ รวบรวมกฎหมำย จัดทำ KM แจ้งเวียน ประชำสัมพันธ์ เอกสำรกำรเบิก สอบถำม ประสำนงำนโดยใช้เทคโนโลยี
กำรดำเนิ นกำรหำผูร้ ับจ้ำง กำรก่อหนี้ ผูกพัน และเบิกจ่ำยของโรงเรี ยนล่ำช้ำ
แต่งตั้งคณะทำงำน
P
วิเครำะห์ปัญหำ กำหนดปฏิทิน แจ้งแนวทำงเร่ งรัด แจ้งปฏิทินกำรปฏิบตั ิงำน
D
C
เร่ งรัดหำผูร้ ับจ้ำง/ผูข้ ำย ติดตำมประกำศเชิญชวน ติดตำมดูแลและเป็ นที่ปรึ กษำ ให้คำแนะนำ กำรก่อหนี้ผกู พันในระบบe-GP ก่อหนี้ผกู พันในระบบ GFMIS รับฟังปั ญหำ
A
จัดกิจกรรมให้ควำมรู ้อย่ำงต่อเนื่อง
A
ปรับปรุ งหำวิธีแก้ปัญหำ
6 กำรปฏิบตั ิงำนบริ หำรเงินงบประมำณ เพื่อแก้ปัญหำด้ำนงบดำเนิ นงำน และงบลงทุนตำม แผนภำพที่ 1 และแผนภำพที่ 2 มีรำยละเอียดสำมำรถอธิ บำยโดยสังเขป ดังนี้ ด้ านงบดาเนินงาน มีปัญหำ 3 ประเด็น ซึ่ งข้ำพเจ้ำได้ใช้แนวคิดกำรแก้ปัญหำตำมวงจรเดมมิ่ง (Deming Circle) หรื อวงจร PDCA มีข้ นั ตอน ดังนี้
1. ผู้รับผิดชอบโครงการตามแผนปฏิบัตกิ ารของสานักงานเขตพืน้ ที่ การศึกษาไม่ ดาเนินการตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ในโครงการ ขั้นตอนวางแผน (Plan) 1) แต่งตั้งคณะทำงำนเร่ งรัดติดตำม 2) ศึกษำรำยละเอียดของโครงกำร 3) ประชุมคณะทำงำน
ขั้นตอนดาเนินงาน (Do) 1) แจ้งแนวปฏิบตั ิเกี่ยวกับระเบียบที่เกี่ยวข้อง 2) แจ้งมำตรกำรเร่ งรัดกำรเบิกจ่ำยให้รองผูอ้ ำนวยกำรสำนักงำนเขตพื้นที่ ผูอ้ ำนวยกำรกลุ่ม เพื่อกำกับติดตำม 3) จัดทำทะเบียนคุมกำรเบิกจ่ำยเป็ นรำยโครงกำร 4) ติดตำมกำรเบิกจ่ำยให้เป็ นตำมระยะเวลำที่กำหนดในโครงกำร 5) ไม่ดำเนิ นกำรตำมระยะเวลำที่กำหนดรำยงำนผูบ้ งั คับบัญชำ เพื่อปรับเปลี่ยนเป็ นโครงกำรใหม่
ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check) 1) ตรวจสอบจำกทะเบียนคุมกำรเบิกจ่ำย 2) ตรวจสอบจำกเอกสำรประกอบกำรเบิกจ่ำย
ขั้นตอนการปรับปรุง (Action) 1) สรุ ปผลกำรดำเนินงำน 2) ปรับปรุ งกำรดำเนินงำนอย่ำงต่อเนื่ อง 3) รับฟังควำมคิดเห็นเพื่อนำไปปรับปรุ ง
7
2. เจ้ าหน้ าที่การเงินของโรงเรียนขาดความรู้ ความเข้ าใจในด้ านเอกสารการ เบิกจ่ าย และ วิธีการเบิกจ่ าย ขั้นตอนวางแผน (Plan) 1) วิเครำะห์ปัญหำที่ตอ้ งกำรแก้ไข 2) แต่งตั้งคณะทำงำน 3) ศึกษำระเบียบ กฎหมำย ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องในกำรปฏิบตั ิงำน เพื่อให้คำแนะนำ และเป็ นที่ ปรึ กษำแก่เจ้ำหน้ำที่ของโรงเรี ยน และผูเ้ กี่ยวข้อง
ขั้นตอนดาเนินงาน (Do) 1) กำหนดจัดอบรมสัมมนำพัฒนำเจ้ำหน้ำที่กำรเงิน 2) จัดทำคู่มือ แบบฟอร์ ม ขั้นตอนในกำรปฏิบตั ิงำน 3) รวบรวมระเบียบที่เกี่ยวข้องในกำรปฏิบตั ิงำน 4) เร่ งรัดติดตำมกำรเบิกจ่ำยของโรงเรี ยนให้เป็ นไปตำมหนังสื อสั่งกำร 5) ให้คำแนะนำ และเป็ นที่ปรึ กษำให้แก่เจ้ำหน้ำที่กำรเงินของโรงเรี ยน
ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check) 1) ติดตำมผลกำรดำเนินงำน โดยกำรออกตรวจเยีย่ มโรงเรี ยน 2) ตรวจสอบเอกสำรประกอบกำรเบิกจ่ำย
ขั้นตอนการปรับปรุง (Action) 1) ปรับปรุ งขั้นตอนกำรเบิกจ่ำยให้เกิดควำมรวดเร็ ว 2) จัดอบรมให้ควำมรู ้ดำ้ นระเบียบที่ใช้ในกำรปฏิบตั ิงำนอย่ำงต่อเนื่ อง
3. เจ้ าหน้ าที่พสั ดุของโรงเรียนมีการเปลีย่ นผู้ปฏิบตั งิ านทาให้ ขาดความต่ อเนื่อง ความเข้ าใจในการปฏิบัตงิ าน ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check) 1) สอบถำมเพื่อหำสำเหตุของปั ญหำจำกผูบ้ ริ หำรโรงเรี ยน 2) แต่งตั้งคณะทำงำน 3) ประชุมคณะทำงำนเพื่อร่ วมวำงแผนแก้ปัญหำ
8
ขั้นตอนดาเนินงาน (Do) 1) กำหนดจัดอบรมสัมมนำให้ควำมรู ้ เกี่ยวกับกฎหมำย ระเบียบที่เกี่ยวข้องแก่เจ้ำหน้ำที่พสั ดุ และ ฝึ กปฏิบตั ิจริ ง 2) จัดทำคู่มือขั้นตอนกำรปฏิบตั ิงำน 3) ติดตำม สอบถำม ปัญหำอุปสรรคในกำรปฏิบตั ิงำน 4) เร่ งรัดติดตำมกำรเบิกจ่ำยเป็ นระยะ ๆ ทุกไตรมำส
ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check) 1) กำกับ ติดตำม 2) ตรวจสอบเอกสำรประกอบกำรเบิกจ่ำยเงิน 3) สร้ำงขวัญกำลังใจแก่ผปู ้ ฏิบตั ิงำน
ขั้นตอนการปรับปรุง (Action) 1) จัดอบรมสัมมนำอย่ำงต่อเนื่ อง 2) พัฒนำระบบงำนให้เกิดควำมรวดเร็ ว ด้ านงบลงทุน มีปัญหำ 2 ประเด็น ซึ่ งข้ำพเจ้ำได้ใช้แนวคิดกำรแก้ปัญหำตำมวงจรเดมมิ่ง (Deming Circle) หรื อวงจร PDCA มีข้ นั ตอนโดยสังเขป ดังนี้
1. ผู้บริหารสถานศึกษาขาดความรู้ ความชานาญงาน ทาให้ เกิด ข้ อผิดพลาดในการสั่งการ การตรวจสอบ ดาเนินการในเรื่องทีไ่ ม่ มีระเบียบรองรับการ ทางาน ขั้นตอนการวางแผน ( P:Plan ) 1) แต่งตั้งคณะทำงำน 2) ประชุมคณะทำงำนร่ วมกัน 3) วิเครำะห์ปัญหำเพื่อเป็ นแนวทำงในกำรแก้ปัญหำ
ขั้นตอนการดาเนินงาน (D:Do) 1) กำหนดจัดประชุ มสัมมนำ ให้ควำมรู ้ เกี่ยวกับระเบียบที่เกี่ยวข้องในบทบำทหน้ำที่ของผูบ้ ริ หำร สถำนศึกษำ 2) รวบรวมกฎหมำย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในกำรกำกับ ดูแล ติดตำม 3) จัดทำกิจกรรมกำรแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ระหว่ำงสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ และโรงเรี ยน 4) แจ้งเวียนประชำสัมพันธ์
9
ขั้นตอนการตรวจสอบ (C:Check) 1) ประเมินผลจำกเอกสำรกำรเบิกจ่ำย 2) กำรสอบถำม 3) ประสำนงำนโดยใช้เทคโนโลยี เช่น Face book , Line และโทรศัพท์
ขั้นตอนการปรับปรุง (Action) จัดกิจกรรมให้ควำมรู ้ และมีกำรแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้เกี่ยวกับกฎหมำย ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องในกำร ปฏิบตั ิงำนอย่ำงต่อเนื่ อง
2. การดาเนินการหาผู้รับจ้ าง การก่อหนีผ้ ูกพัน และเบิกจ่ ายของโรงเรียน ล่าช้ า ขั้นตอนการวางแผน ( P:Plan ) 1) แต่งตั้งคณะทำงำน 2) ร่ วมประชุมเพื่อวิเครำะห์ปัญหำในกำรเบิกจ่ำย 3) กำหนดปฏิทินกำรปฏิบตั ิงำน
ขั้นตอนการดาเนินงาน (D:Do) 1) แจ้งแนวทำงเร่ งรัดกำรเบิกจ่ำยให้เป็ นไปตำมมติคณะรัฐมนตรี 2) แจ้งปฏิทินกำรดำเนินงำนเพื่อใช้เป็ นแนวทำงในกำรปฏิบตั ิ 3) เร่ งรัดให้โรงเรี ยนดำเนิ นกำรหำผูข้ ำยหรื อผูร้ ับจ้ำงตำมระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำ ด้วยกำรพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม เมื่อได้รับกำรจัดสรร 4) กำกับติดตำมจำกประกำศเชิญชวนในระบบกำรจัดซื้ อจัดจ้ำงภำครัฐ ( e-GP) 5) ติดตำมดูแล และเป็ นที่ปรึ กษำ ในกำรดำเนิ นงำน หำกไม่สำมำรถดำเนิ นกำรได้ จัดทำเจ้ำหน้ำที่เข้ำ ช่วยเหลือดูแล 6) ให้คำแนะนำ ขอควำมร่ วมมือ และประสำนงำนหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง กรณี ที่โรงเรี ยนมีปัญหำไม่ สำมำรถดำเนินกำรได้
ขั้นตอนการตรวจสอบ (C:Check) 1) กำรก่อหนี้ผกู พันในระบบกำรจัดซื้ อจัดจ้ำงภำครัฐ (e-GP) 2) กำรก่อหนี้ผกู พันในระบบ GFMIS
10
ขั้นตอนการปรับปรุง (A:Action) 1) รับฟังปั ญหำอุปสรรคในกำรปฏิบตั ิงำน 2) กำหนดแนวทำงเพื่อปรับปรุ งให้มีควำมรวดเร็ ว 3) สรุ ปปัญหำรำยงำนผูบ้ งั คับบัญชำ และนำเข้ำที่ประชุมสัมมนำผูอ้ ำนวยกำรกลุ่มบริ หำรงำนกำรเงิน และสิ นทรัพย์ กำรบริ หำรจัดกำรเงินงบประมำณให้บงั เกิดผลสำเร็ จอย่ำงมีคุณภำพ และเป็ นที่ยอมรับแก่ผรู ้ ับบริ กำรได้ นำหลักกำรบริ หำรตำมหลักเกณฑ์กำรบริ หำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี คือนำหลักธรรมำภิบำลมำใช้ในกำรบริ หำร เงินงบประมำณ ดังนี้
แนวคิดตามหลักธรรมาภิบาลที่นามาใช้ ในการบริหารเงินงบประมาณ 1.กำรบริ หำรตำมหลักนิติธรรม (The Rule of Law) ใช้กฎหมำย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่ำง ๆ กำกับ งบประมาณ
ติดตำม ให้เจ้ำหน้ำที่ผรู ้ ับผิดชอบในกำรเบิกจ่ำยค่ำใช้จ่ำยต่ำง ๆ กำรจัดซื้ อจัดจ้ำงและดำเนินกำรตรวจสอบ เอกสำรและหลักฐำนประกอบกำรขอเบิกให้เป็ นไปตำมระเบียบแบบแผนของทำงรำชกำร และใช้จ่ำย งบประมำณให้เป็ นไปตำมวัตถุประสงค์ บริ หำรงบประมำณตำมระเบียบ กฎหมำยที่กำหนดไว้ 2. กำรบริ หำรตำมหลักคุณธรรม (Morality) ให้เจ้ำหน้ำที่ผรู ้ ับผิดชอบยึดมัน่ ในควำมถูกต้อง ดี งำม ส่ งเสริ มให้บุคลำกรพัฒนำตนเอง ให้มีควำมซื่ อสัตย์ จริ งใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ วินยั ไม่ให้มีกำรทุจริ ต ในกำรใช้จ่ำยงบประมำณ 3. กำรบริ หำรตำมหลักควำมโปร่ งใส (Accountability) บริ หำรงบประมำณด้วยควำมโปร่ งใส จัดทำ คำสั่งมอบหมำยงำนให้มีผปู ้ ฏิบตั ิงำนด้ำนกำรเงิน กำรบัญชี และกำรพัสดุดว้ ยควำมโปร่ งใส่ มีกำรควบคุมกำร ใช้จ่ำยงบประมำณ พัสดุครุ ภณ ั ฑ์ โดยจัดทำทะเบียนคุมงบประมำณ ทะเบียนคุมครุ ภณ ั ฑ์ 4. กำรบริ หำรตำมหลักกำรมีส่วนร่ วม (Participation) ให้บุคลำกรหรื อผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่ วม ทำงกำรบริ หำรจัดกำรเกี่ยวกับกำรตัดสิ นใจในเรื่ องต่ำง ๆ เช่น เป็ นคณะกรรมกำร คณะอนุกรรมกำร คณะทำงำน ร่ วมแสดงควำมคิดเห็น แนะนำ ปรึ กษำ ร่ วมวำงแผน และร่ วมปฏิบตั ิ 5. กำรบริ หำรตำมหลักควำมรับผิดชอบ (Responsibility) ให้เจ้ำหน้ำที่ตระหนักในสิ ทธิและหน้ำที่ ควำมสำนึกในควำมรับผิดชอบต่อสังคม กำรใส่ ใจปั ญหำกำรบริ หำรจัดกำร กำรกระตือรื อร้นในกำรแก้ปัญหำ และเคำรพในควำมคิดเห็นที่แตกต่ำง รวมทั้งควำมกล้ำที่จะยอมรับผลดีและผลเสี ยจำกกระทำของตนเอง 6. กำรบริ หำรตำมหลักควำมคุม้ ค่ำ (Cost – effectiveness or Economy) กำรบริ หำรจัดกำรและใช้ ทรัพยำกรที่มีจำกัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่ส่วนร่ วม โดยกำรณรงค์ให้บุคลำกรในสำนักงำนมีควำม ประหยัด ใช้วสั ดุอุปกรณ์อย่ำงคุม้ ค่ำ ส่ งเสริ มกำรประหยัดน้ ำประหยัดไฟฟ้ ำ
11
ผลสาเร็จจากการนาผลการทางานไปใช้ ประโยชน์ จำกแนวคิด หลักกำร ทฤษฎี วงจรเดมมิ่ง (Deming Circle) หรื อวงจร PDCA และ หลักธรรมำภิบำล ที่นำมำใช้ในกำรดำเนินงำนตำมขั้นตอน กระบวนกำร สำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ในกำร บริ หำรงบประมำณของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำอย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ ผูร้ ับผิดชอบโครงกำรตำม แผนปฏิบตั ิกำรของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำเร่ งดำเนิ นกำรให้เป็ นไปตำมเป้ ำหมำยของโครงกำร ผูบ้ ริ หำร โรงเรี ยนมีควำมเข้ำใจบทบำทหน้ำที่ในกำรบริ หำรงบประมำณให้ขอ้ เสนอแนะ เป็ นที่ปรึ กษำ และกำกับ ติดตำม กำรใช้จ่ำยเงินงบประมำณให้ถูกต้องตำมระเบียบของทำงรำชกำร เจ้ำหน้ำที่กำรเงิน และเจ้ำหน้ำที่ พัสดุของโรงเรี ยน มีควำมรู้ควำมเข้ำใจ ได้นำควำมรู้ที่ได้รับกำรจำกกำรอบรมสัมมนำ คู่มือที่ใช้ในกำร ปฏิบตั ิงำน นำไปปฏิบตั ิจริ งได้ มีผลทำให้กำรเบิกจ่ำยเงินงบประมำณปี 2557 ของสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประถมศึกษำกำญจนบุรี เขต 1 เป็ นอย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพใช้งบประมำณอย่ำงคุม้ ค่ำ เกิดประโยชน์ต่อนักเรี ยน และโรงเรี ยน กำรเบิกจ่ำยและกำรก่อหนี้ผกู พันได้เรี ยบร้อย ไม่มีงบประมำณตกหล่นหรื อพับไป
ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1. เจ้ำหน้ำที่กำรเงิน และเจ้ำหน้ำที่พสั ดุของโรงเรี ยนในสังกัด ได้รับควำมรู ้ ควำม เข้ำใจ เกี่ยวกับกฎหมำย ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องในกำรปฏิบตั ิงำน 2. งบดำเนินงำนเบิกจ่ำยได้ตำมเป้ ำหมำย ร้อยละ 98.70
ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1. งบดาเนินงาน 1.1 โรงเรี ยนในสังกัด จำนวน 145 โรงเรี ยน เบิกเงินได้ครบถ้วนตำมเป้ ำหมำย ทุกแผนงำน / โครงกำร 1.2 ผูร้ ับผิดชอบโครงกำรตำมแผนปฏิบตั ิกำรสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ดำเนินงำน เป็ นไปตำมเป้ ำหมำยของโครงกำร ภำยในระยะเวลำที่กำหนด 2. งบลงทุน 2.1 โรงเรี ยนที่ได้รับจัดสรรงบประมำณรำยกำรงบลงทุน ก่อหนี้ผกู พันได้ครบ ทุกรำยกำร 2.2 โรงเรี ยนในสังกัดมีวสั ดุ ครุ ภณ ั ฑ์ อำคำรเรี ยน อำคำรประกอบมีกำรปรับปรุ ง ซ่อมแซม ทำให้ปลอดภัยต่อนักเรี ยน ซึ่ งเป็ นส่ วนสนับสนุ นให้ผลสัมฤทธิ์ ทำงกำรเรี ยนดีข้ ึน ทำให้ผเู ้ รี ยนเป็ น คนดี คนเก่ง และมีควำมสุ ข
12
ปัจจัยที่ทาให้ การบริหารเงินงบประมาณ (Best Practice) ประสบความสาเร็จ 1. กำรวำงแผนที่ดี โดยใช้วงจรกำรทำงำนเชิงระบบ PDCA มีกำรเตรี ยมกำร จัดทำ และตรวจสอบเป็ นระยะ ๆ 2. นำหลักธรรมำภิบำลในกำรบริ หำรเงินงบประมำณ ให้เกิดควำมโปร่ งใส่ มีประสิ ทธิภำพ และตรวจสอบได้ 3. มีกำรติดต่อประสำนงำนและกำรสื่ อสำรที่ดี 4. กำรมีส่วนร่ วมของบุคลำกรและผูเ้ กี่ยวข้องทุกฝ่ ำย 5. กำรมอบหมำยหน้ำที่ควำมรับผิดชอบ
การประชาสั มพันธ์ ผลสาเร็จของการดาเนินงาน 1. จัดทำคู่มือกำรจัดซื้ อจัดจ้ำง ในระบบกำรจัดซื้ อจัดจ้ำงภำครัฐ (e-GP) 2. จัดทำคู่มือกำรเบิกจ่ำยเงินสวัสดิกำร 3. ผลกำรเบิกจ่ำยเงินงบประมำณงบดำเนิ นงำนเป็ นไปตำมเป้ ำหมำย
13
ภาคผนวก
14
ภาพกิจกรรมอบรม
15
16
17
ภาพการตรวจเยีย่ มโรงเรียน
18
ภาพกิจกรรมการประชุม
19