BEST PRACTICE ของ นางสาวสุรีรัตน์ กลิ่นหอม ครูโรงเรียนบ้านหนองสองห้อง สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

Page 1

1


2

ใบสมัครส่งผลงานเพื่อประกวดรางวัลหน่วยงานและผู้มีผลงานดีเด่นที่ประสบผลสาเร็จ เพื่อรับ “รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS ปีการศึกษา ๒๕๕๘ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ............................................... ชื่อ – สกุล นางสาวสุรีรัตน์ กลิ่นหอม . ตาแหน่ง ครู . โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ โทรศัพท์มือถือ 084 – 4163144 E-mail: tick1300@hotmail.com Facebook :Ticky Klinhom ๑. ประเภทหน่วยงานยอดเยี่ยม ๑.๑ ขนาด  เล็ก (นักเรียนไม่เกิน ๑๒๐ คน) กลาง (นักเรียนไม่เกิน ๑๒๑ – ๑๘๐ คน)  ใหญ่ (นักเรียนไม่เกิน ๑๘๑ – ขึ้นไป)  ขยายโอกาสทางการศึกษา ๑.๒ ด้าน  วิชาการ  บริหารจัดการ  นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ๒. ประเภทบุคคลยอดเยี่ยม ๒.๑ ด้าน  วิชาการบริหารจัดการ  นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ๒.๒ ตาแหน่ง  ผอ.สพป.  รองผอ.สพป. ผอ.กลุ่ม  ผอ.สถานศึกษา  รอง ผอ.สถานศึกษา  ครู  ศึกษานิเทศก์  บุคลากรฯ ๓๘ ค.(๒)  ลูกจ้าง ๒.๓ ครู ระดับ  ก่อนประถมศึกษา  ประถมศึกษา  มัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้  ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  สังคมศึกษา  ศิลปะ  สุขศึกษาและพลศึกษา  ภาษาต่างประเทศ  การงานอาชีพและเทคโนโลยี บูรณาการ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน  กิจกรรมแนะแนว  กิจกรรมนักเรียน(ระบุลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ฯลฯ)  กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์


3

๓. คุณสมบัติ ๓.๑ ดารงตาแหน่งลูกจ้าง หรือพนักงานราชการ หรือข้าราชการพลเรือนสามัญ หรือ ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.2 ปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่ง ลูกจ้าง หรือพนักงานราชการ หรือข้าราชการพลเรือนสามัญ หรือ ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับถึงวันที่ยื่นขอรับการประเมิน ๓.๓เป็นผู้ไม่เคยถูกลงโทษทางวินัยภายใน ๒ ปีนับถึงวันที่ยื่นขอรับการประเมิน ๓.๔ มีความประพฤติในการครองตน ครองคน ครองงาน เป็นแบบอย่างที่ดีและยอมรับของบุคคลในวิชาชีพใน สังคม ๓.๕ มีผลการปฏิบัติงานเป็นที่ยอมรับตามหลักเกณฑ์และวิธีการของคณะกรรมการประเมินกาหนด พร้อมนี้ ข้าพเจ้าได้ยื่นใบสมัครและแบบการประเมินตนเอง ตามแบบการประเมินคุณสมบัติเบื้องต้น ตาม คู่มือการประเมินรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS สพฐ. และได้ส่ง Best Practice มาพร้อมนี้ ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อความที่แจ้งไว้ในเอกสารหลักฐานประกอบการคัดเลือก ถูกต้องและเป็นความจริง ทุกประการพร้อมนี้ ลงชื่อ.......................................................................ผู้สมัคร (นางสุรีรัตน์ กลิ่นหอม) วันที่ 17 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2558


4

หมายเหตุ ๑. ตาแหน่งลูกจ้าง ไม่ต้องระบุด้าน ตามข้อ ๒.๑ ๒. จัดส่งใบสมัครการประกวด OBEC AWARDS และแบบการประเมินคุณสมบัติเบื้องต้น (1 ชุด) ไม่เกิน วันที่ 23 พฤศจิกายน ๒๕๕8 โดยส่งมาที่ กลุ่มบริหารงานบุคคล สพป.กาญจนบุรี เขต ๑ ๓. จัดส่งวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( Best Practice) ที่เกิดจากการดาเนินงานในด้านวิชาการ ,บริหารจัดการ หรือด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนโดยมีกระบวนการ ขั้นตอนในการพัฒนาผลงานมี คุณภาพและเกิดประโยชน์ต่อการศึกษาตามแบบฟอร์ม จานวน ๑๐ ข้อ พร้อมแนบภาพถ่าย เอกสาร หลักฐาน หรือผลงานประกอบ ไม่เกิน ๒๐ หน้า เป็นไฟล์ PDF ทาง e-mail :poopiyanard@gmail.com และส่งรูปเล่มวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ภายในวันที่ 23 พฤศจิกายน ๒๕๕8 ๔. เตรียมจัดทารายงานการประเมินตนเอง ( SAR) ตามเกณฑ์หรือตัวชี้วัด ตามคู่มือการประเมินรางวัล ทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDSซึ่งจะแจ้งกาหนดส่งในภายหลัง ๕. สามารถดาวน์โหลดคู่มือการประเมินรางวัลทรงคุณค่า OBEC AWARDS ทางเว็บไซต์ www.kan1.go.th หรือ Facebook ปิยนาถ สืบเนียม ในกลุ่ม OBEC AWARDS


1

1. ชื่อผลงาน การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่การสร้างทางเลือกโดยใช้โครงงานเป็นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ด้านบริหารจัดการชั้นเรียนยอดเยี่ยม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา 2.1 ชื่อผู้พัฒนา นางสาวสุรีรัตน์ กลิ่นหอม 2.2 โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง เครื่องข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาหนองตากยา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่การสร้างทางเลือก ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ด้าน บริหารจัดการชั้นเรียนยอดเยี่ยม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4. ระยะเวลาในการนาไปพัฒนา 1 ภาคเรียน (ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557) 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมายสถานศึกษา ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมายสถานศึกษาแผนดังภาพนี้


2

1. 2. 3. 4.

แนวทางในการดาเนินงาน สารวจความต้องการของผู้เรียนและชุมชน วางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ ดาเนินการจัดการเรียนรู้ ประเมินผลการจัดการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทาง การปรับปรุงแก้ไข

การวัดประเมินผล 1. 2.

การประเมินชิ้นงาน / ภาระงาน ความสามารถด้านทักษะการปฏิบัติงาน ของนักเรียน

ประโยชน์ที่ได้รับ 1.

2. 3.

นักเรียนมีความรู้ในการทางานตามความถนัด โดยใช้ โครงงานเป็นฐาน นักเรียนมีทักษะในการทางานโดยใช้โครงงานเป็นฐาน นักเรียนมีนิสัยรักการทางาน

การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่การสร้างทางเลือกโดยใช้โครงงานเป็นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ด้านบริหารจัดการชั้นเรียนยอดเยี่ยม ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

วัตถุประสงค์ 1.

2.

3.

เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ตามความถนัดและความสนใจโดยใช้โครงงาน เป็นฐาน เพื่อให้นักเรียนมีทักษะ และความสามารถตามความถนัดโดยใช้ โครงงานเป็นฐาน เพื่อให้นักเรียนมีนิสัยรักการทางาน และทางานอย่างมีระบบ

โครงสร้าง หน่วยการเรียนรู้ / เวลาเรียน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

การจัดดอกไม้ 2 ชม. การทากรอบรูปจากไม้ไผ่ 2 ชม. การถักกระเป๋าแสนสวน 6 ชม. โปรแกรมออกแบบโลโก้ 4 ชม. กระประเมินชิ้นงาน 2 ชม. การจัดจาหน่าย 4 ชม.


3

6.แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP 1. แนวคิดการจัดการเรียนรู้ 2.การใช้เทคโนโลยี 3.แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 7.รูปแบบ/กระบวนการพัฒนา BP การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน (Project-based Learning) การเรียนรู้ด้วยโครงงาน เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญรูปแบบหนึ่ง ที่เป็นการให้ผู้เรียนได้ลง มือปฏิบัติจริงในลักษณะของการศึกษา สารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น โดยครูเปลี่ยนบทบาทจากการเป็น ผู้ให้ความรู้ (teacher) เป็นผู้อานวยความสะดวก ( facilitator) หรือผู้ให้คาแนะนา ( guide) ทาหน้าที่ออกแบบ กระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทางานเป็นทีม กระตุ้น แนะนา และให้คาปรึกษา เพื่อให้โครงการสาเร็จ ลุล่วง ประโยชน์ของการเรียนรู้ด้วยโครงงาน สิ่ง ที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนรู้ด้วย PBL จึงมิใช่ตัวความรู้ (knowledge) หรือวิธีการหาความรู้ ( searching) แต่เป็นทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (learning and innovation skills) ทักษะชีวิตและประกอบอาชีพ (Life and Career skills) ทักษะด้านข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารและเทคโนโลยี (Information Media and Technology Skills) การออกแบบโครงงานที่ดีจะกระตุ้นให้เกิดการค้นคว้าอย่าง กระตือรือร้นและผู้ เรียนจะได้ฝึกการใช้ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และแก้ปัญหา ( critical thinking & problem solving) ทักษะการสื่อสาร ( communicating) และทักษะการสร้างความร่วมมือ (collaboration)ประโยชน์ที่ได้ สาหรับครูที่นอกจากจะเป็นการพัฒนาคุณภาพด้าน วิชาชีพแล้ว ยังช่วยให้เกิดการทางานแบบร่วมมือกับเพื่อนครู ด้วยกัน รวมทั้งโอกาสที่จะได้สร้างสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียนด้วย ขั้นตอนที่สาคัญในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมความพร้อม ครู เตรียมมอบหมายโครงงานโดยระบุในแผนการสอน ในชั้นเรียนครูอาจ กาหนดขอบเขตของโครงงานอย่างกว้างๆ ให้สอดคล้องกับรายวิชา หรือความถนัดของนักเรียน และเตรียมแหล่ง เรียนรู้ ข้อมูลตัวอย่าง เพื่อเป็นแนวทางให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ขั้นตอนที่ 2 การเลือกหัวข้อ ให้ นักเรียนเป็นผู้สร้างทางเลือกในการออกแบบโครงงานเอง เพื่อเปิดโอกาสให้รู้จักการ ค้นคว้าและสร้างสรรค์ความรู้เชิงนวัตกรรม ครูอาจให้ผู้เรียนทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องก่อน เพื่อเป็นแนวทาง ในการเลือกหัวข้อ การทางานเป็นทีม กระตุ้นให้เกิด brain storm จะทาให้เกิดทักษะ ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ ทักษะ การสื่อสาร และทักษะการสร้างความร่วมมือ


4

ขั้นตอนที่ 3 การเขียนเค้าโครงการ เขียนเค้าโครงของโครงงาน เป็นการสร้าง mind map แสดงแนวคิด แผน และ ขั้นตอนการทาโครงงาน เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมองเห็นภาระงาน บทบาท และระยะเวลาในการดาเนินงาน ทาให้สามารถ ปฏิบัติโครงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติโครงงาน นัก เรียนลงมือปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ในเค้าโครงของโครงงาน ถ้ามีการวางเค้า โครงเอาไว้แล้ว นักเรียนจะรู้ได้เองว่าจะต้องทาอะไรในขั้นตอนต่อไป โดยไม่ต้องรอถามครู ในระหว่างการดาเนินการ ครูผู้สอนอาจมีการให้คาปรึกษาอย่างใกล้ชิดหรือร่วมแก้ ปัญหาไปพร้อมๆกับนักเรียน ขั้นตอนที่ 5 การนาเสนอโครงงาน นัก เรียนสรุปรายงานผล โดยการเขียนรายงาน หรือการนาเสนอในรูปแบบอื่นๆ เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์จัดนิทรรศการ รายงานหน้าชั้นส่งงานทางเว็บไซต์หรืออีเมล ถ้ามีการประกวดหรือแข่งขัน ด้วยจะทาให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้นมากขึ้น ขั้นตอนที่ 6 การประเมินผลโครงงาน การ ประเมินโครงงานควรมีการประเมินผลการเรียนรู้โดยหลากหลาย (muiti evaluation) เช่น นักเรียนประเมินตนเอง ประเมินซึ่งกันและกัน ประเมินจากบุคคลภายนอก การประเมินจะไม่วัด เฉพาะความรู้หรือผลงานสุดท้ายเพียงอย่างเดียว แต่จะวัดกระบวนการที่ได้มาซึ่งผลงานด้วย การประเมินโดยครู หลายคนจะเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์และทาให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างครูด้วยกันอีกด้วย แหล่งเรียนรู้ 7.1กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 90 คน


5

7.2ขั้นตอนการพัฒนา BP

ขั้นตอนการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมสู่การสร้างทางเลือกโดยใช้โครงงานเป็นฐาน

ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมความพร้อม

ขั้นตอนที่ 2 การเลือกทางเลือก

ขั้นตอนที่ 3 การเขียนโครงการ

ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติโครงงาน

ขั้นตอนที่ 5 การนาเสนอโครงงาน

ขั้นตอนที่ 6 การประเมินผลโครงงาน


6

7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP การหาคุณภาพของเครื่องมือโดยหาค่า IOC จากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน 7.4 แนวทางการนาBPไปใช้ประโยชน์ บริหารการจัดการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วม 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP นักเรียนมีทกั ษะการแก้ปญ ั หาและทักษะชีวติ ในระดับดี 9.กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจซ้า BP ตรวจซ้าโดยการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญและการประเมินผล 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP สามารถนาแนวทางการบริหารจัดการชั้นเรียนไปใช้และเผยแพร่ได้ 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง - การจัดนิทรรศการ - การประชาสัมพันธ์ในชุมชน


7

ภาคผนวก 1.โครงสร้าง/หน่วยการเรียนรู้และเวลาเรียน 2.ประมวลภาพ


8

โครงสร้าง หน่วยการเรียนรู้/เวลาเรียน ลาดับที่

หน่วยการเรียนรู้

เวลาเรียน(ชั่วโมง)

1

การจัดทาดอกไม้

2

2

การทากรอบรูปจากไม้ไผ่

2

3

การถักกระเป๋าแสนสวย

6

4

โปรแกรมออกแบบโลโก้

4

5

การประเมินชิ้นงาน

2

6

การจัดจาหน่าย

4


9


10


11


12


13


14


15


16


17


18


19


20


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.