-1รูปแบบการปฏิบัติทเี่ ป็ นเลิศ ( Best practice ) 1. ชื่ อผลงาน “ เด็กไทยหัวใจพอเพียง ” กิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบรู ณาการตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในเด็กปฐมวัย 2. ข้ อมูลผู้เสนอผลงาน นางสาวชฎาภรณ์ ป้อมสกุล โรงเรี ยน บ้านท่าแย้ อาเภอ ด่านมะขามเตี้ย เครื อข่ายพัฒนาคุณภาพกลุ่ม พ่อขุนด่าน โทรศัพท์ 087 – 818 – 7611 3.หลักการเหตุผล / ความเป็ นมา หากนึกถึงเด็กอนุบาล เรามักนึกถึงภาพของเด็ก ตัวเล็ก ๆ สะพายกระเป๋ าไปโรงเรี ยน ร่ วมกิจกรรม กับโรงเรี ยนและคุณครู อย่างสนุกสนาน ไม่ว่าจะเป็ นการร้องเต้นเล่นละคร ซึ่ งเป็ นกิจกรรมที่ช่วย เสริ มสร้างจินตนาการ และพัฒนาการการเรี ยนรู ้ของเด็กวัยนี้เป็ นส่ วนใหญ่ แต่อาจเป็ นโชคดีของเด็ก อนุบาลในปัจจุบนั เมื่อคณะครู ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของเด็กมากขึ้น และเชื่อว่าด้วยศักยภาพที่พวกเขามี หากได้รับการปลูกฝังในเรื่ องต่าง ๆจะนามาซึ่ งการพัฒนาที่ยงั่ ยืน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การพัฒนาตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียงที่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯได้ดารัสไว้ จะนามาซึ่ งความคิด อุปนิสัย และ พฤติกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อเด็ก เหตุดงั กล่าว จึงได้จดั กิจกรรมการเรี ยนรู ้แบบบูรณาการด้วยการสอดแทรกสาระความรู ้เศรษฐกิจ พอเพียงในหลักสู ตรการเรี ยนรู ้พร้อมสื่ อประกอบการเรี ยนรู ้ ประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียงในกิจกรรม พัฒนาผูเ้ รี ยนโดยยึดความสมดุลของเศรษฐกิจ สังคมและสิ่ งแวดล้อมของเด็ก ซึ่ งกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ดังกล่าวนี้คุณครู และเด็กอนุบาลจะสามารแสดงผลงานที่เกิดจากการบูรณาการกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตาม หลักเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเป็ นรู ปธรรมและเป็ นอีกหนึ่ งบทพิสูจน์ที่จะแสดงให้เห็นว่าครู สามารถ พัฒนาเด็กอนุบาลตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 4. เป้ าหมาย/ วัตถุประสงค์ 4.1. นักเรี ยนได้รับการพัฒนาวิธีคิด อุปนิสัย พฤติกรรมที่สอดคล้องตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และส่ งเสริ มพัฒนาการทั้ง 4 ด้านประกอบด้วยร่ างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา 4.2. นักเรี ยนสามารถซึมซับการนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ดาเนินชีวิตในแบบเด็กปฐมวัย 4.3. นักเรี ยนได้รับความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปันเงินและสามารถสร้างสมดุลของการใช้จ่าย จากค่าขนมของตนเองได้ 4.4. นักเรี ยนได้รับความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณค่าทรัพยากรที่มีอยูร่ อบบ้านผ่านกิ จกรรมครัว ของหนู ตลาดหลังบ้านและการแปรรู ปอาหาร
-24.5.นักเรี ยนได้ซาบซึ้ งถึงพระกรุ ณาธิคุณอันยิง่ ใหญ่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ผ่าน กิจกรรมเรี ยนรู ้แบบบรู ณาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและเป็ นแนวทางในการขยายสู่ สถาบันครอบครัว 4.6. นักเรี ยนได้เรี ยนรู ้หลักการจาแนก เปรี ยบเทียบ การนับ และการแบ่งปัน 5. แนวคิดหลักการ ทฤษฎีทเี กีย่ วข้ อง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พระราชทาน พระราชดาริ ช้ ีแนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด มีพระราชดารัสครั้งแรก ประมาณปี พ.ศ. 2516 ตอนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจและเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางแก้ไข เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยูไ่ ด้อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนภายในกระแสโลกาภิวฒั น์ และความ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือแนวทางการดารงชีวิตและปฏิบตั ิตนให้สมดุล ไม่มากไป ไม่ น้อยไป และพร้อมต่อการยอมรับ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สิ่ งแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม ซึ่ ง หลักปฏิบตั ิตอ้ งคานึงถึงความพอเพียงใน 5 ด้าน ดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่มากเกินไป และไม่นอ้ ยเกินไป ไม่ทาอะไรสุ ดโต่ง ซึ่ งต้องไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ื่น สามารถแบ่งคุณลักษณะความพอประมาณตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง ได้ดงั นี้คือพอเหมาะกับสภาพของตน และพอควรกับสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ / สังคม (ไม่โลภ จนเบียดเบียนตัวเอง/ผูอ้ ื่น/ทาลายสิ่ งแวดล้อม) 2. ความมีเหตุผล หมายถึง เหตุผลในการทาหรื อปฏิบตั ิโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆ อย่างรอบคอบ สามารถแบ่งคุณลักษณะความ มีเหตุผลตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ได้ดงั นี้คือ ไม่ประมาท (รอบรู ้ / มีสติ) รู ้สาเหตุ – ทาไม รู ้ปัจจัยที่ เกี่ยวข้อง และรู ้ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในด้านต่างๆ 3. การมีภูมิคุม้ กันที่ดี หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับกัลป์ ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้าน ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นทั้งใกล้และไกล สามารถแบ่งคุณลักษณะการมีภูมิคมุ ้ กันที่ดีตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงได้ ดังนี้คือสุ ขภาพดี พร้อมรับ ความเสี่ ยงต่างๆ (วางแผน/เงินออม/ประกัน) ทาประโยชน์ให้แก่ผอู ้ ื่น/สังคม และเรี ยนรู ้/พัฒนาตนอย่าง ต่อเนื่ อง 4. ความรู ้ คือ ความรอบรู ้ ในสิ่ งที่จะทาอย่างถ่องแท้และรอบด้าน ความรอบคอบที่จาความรู ้มา พิจารณาให้เหมาะกับกาลเทศะ ความระมัดระวังในการใช้ความรู ้ในวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่ งที่ทา อย่างรอบด้าน
-35. คุณธรรม หมายถึง ความซื่ อสัตย์สุจริ ต มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนิน ชีวิต รู ้จกั การแบ่งปัน ไม่โลภ และไม่ตระหนี่ ทางสายกลาง
พอเพียง พอประมาณ
มีเหตุผล
ภูมิคมุ ้ กันในตัวที่ดี
เงื่อนไขความรู ้ เงื่อนไขคุณธรรม (รอบรู ้ รอบคอบ ระมัดระวัง) (ซื่ อสัตย์ สุ จริ ต ขยัน อดทน มีสติ ปัญญา แบ่งปั น ) นาสู่ วัตถุ /ชีวิต /เศรษฐกิจ/ สังคม / สิ่ งแวดล้อม / วัฒนธรรม สมดุล / มัน่ คง / ยัง่ ยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง ปรี ยานุช พิบุลสราวุธ (2549 : 46) ได้กล่าวถึง ชีวิตสมดุลตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงที่ เป็ นแนวทางในการอบรมเลี้ยงดูเด็กระดับปฐมวัยไว้ว่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นแนวคิดและ แนวปฏิบตั ิในการพัฒนาคน เพราะคนคือจุดเริ่ มต้นของการพัฒนาทุกอย่าง คนเป็ นผูพ้ ฒั นาสังคม เพื่อให้ผลของการพัฒนากลับมาสู่ คน การพัฒนาคนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาคนให้มีคุณภาพ เป็ นผูม้ ีคุณธรรม มีสติปัญญา รู ้จกั พิจารณาแยกแยะจนสามารถใช้ ชีวิตที่พอเหมาะพอควรกับกาลังความสามารถของตนเอง และสภาพแวดล้อมของสังคมอย่างมีเหตุ มีผล และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ อย่างรู ้เท่าทัน เพื่อให้ชีวิตมีความสมดุล สาหรับการนา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้กบั การอบรมเลี้ยงดูเด็กในครอบครัว สิ่ งที่ตอ้ งคานึงเป็ น อันดับแรก คือ การสร้างความสมดุลให้เกิดขึ้นทั้งทางกายและทางใจ เพราะทั้ง 2 สิ่ งล้วนประสาน เชื่อมโยงเป็ นหนึ่ งเดียวต่อการเจริ ญเติบโตของเด็ก
-4การนาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติในระดับปฐมวัย มีหลักปฏิบตั ิดงั นี้ 1. ความพอประมาณ ด้วยสภาพสังคมเป็ นแบบสังคมเกษตรกึ่งสังคมเมือง และโรงเรี ยนมี นโยบายที่จะให้เด็กที่ผา่ นการศึกษาสามารถพึ่งพาตนเองได้ จึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาให้เด็กรู ้จกั ความ พอเพียงกับสิ่ งที่มี รู ้จกั ปันส่ วนสิ่ งที่ได้รับ ใช้ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างเหมาะสม ฝึ กให้เด็กทาสิ่ งต่างๆ แบบ พอเหมาะพอควรเต็มศักยภาพของเด็กในแต่ละช่วงวัยและรู ้จกั ใช้ของต่างๆ อย่างคุม้ ค่า ฝึ กให้มีความสุ ข จากการรู ้จกั ความพอและรู ้จกั แบ่งปัน เด็กจะพัฒนาได้ดีถา้ ในแต่ละช่วงอายุเด็กได้รับการตอบสนองในสิ่ ง ที่ตนพอใจ ได้รับความรัก ความอบอุ่นอย่างเพียงพอจากผูใ้ กล้ชิด มีโอกาสช่วยเหลือตนเอง ทางานที่ เหมาะสมกับวัยและมีอิสระที่จะเรี ยนรู ้ในสิ่ งที่ตนอยากรู ้รอบๆ ตัว 2. ความมีเหตุผล ให้เหตุผลเวลาบอกให้เด็กทากิจกรรมต่างๆ จะทาให้เด็กเข้าใจในกิจกรรมที่ ปฏิบตั ิและทาโดยที่ไม่กลัวหรื อคับข้องใจตลอดจนสอดแทรกการใช้สติปัญญาในการคิดแก้ปัญหาที่ เหมาะสมกับวัย สนับสนุนให้เด็กแสดงออกทางอารมณ์และความรู ้สึกที่เหมาะสมกับวัย ปฏิบตั ิกิจกรรม ด้วยความสุ ข ร่ าเริ งแจ่มใสและ เชื่อมัน่ ในขณะปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ 3. การมีภูมิคุม้ กันที่ดี ฝึ กให้เขารู ้จกั วางแผน โดนเริ่ มจากวางแผนการใช้จ่ายค่าขนม รู ้จกั การออม ทรัพย์เพื่อเป็ นภูมิคุม้ กันความเสี่ ยงในการใช้จ่ายเงินที่ได้มา เรี ยนรู ้ว่าอะไรควรซื้ อ อะไรไม่ควรซื้ อ ไม่ควร อะไรเป็ นประโยชน์ อะไรเป็ นโทษ อะไรเสี่ ยงควรหลีกเลี่ยง เช่น การออกไปเล่นที่ถนนใหญ่ การพูดคุย กับคนแปลกหน้าฝึ กให้เขาอยูร่ ่ วมกับคนอื่นได้โดยทาตัวให้เป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ ื่นและส่ วนรวม ฝึ กให้ รู ้จกั ดูแลสุ ขภาพและสุ ขอนามัย 4. ความรู ้ สอดแทรกความรู ้ต่างในช่วงจัดกิจกรรม โดยเฉพาะความรู ้ที่เกี่ยงข้องหรื อเกี่ยวพันกับ กิจกรรม เพื่อให้เด็กมีความรู ้เพิ่มขึ้นและเปิ ดโอกาส ให้เด็กคิดริ เริ่ มตามความต้องการและความสนใจของ ตนเอง รวมทั้งสร้างบรรยากาศที่เป็ นอิสระและปลอดภัย ส่ งเสริ มให้เด็กได้พฒั นาจนบรรลุผลตาม เป้าหมายที่ตอ้ งการ มีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยนรู ้และมีทกั ษะในการแสวงหาความรู ้ 5. คุณธรรม ส่ งเสริ มให้เด็กได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กบั บุคคลและสิ่ งแวดล้อมต่างๆ รอบตัวจากการ ปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ผ่านการเรี ยนรู ้ทางสังคม ได้พฒั นาคุณธรรมจริ ยธรรมในด้านต่างๆ เช่น การมี ระเบียบวินยั ในการทางานและเล่นร่ วมกับผูอ้ ื่น ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา ข้อตกลง มีสัมมาคารวะ ซื่ อสัตย์ สุ จริ ต ขยัน อดทน เคารพสิ ทธิของผูอ้ ื่น รู ้จกั แยกแยะผิดถูก และทาตนให้เป็ นประโยชน์ กล่าวโดยสรุ ป การนาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบตั ิในระดับปฐมวัยศึกษา คือการสร้าง ความสมดุลให้เกิดขึ้นผ่านการเรี ยนรู ้และกิจกรรมที่ปฏิบตั ิบนพื้นฐานของความพอประมาณ ความมี เหตุผล การสร้างภูมิคุม้ กันที่ดี ภายใต้เงื่อนไขความรู ้คู่คุณธรรม สามารถนาไปใช้ขยายผลสู่ ครอบครัวซึ่ ง เป็ นพื้นฐานของชุมชนและสังคม
-56. การดาเนินงาน / กระบวนการ / วิธีปฏิบัติ แผนภาพประกอบการอธิบายขั้นตอนการดาเนินงาน วิเคราะห์ปัญหาที่พบจากการจัดกิจกรรมในชั้นเรี ยน ( โครงการอนุบาลพอเพียงปี การศึกษา 2555 )
การศึกษาค้นคว้าเพื่อหาแนว ทางแก้ไขปัญหา
นาผลการศึกษามาพัฒนาเป็ นการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ Best practiceโดยผ่าน กระบวนการจัดกิจกรรมดังนี้ - กิจกรรมเรี ยนรู ้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - กิจกรรมปันสาม - กิจกรรมครัวของหนู ตลาดหลังบ้าน - กิจกรรมแปรรู ปอาหาร
วัดผลประเมินผลการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ Best practiceรายบุคคลและทาการประเมินผล เปรี ยบเทียบก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ จัดทารายงานเสนอผูบ้ ริ หาร สถานศึกษา
เผยแพร่ ผลงานผ่านวารสาร สัมพันธ์ครู สู่ ผปู ้ กครอง และเผยแพร่ ผลงานในเวทีสาธารณะ
7. แผนการดาเนินงาน / ระยะเวลาในการดาเนินงาน 1. แผนการดาเนินงาน กาหนดไว้ที่ เทอมที่ 1 ของปี การศึกษา 2557 2. เป้าหมาย เด็กนักเรี ยนในระดับชั้นอนุ บาล 2 โรงเรี ยนบ้านท่าแย้ ตาบลด่านมะขามเตี้ย อาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี จานวน 9 คน ( 100 เปอร์ เซนต์ ) 3. ระยะเวลาในการดาเนินงาน มิถุนายน – กรกฎาคม 2557
-6ปฏิทนิ ปฏิบัติงานการจัดประสบการณ์ ที่ 1
วัน / เดือน /ปี มี.ค – เม.ย. 57
กิจกรรม การศึกษาค้นคว้าเพือ่ แก้ไขปั ญหา
2
3 มิ.ย. 57
3
23– 27 มิ.ย. 57
4
4- 30 มิ.ย. 57
จัดทาการประเมิน พัฒนาการ กิจกรรมเรี ยนรู ้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมปั นสาม
5
30 มิ.ย.– 4ก.ค. 57 กิจกรรมครัวของหนู ตลาดหลังบ้าน 7- 11 ก.ค. 57 กิจกรรมแปรรู ปอาหาร 3 ก.ค. 57 จัดทาการประเมิน พัฒนาการ 17 ก.ค. 56 จัดทารายงานเสนอ ผูบ้ ริ หาร
6 7 8
รายละเอียด จากปั ญหาที่พบนาสู่การศึกษาค้นคว้า และจัดทาโครงการสอนอย่างเป็ น ระบบ ประเมินระดับพัฒนาการเรี ยนรู ้ รายบุคคล จัดกิจกรรมเสริ มประสบการณ์ จัดกิจกรรมทุกเช้าก่อนเริ่ มการจัด กิจกรรมอื่นๆ จัดกิจกรรมเสริ มประสบการณ์
หมายเหตุ
ก่อนการเรี ยนรู ้ บันทึกพฤติกรรมเด็ก และประเมินผลการ จัดประสบการณ์
จัดกิจกรรมเสริ มประสบการณ์ ประเมินระดับพัฒนาการเรี ยนรู ้ หลังการเรี ยนรู ้ รายบุคคล ทารู ปเล่มรายงานการจัดประสบการณ์
8. ผลการปฏิบัติงาน ส่ งผลต่ อการพัฒนา ความเปลีย่ นแปลงอย่ างไร 8.1.เด็กปฐมวัย ที่ได้ผา่ นการจัดกิจกรรม เด็กไทยหัวใจพอเพียงแล้วนั้น ผลปรากฏดังนี้ 1. เด็กนักเรี ยนในระดับชั้นอนุบาล 2 โรงเรี ยนบ้านท่าแย้ จานวน 9 คน ในปี การศึกษา 2557 มี ระดับพัฒนาการความพร้อมทั้ง4 ด้าน อันประกอบด้วยร่ างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ที่สูงขึ้น จากผลการประเมินพัฒนาการก่อนการเรี ยนรู ้พบว่าเด็กผ่านผลการประเมิน ร้อยละ 71.21 แต่เมื่อผ่านการ เรี ยนรู ้เด็กมีพฒั นาการที่ดีข้ ึนคิดเป็ นร้อยละ 95.55 ตลอดจนเด็กสามารถพัฒนาความคิด อุปนิสัย พฤติกรรม รวมทั้งสามารถทากิจกรรมต่าง ๆโดยบูรณาการผ่านการเล่นปนเรี ยน ได้ความรู ้อย่างมีความสุ ข 2. การจัดกิจกรรมเรี ยนรู ้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ช่วยให้เด็กมีความรู ้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง และเกิดความซาบซึ่ ง ชื่นชม จงรักภักดีและศรัทธาในน้ าพระทัย พระอัจฉริ ยภาพของในหลวงพร้อมทั้ง น้อมนาแนวพระราชดาริ มาปฏิบตั ิในชีวิตประจาวัน 3. การจัดกิจกรรมปันสาม ช่วยให้เด็กรู ้จกั การปันเงินแบ่งส่ วนในการใช้จ่าย สามารถสร้างสมดุล ในการใช้จ่ายเงินจากค่าขนมซึ่ งถือเป็ นรายได้ของนักเรี ยนที่ได้รับ เพื่อดารงชีวิตอย่างพอเพียงและได้ เรี ยนรู ้ในการแบ่งและการนับจาแนกด้วย
-74. การจัดกิจกรรมครัวของหนู ตลาดหลังบ้าน ช่วยให้เด็กเรี ยนรู ้การช่วยเหลือตนเอง การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและคุณค่าทรัพยากรทีอ่ ยูร่ อบบ้าน และการรู ้จกั แบ่งปันในสิ่ งที่ตนเองมีให้กบั ผูอ้ ื่น 5. การจัดกิจกรรมแปรรู ปอาหาร เด็กได้เรี ยนรู ้วิธีการแปรรู ปอาหารซึ่ งเป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้ ทางวิทยาศาสตร์ และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั ผลผลิตที่มีอยูใ่ นท้องถิ่น 6.การจัดกิจกรรมเด็กไทยหัวใจพอเพียง มีแบบวัดและสังเกตพฤติกรรมที่หลากหลายโดย ประสานความร่ วมมือระหว่าง ครู ผูป้ กครอง และเด็ก 8.2. พ่อแม่ ผู้ปกครอง จากผลการประเมินคุณภาพภาคี 5 ฝ่ าย ประกอบด้วย ผูบ้ ริ หาร คณะกรรมการ สถานศึกษา คณะครู อนุบาล ผูป้ กครองนักเรี ยน และนักเรี ยน มีความคิดเห็นร้อยละ 94.34% ว่า กิจกรรมที่เหมาะสมมากที่สุดสาหรับ เด็กอนุบาล 2 และจากกิจกรรมที่จดั ขึ้นทาให้ผปู ้ กครองมีความ เข้าใจถึงวิธีการจัดประสบการณ์เรี ยนรู ้สาหรับเด็กปฐมวัยมากขึ้นและสามารถนากลับไปพัฒนาบุตรหลาน ของตนเองต่อที่บา้ นได้และจากการจัดกิจกรรมยังช่วยสร้างความสัมพันธ์และความรู ้สึก อันดีต่อกัน ระหว่างครู ผูป้ กครอง และตัวเด็กทาให้ได้รับความร่ วมมือจากผูป้ กครองและชุมชนมากขึ้น 9.ปัจจัยทีท่ าให้ วธิ ีการประสบผลสาเร็จ 9.1. ความร่ วมมือเกื้อหนุน สนับสนุนจากผูบ้ ริ หารโรงเรี ยน คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู และผูป้ กครองนักเรี ยนเป็ นอย่างดี 9.2. มีการวางแผนล่วงหน้าอย่างเป็ นระบบ ในการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับสู่ กระบวนการจัดประสบการณ์ให้กบั เด็กปฐมวัยโดยมีการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ให้สอดคล้อง กับการจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรมและเพือ่ ส่ งเสริ มพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็ก ดังนั้นการจัดกิจกรรม เด็กไทยหัวใจพอเพียง โดยผ่านกระบวนการบูรณาการ จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดความรู ้ ความเข้าใจและ ตระหนักในคุณค่าของคาว่าพอเพียงเพื่อนาไปสู่ การเรี ยนรู ้ที่ยงั่ ยืน 9.3. เด็กปฐมวัย และครู จาเป็ นต้องเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถูกต้องเพื่อนาไปสู่ การจัดกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง และสุ ดท้ายส่ งผลต่อการนาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดาเนิน ชีวิต 10.บทเรียนทีไ่ ด้ รับ 10.1.จากการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ทาให้ครู ผจู ้ ดั มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงอย่างถูกต้องและสามารถนาไปสู่ การจัดกิจกรรมได้อย่างถูกต้อง 10.2.จากการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ทาให้ครู ได้เห็นถึงความสามารถที่มีอยูจ่ ริ งของเด็ก ปฐมวัยในระดับชั้นอนุ บาล 2 ในการร่ วมทากิจกรรมต่างๆ
-810.3.การจัดประสบการณ์เรี ยนรู ้ ครู ตอ้ งติดตามผลการปฏิบตั ิของเด็กอย่างต่อเนื่ อง คอยตักเตือน และให้การเสริ มแรง เพราะการจัดประสบการณ์เรี ยนรู ้จะไม่สามารถส่ งเสริ มให้เด็กมีแนวคิดตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียงได้ ถ้าขาดการติดตามผล เด็กจะไม่สามารถพัฒนาความคิดต่อยอดจนถึงระดับสร้างนิสัย นอกจากนี้ควรมีการสอดแทรกการเรี ยนรู ้อื่น ๆ เพื่อให้การจัดประสบการณ์เรี ยนรู ้ของเด็กเป็ นไปอย่าง สนุกสนามและมีความสุ ข 10.4. จากการจัดประสบการณ์เรี ยนรู ้ ทาให้ครู มนั่ ใจที่จะจัดกิจกรรมใหม่ๆเพื่อเพิม่ ทักษะในด้าน ต่างๆให้กบั เด็กปฐมวัยมากขึ้นเพราะทาให้ครู มนั่ ใจว่าเด็กสามารถที่จะเรี ยนรู ้สิ่งต่างๆได้
-9รูปภาพประกอบการจัดกิจกรรม กิจกรรมปั นสาม
( กิจกรรมปั นสามเด็กเรี ยนรู ้การแบ่งเงินที่ใช้ประจาวันเป็ นสามส่วนเท่ากันเพือ่ การดารงชีวติ ิและออมทรัพย์ )
( กิจกรรมสร้างสรรค์ส่วนหนึ่งของการเรี ยนรู ้เรื่ องการออมทรัพย์ )
- 10 กิจกรรมครัวของหนู ตลาดหลังบ้ าน
( นาพืชสวนครัวมาเรี ยนรู ้ร่วมกันและทากิจกรรมประกอบอาหารจากผักสวนครัวโดยวิทยากรภายนอก )
- 11 กิจกรรมเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
( เด็กได้เรี ยนรู ้จากแหล่งเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงภายในโรงเรี ยน )
( เด็กเรี ยนรู ้วถิ ีชีวติ การทานาแบบดังเดิม )
- 12 กิจกรรมแปรรูปอาหาร
เด็กเรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้ าและการเก็บเห็ดเพื่อจาหน่ าย
เด็กได้ เรียนรู้ ข้นั ตอนการแปรรูปอาหารจากผลผลิตที่มีในโรงเรียน
- 13 แบบประเมินระดับพัฒนาการการเรียนรู้ ( รายบุคคล ) ชื่อ.......................................................................................................ระดับชั้นอนุบาล 2 พัฒนาการด้าน ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน ระดับ ระดับพัฒนาการ ระดับพัฒนาการ พัฒนาการ 3 2 1 3 2 1 3 2 1 ด้ านร่ างกาย 1.. ความสัมพันธ์ระหว่างประสาทตากับกล้ามเนื้อมือ 2. ความคล่องแคล่วว่องไว 3. วิธีการจับดินสอที่ถูกต้อง ด้ านสั งคม 1. การเลือกปฏิบตั ิเพือ่ ตนเอง (รู ้จกั ตนเอง) 2. การเลือกปฏิบตั ิเพือ่ ตนเอง (รู ้จกั แบ่งปั น) 3. การปฏิบตั ิตนตามกฎและระเบียบของสังคม 4. การเลือกปฏิบตั ิเพือ่ ผลงานของกลุ่ม 5. การเลือกปฏิบตั ิเพือ่ ผลดีของสังคม (มารยาท ) อารมณ์ – จิตใจ 1. ความรู ้สึกที่ดีและเห็นค่าของตนเอง 2 ความชื่นชมต่อความสามารถของตนเอง 3. การแสดงความชื่นชมบุคคลอื่น 4.สนุกสนานกับการทากิจกรรม ด้ านสติปัญญา 1. ความสามารถในการสร้างความคิดรวบยอด 2. ความสามารถในการรับรู ้และหาความสัมพันธ์ 3. ความสามารถในการแก้ไขปั ญหา 4. ความคิดสร้างสรรค์ ด้ านภาษา 1. เล่าเรื่ องอย่างมีสาระสาคัญ(เหมาะสมกับวัย) 2. พูดได้เหมาะสมกับกาลเทศะ 3. พูดอย่างมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 4. กล้าแสดงออกและแนะนาตนเองได้ (ลงชื่อ).......................................................................... (นางสาวชฎาภรณ์ ป้อมสกุล)
- 14 -
ผู้ประเมิน เพศ
( ) ผูบ้ ริ หาร ( ) ชาย
วันที่ ..... เดือน ................................... พ.ศ. ................. แบบประเมินคุณภาพ กิจกรรม เด็กไทยหัวใจพอเพียง ( ) คณะกรรมการ ( ) ครู ( ) ผูป้ กครอง ( ) นักเรี ยน ( ) หญิง
ลาดับที่
รายการ
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.
กิจกรรมที่จดั มีความสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย กิจกรรมที่จดั มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ กิจกรรมที่จดั สนองตอบต่อการส่งเสริ มพัฒนาทั้ง 4 ด้าน ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม ความเหมาะสมในการเรี ยงลาดับการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่จดั ส่งเสริ มความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมที่จดั สามารถให้เด็กนาไปใช้ได้จริ งในชี วติ ประจาวัน กิจกรรมที่จดั เหมาะสมกับความสามารถของผูเ้ รี ยน ( อนุบาล 2 ) กิจกรรมที่จดั เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รี ยน( อนุบาล 2) กิจกรรมที่จดั ส่งเสริ มการสร้างสัมพันธ์อนั ดีระหว่าง เด็ก ครู ผูป้ กครอง
เกณฑ์ การให้ คะแนน เหมาะสมมากที่สุด เหมาะสมมาก เหมาะสมปานกลาง เหมาะสมน้อย เหมาะสมน้อยที่สุด
ให้ ให้ ให้ ให้ ให้
5 4 3 2 1
ระดับคะแนนประเมิน 5 4 3 2 1
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน ขอบคุณที่ให้ความร่ วมมือ ผูจ้ ดั ทา
- 15 -
แบบสารวจพฤติกรรมกับการเรียนรู้ ( รายบุคคล ) ชื่อ.......................................................................................................ระดับชั้นอนุบาล 2 กิจกรรมการเรี ยนรู ้ ก่อนเรี ยน หลังเรี ยน 3
2
1
3
2
1
ระดับ พัฒนาการ 3 2 1
กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 1.บอกได้ถึงผูร้ ิ เริ่ มแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 2.บอกถึงวิธีการดาเนินชีวติ อย่างพอเพียงได้ 3.บอกถึงประโยชน์ของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงได้ กิจกรรมปันสาม 1.สามารถจาแนกเงินที่มีอยูใ่ ห้เป็ นสามส่วนได้เท่ากัน 2.บอกความหมายของการแบ่งเงินสาหรับซื้อขนมอย่าง พอเพียง 3. บอกความหมายของการแบ่งเงินสาหรับไว้ใช้สอยอย่าง มีเหตุผล 4.บอกความหมายของการแบ่งเงินสาหรับเก็บออมไว้เป็ น ภูมิคุม้ กัน 5. สามารถนากิจกรรมปั นสามเข้าไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ได้ กิจกรรมครัวของหนู ตลาดหลังบ้ าน 1. เด็กรู้ จักชื่ อพืชผักสวนครัวทีม่ ีอยู่ในบ้ านตนเอง 2. บอกถึงประโยชน์ของต้นไม้แต่ละชนิด 3. มีความรับผิดชอบในการดูแลต้นไม้ของตนเอ 4. สามารถทางานกลุ่มร่ วมกับเพือ่ น 5. กล้าแสดงออกและร่ วมสนทนากับเพือ่ น (ลงชื่อ).......................................................................... (นางสาวชฎาภรณ์ ป้อมสกุล)
- 16 -