Best Practice นางนารี ปิ่นปี ครู รร.ดิศกุล

Page 1

ผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ครูผู้สอนภาษาไทยยอดเยี่ยม ด้านวิชาการ “สื่อสร้างสรรค์...สานฝันสู่การเรียนรู้”

นางนารี ปิน่ ปี ตาแหน่ง ครู คศ.1

โรงเรียนดิศกุล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


Best Practice 1. ชื่อผลงาน BP สื่อสร้างสรรค์สานฝันสู่การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้าน ( / )วิชาการ ( ) บริหารจัดการศึกษา ( ) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา BP นางนารี ปิ่นปี ตาแหน่ง ครูคศ.1 2.2 โรงเรียนดิศกุล เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาหนองตากยา 2.3 โทรศัพท์ 087-0100530 e-mail nareepinpee@gmail.com 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP 1.1 เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาไทย 1.2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการจัดการเรียนการสอนเรียนวิชาภาษาไทยโดยนักเรียนมี ส่วนร่วม 1.3 เพื่อสร้างแรงจูงใจในการจัดการเรียนการสอน 1.4 เพื่อส่งเสริม พัฒนาและแก้ปัญหานักเรียน ให้มีประสบการณ์และศักยภาพเพิ่มขึ้น 4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) เดือน พฤศจิกายน 2556 ถึง พฤศจิกายน 2557 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้น ของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เส้นทางสู่ความสาเร็จการ ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561)ที่มุ่งเน้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน 4 ใหม่ ได้แก่ การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ ครูยุคใหม่ สถานศึกษาและแหล่ง เรียนรู้ใหม่ และระบบบริหาร จัดการใหม่ ที่มุ่งหวังพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข เป็นคุณภาพของเด็กไทยใน อนาคต เป็นผู้ท่มี ีความสามารถ คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น ก้าวไกลสู่สากล และมีความเป็น พลเมืองที่สมบูรณ์ จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน คือ คุณภาพในตัวผู้เรียนที่มีความครอบคลุ มในด้านความสามารถและ ทักษะ ตลอดจนคุณลักษณะที่จะช่วยเสริมให้ผู้เรียนมีคุณภาพบรรลุตามเปูาหมายของหลัก สูตร ซึ่ง กาหนดไว้ ดังนี้ 1. ความสามารถและทักษะของผู้เรียน - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 มีความสามารถอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น มีทกั ษะ การคิดขัน้ พื้นฐาน ทักษะชีวิต และทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย


- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 มีความสามารถอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง มีทักษะการคิดขัน้ พื้นฐาน ทักษะชีวิต และทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย 2. คุณลักษณะ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนทุกระดับชั้นมี ความเป็นพลเมือง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจ ริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่ง มั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิต สาธารณะ ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่กาหนดไว้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และมีคุณลักษณะที่ต้องเน้นเป็นการเฉพาะในแต่ละช่วงวัยและพัฒนาต่อเนื่องใน ทุกช่วงชั้น ดังนี้ - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 เน้นความใฝุดี - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ใฝุเรียนรู้ สพฐ. ได้ ก าหนดยุ ท ธศาสตร์ ใ นการขั บ เคลื่อ นหลั ก สู ต ร การจั ด การเรี ย นรู้ก ารวั ด และ ประเมิน ผล โดยมีจุ ด เน้น การพัฒนาผู้เรียนเป็น เครื่องมือในการขับเคลื่อนผ่ านยุทธศาสตร์ 4 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ - ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพิ่มขีดความสามารในการเรียนรู้ - ยุทธศาสตร์ที่ 2 กระตุ้น เร่งรัด การนาจุดเน้นสู่การปฏิบัติ - ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างความพร้อมให้ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน - ยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างความเข้มแข็งการกากับ ติดตามการพัฒนาผู้เรียน เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพตามจุดเน้น นักเรียนทุกคนมีความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะตามจุดเน้นแต่ละช่วงวัย การพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามเปูาหมายตามจุดเน้นคุณภาพผู้เรียน ครูผู้สอนจึงต้องแสวงหา วิธีการเพื่อพัฒนาผู้เรียน ซึ่ง Best Practice เป็นสิ่งทีจ่ ะช่วยให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนเกิด ประสิทธิภาพ และส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพอย่างแท้จริง 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ความหมายของสื่อการสอนเพื่อการเรียนรู้ นักวิชาการในวงการเทคโนโลยีทางการศึกษา โสตทัศนศึกษา และวงการการศึกษา ได้ให้คา จากัดความของ “สื่อการสอน” ไว้อย่างหลากหลาย เช่น ชอร์ส กล่าวว่า เครื่องมือที่ช่วยสื่อความหมายจัด ขึ้นโดยครูและนักเรียน เพื่อส่งเสริมการ เรียนรู้ เครื่องมือการสอนทุกชนิดจัดเป็นสื่อการสอน เช่น หนังสือในห้องสมุด โสตทัศนวัสดุต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ สไลด์ ฟิล์มสตริป รูปภาพ แผนที่ ของจริง และทรัพยากรจากแหล่งชุมชน บราวน์ และคณะ กล่าวว่า จาพวกอุปกรณ์ทั้งหลายที่สามารถช่วยเสนอความรู้ให้แก่ผู้เรียนจน เกิดผลการเรียนที่ดี ทั้งนีร้ วมถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่ไม่เฉพาะแต่สิ่งที่เป็นวัตถุหรือเครื่องมือเท่านั้น เช่น การศึกษานอกสถานที่ การแสดง บทบาทนาฏการ การสาธิต การทดลอง ตลอดจนการสัมภาษณ์และ การสารวจเป็นต้น


เปรื่อง กุมุท กล่าวว่า สื่อการสอน หมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือหรือช่องทางสาหรับทา ให้การสอนของครูถงึ ผู้เรียนและทาให้ผู้เรียนเรียนรูต้ ามวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายที่ครูวางไว้ได้เป็น อย่างดี ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ให้ความหมาย สื่อการสอนว่า วัสดุอุปกรณ์และวิธกี ารประกอบการสอน เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อความหมายที่ผู้สอนประสงค์จะส่ง หรือถ่ายทอดไปยังผู้เรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพนอกจากนี้ ยังมีคาอื่น ๆ ที่มีความหมายใกล้เคียงกับสื่อการสอน เป็นต้นว่า สื่อการเรียน หมายถึง เครื่องมือ ตลอดจนเทคนิคต่าง ๆ ทีจ่ ะมาสนับสนุนการเรียนการสอน เร้าความสนใจผู้เรียนรู้ให้เกิดการเรียนรู้ เกิดความเข้าใจดีขนึ้ อย่างรวดเร็ว สื่อการศึกษา คือ ระบบการนาวัสดุ และวิธีการมาเป็นตัวกลางในการให้การศึกษาความรู้แก่ ผู้เรียนโดยทั่วไป โสตทัศนูปกรณ์ หมายถึง วัสดุทั้งหลายที่นามาใช้ในห้องเรียน หรือนามาประกอบการสอน ใดๆ ก็ตาม เพื่อช่วยให้การเขียน การพูด การอภิปรายนัน้ เข้าใจแจ่มแจ้งยิง่ ขึ้น คุณค่าของสื่อเพื่อการเรียนรู้ สื่อหรือตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน มีคุณค่าต่อการเรียนการสอน ทั้งกับผู้สอนและผู้เรียนเป็นอย่างมาก กล่าวคือ - ในส่วนของผู้สอน สื่อ ช่วยให้บรรยากาศในการสอน น่าสนใจยิ่งขึ้น ช่วยแบ่งเบาภาระของ ครู ในการเตรียมเนือ้ หาเพราะอาจให้นักเรียนศึกษาได้จากสื่อ และยังช่วยให้ผู้สอนคิดค้นเทคนิคใหม่ๆ ที่ช่วยในการเรียนรู้ให้น่าสนใจยิ่งขึ้น - ในส่วนของผู้เรียน สื่อช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้นในเวลาอันสั้น เกิดความคิดรวบยอดได้ถูกต้อง สามารถมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนได้สะดวกช่วยให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง กระตุ้นความสนใจในการเรียนและสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนได้ ดี ความสาคัญของสื่อการสอนเพื่อการเรียนรู้ ไชยยศ เรืองสุวรรณ กล่าวว่า ปัญหาอย่างหนึ่งในการสอนก็คือ แนวทางการตัดสินใจจั ด ดาเนินการให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมขึ้นตามจุดมุ่งหมาย ซึ่งการสอนโดยทั่วไป ครูมักมี บทบาทในการจัดประสบการณ์ตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านเนือ้ หาสาระ หรือทักษะและมีบทบาทในการจัด ประสบการณ์เพื่อการเรียนการสอน ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับตัวผู้เรียนแต่ละคนด้วยว่า ผู้เรียนมีความต้องการ อย่างไร ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบนี้ การจัดสภาพแวดล้อมที่ดีเพื่อการเรียนการสอน จึงมีความสาคัญมาก ทั้งนีเ้ พื่อสร้างบรรยากาศและแรงจูงใจผู้เรียนให้เกิดความอยากเรียนรู้และเพื่อ เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าหาความรู้ของผู้เรียนได้ตามจุดมุ่งหมาย สภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ทั้งมวล ที่จัดขึ้นมาเพื่อการเรียนการสอนนั้น ก็คอื การเรียนการสอนนั่นเอง


เอ็ดการ์ เดล ได้กล่าวสรุปถึงความสาคัญของสื่อการสอน ดังนี้ 1. สื่อการสอน ช่วยสร้างรากฐานที่เป็นรูปธรรมขึ้นในความคิดของผู้เรียน การฟังเพียงอย่าง เดียวนั้น ผู้เรียนจะต้องใช้จินตนาการเข้าช่วยด้วย เพื่อให้สิ่งที่เป็นนามธรรมเกิดเป็น รูปธรรมขึ้นใน ความคิด แต่สาหรับสิ่งที่ยงุ่ ยากซับซ้อน ผู้เรียนย่อมไม่มีความสามารถจะทาได้ การใช้อุปกรณ์เข้าช่วย จะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและสร้างรูปธรรมขึ้นในใจได้ 2. สื่อการสอน ช่วยเร้าความสนใจของผู้เรียน เพราะผู้เรียนสามารถใช้ประสาทสัมผัสได้ด้วย ตา หู และการเคลื่อนไหวจับต้องได้แทนการฟังหรือดูเพียงอย่างเดียว 3. เป็นรากฐานในการพัฒนาการเรียนรูแ้ ละช่วยความทรงจาอย่างถาวร ผู้เรียนจะสามารถนา ประสบการณ์เดิมไปสัมพันธ์กับประสบการณ์ใหม่ ๆ ได้ เมื่อมีพนื้ ฐานประสบการณ์เดิมที่ดีอยู่แล้ว 4. ช่วยให้ผู้เรียนได้มีพัฒนาการทางความคิด ซึ่งต่อเนื่องเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทาให้เห็ น ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ เช่น เวลา สถานที่ วัฏจักรของสิ่งมีชีวิต 5. ช่วยเพิ่มทักษะในการอ่านและเสริมสร้างความเข้าใจในความหมายของคาใหม่ ๆ ให้มาก ขึ้น ผู้เรียนที่อ่านหนัง สือช้าก็จ ะสามารถอ่านได้ทัน พวกที่อ่านเร็วได้ เพราะได้ยินเสียงและได้เห็ น ภาพประกอบกัน เปรื่อง กุมุท ให้ความสาคัญของสื่อการสอน ดังนี้ 1. ช่วยให้คุณภาพการเรียนรู้ดีข้นึ เพราะมีความจริงจังและมีความหมายชัดเจนต่อผู้เรียน 2. ช่วยให้นักเรียนรู้ได้ในปริมาณมากขึ้นในเวลาที่กาหนดไว้จานวนหนึ่ง 3. ช่วยให้ผู้เรียนสนใจและมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในกระบวนการเรียนการสอน 4. ช่วยให้ผู้เรียนจา ประทับความรู้สึก และทาอะไรเป็นเร็วขึน้ และดีขนึ้ 5. ช่วยส่งเสริมการคิดและการแก้ปัญหาในขบวนการเรียนรู้ของนักเรียน 6. ช่วยให้สามารถเรียนรู้ในสิ่งที่เรียนได้ลาบากโดยการช่วยแก้ปัญหา หรือข้อจากัดต่าง ๆ ได้ ดังนี้ - ทาสิ่งที่ซับซ้อนให้ง่ายขึน้ - ทานามธรรมให้มีรูปธรรมขึ้น - ทาสิ่งที่เคลื่อนไหวเร็วให้ดูช้าลง - ทาสิ่งที่ใหญ่มากให้ย่อยขนาดลง - ทาสิ่งที่เล็กมากให้ขยายขนาดขึ้น - นาอดีตมาศึกษาได้ - นาสิ่งที่อยูไ่ กลหรือลีล้ ับมาศึกษาได้ 7. ช่วยให้นักเรียนเรียนสาเร็จง่ายขึ้นและสอบได้มากขึ้น เมื่อทราบความสาคัญของสื่อการ สอนดังกล่าวข้างต้นแล้ว สิ่งที่ควรพิจารณาอีกประการก็คอื ประเภท หรือชนิดของสื่อการสอน ดังจะ กล่าวต่อไปดังนี้


ประเภทของสื่อการสอน เอ็ดการ์ เดล จาแนกประสบการณ์ทางการศึกษา เรียงลาดับจากประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรม ไปสู่ประสบการณ์ที่เป็นนามธรรม โดยยึดหลักว่า คนเราสามารถเข้าใจสิ่งที่เป็นรูปธรรมได้ดีและเร็ว กว่าสิ่งที่เป็นนามธรรมซึ่งเรียกว่า "กรวยแห่งประสบการณ์" (Cone of Experiences) ซึ่งมีทั้งหมด 11 ขัน้ ดังนี้ 1. ประสบการณ์ตรง เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นรูปธรรมมากที่สุดโดยการให้ผู้เรียน ได้รับ ประสบการณ์ โดยตรงจากของจริง สถานการณ์จริง หรือด้วยการกระทาของตนเอง เช่น การจับ ต้องและการเห็นเป็นต้น 2. ประสบการณ์รอง เป็นการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนเรียนจากสิ่งที่ใกล้เคียงความเป็นจริง ซึ่งอาจเป็นของจาลองหรือการจาลองก็ได้ 3. ประสบการณ์นาฏกรรมหรือการแสดง เป็นการแสดงบทบาทสมมติหรือการแสดง ละคร เพื่อเป็นการจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียนในเรื่องที่มีข้อจากัดด้วยยุคสมัย เวลา และสถานที่ เช่นเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์หรือเรื่องราวที่เป็นนามธรรมเป็นต้น 4. การสาธิต เป็นการแสดงหรือกระทาประกอบคาอธิบายเพื่อให้เป็นลาดับขัน้ ตอนของ การกระทานั้น 5. การศึกษานอกสถานที่ เป็น การให้ผู้เ รีย นได้ร ับ และเรีย นรู้ป ระสบการณ์ต ่า ง ๆ ภายนอกสถานที่เรียน อาจเป็นการเยี่ยมชมสถานที่ต่าง ๆ การสัมภาษณ์บุคคลต่าง ๆ เป็นต้น 6. นิทรรศการ เป็นการจัดแสดงสิ่งของต่า ง ๆ การจัดปูายนิเทศ ฯลฯ เพื่อให้ สารประโยชน์ และความรู้แก่ผู้ชม เป็นการให้ประสบการณ์แก่ ผู้ชมโดยการนาประสบการณ์หลาย อย่างผสมผสานกัน มากที่สุด 7. โทรทัศน์ โดยใช้ทั้งโทรทัศน์การศึกษาและโทรทัศน์การสอนเพื่อให้ข้อมูลความรู้ แก่ ผู้เรียนหรือผู้ชมที่อยู่ในห้องเรียนหรืออยู่ทางบ้านและใช้ส่ งได้ทั้งในระบบวงจรเปิดและวงจรปิ ด การสอนอาจจะเป็นการสอนสดหรือบันทึกลงวีดิทัศน์ก็ได้ 8. ภาพยนตร์ เป็น ภาพที่บัน ทึก เรื่อ งราวเหตุก ารณ์ล งบนฟิล์ม เพื่อ ให้ผู้เ รียนได้ร ับ ประสบการณ์ทั้งภาพและเสียง โดยใช้ประสาทตาและหู 9. การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง การบัน ทึก เสียงอาจเป็น ทั้ง ในรูปแผ่น เสียงหรือเทป บันทึกเสียง วิทยุเป็นสื่อที่ให้เฉพาะเสียง ส่วนภาพนิ่งอาจเป็นรูปภาพ สไลด์ โดยเป็นภาพวาด ภาพ ล้อ หรือ ภาพเสมือนจริง ก็ไ ด้ข้อมูล ที่อ ยู่ในสื่อขั้น นี้จ ะให้ประสบการณ์แ ก่ผู้เรียนที่ถึง แม้จ ะอ่า น หนัง สือไม่ออก แต่ก็ส ามารถจะเข้าใจเนื้อหาเรื่องราวที่ส อนได้ เนื่องจากเป็น การนับหรือดูภาพ เท่านั้น ไม่จาเป็นต้องอ่าน


10. ทัศ นสัญลัก ษณ์ เช่น แผนที่ แผนภูมิ แผนสถิติ หรือเครื่องหมายต่าง ๆ ซึ่ง เป็น สิ่ง ที่ เป็นสัญลักษณ์แทนความเป็นจริงของสิ่งต่างๆหรือข้อมูลที่ต้องการให้เรียนรู้ 11. วจนสัญลักษณ์ เป็น ประสบการณ์ขั้น ที่เป็น นามธรรมมากที่สุด ได้แ ก่ ตัวหนัง สือใน ภาษาเขียนและเสียงของคาพูดในภาษาพูด การใช้กรอบประสบการณ์ของเดลจะเริ่มต้น ด้วยการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมอยู่ในเหตุก ารณ์ หรือการกระทาจริง เพื่อให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรงเกิดขึ้นก่อน แล้วจึงเรียนรู้โดยการเฝูาสัง เกต ในเหตุก ารณ์ที่เ กิด ขึ้น ซึ่ง เป็น ขั้น ต่อ ไปของการได้ร ับ ประสบการณ์ร อง ต่อ จากนั้น จึง เป็น การเรียนรู้ด้วยการรับประสบการณ์โดยผ่านสื่อต่าง ๆ และท้ายที่สุด เป็น การให้ผู้เรียนเรียนจาก สัญลักษณ์ซึ่งเป็นเสมือนตัวแทนของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น นัก จิต วิทยาท่านหนึ่ง คือ เจโรม บรุน เนอร์ (Jerome Bruner) ได้ออกแบบโครงสร้างของ กิจ กรรมการสอน ไว้รูปแบบหนึ่ง โดยประกอบด้วยมโนทัศ น์ด้านการกระทาโดยตรง (Enactive) การเรียนรู้ด้วยภาพ (Iconic) และ การเรียนรู้ด้วยนามธรรม (Abstract) เมื่อเปรียบเทียบกรวย ประสบการณ์ของเดลกับลักษณะสาคัญ 3 ประการ ของการเรียนรู้ของบรุนเนอร์แล้ว จะเห็นได้ว่า มีลัก ษณะที่ใ กล้เคียงและเป็น คู่ขนานกัน เมื่อพิจ ารณาจากกรวย -ประสบการณ์ของการเรียนรู้ ของบรุน เนอร์แ ล้ว จากฐานของกรวยขึ้น ไป 6 ขั้น ตอน จะเป็น การที่ผู้เรียนเรียนโดยการได้รับ ประสบการณ์ด้วยตนเองจากการกระทา การมีส่วนร่วมในรูปแบบต่างๆ ของประสบการณ์ที่เป็ น จริงและ การสังเกตจากของจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ซึ่ง เปรียบเทียบได้กับการเรียนรู้ด้วย การกระท า ในขั้น ตอนที ่ 7-9 เป็น การที่ผู ้เ รีย นสัง เกตเหตุก ารณ์ห รือ รับ ประสบการณ์จ าก การถ่ายทอดโดยสื่อประเภทภาพและเสียง เช่น จากโทรทัศ น์แ ละวิทยุ เป็น ต้น เสมือนเป็น การ เรียนรู้ด้วยภาพ และใน 2 ขั้นตอนสุด ท้าย เป็น ขั้น ตอนของการที่ ผู้เรียน ได้รับประสบการณ์จ าก สัญลักษณ์ในรูปแบบของตัวอักษร เครื่องหมายหรือคาพูด ซึ่งมีลักษณะเป็นนามธรรมมากที่สุด

รูปแสดงกรวยประสบการณ์ของเอ็ดการ์เดล และเปรียบเทียบกับลักษณะสาคัญในการเรียนรู้ของบรุนเนอร์


อย่างไรก็ตามการแบ่งขั้นตอนของกรวยประสบการณ์มิใช่เป็นการแบ่งตามลาดับความยาก ง่าย แต่เป็น การแบ่ง ลาดับขั้น ความแตกต่างของประสบการณ์ซึ่ง มีความเกี่ยวข้องกัน ตัวอย่าง เช่น ในรายการโทรทัศน์เพื่อการสอน ซึ่งเป็นขั้นตอนของการจัดประสบการณ์ภาพและเสียงให้แ ก่ ผู้เรียน รายการโทรทัศ น์ที่จัด ขึ้น นี้ประกอบด้วยขั้น ตอนต่าง ๆ หลายอย่าง เช่น วจนสัญลัก ษณ์ ทัศนสัญลักษณ์ ประสบการณ์รอง การสาธิต ฯลฯ อยู่ในรายการนั้นด้วย ดังนี้เป็นต้น จากกรวยประสบการณ์นี้ เดลได้จาแนกสื่อการสอนออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. สื่อประเภทวัสดุ (Software) หมายถึง สื่อที่เก็บความรู้อยู่ในตัวเอง ซึ่งจาแนกย่อย ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1.1 วัส ดุประเภทที่ส ามารถถ่ายทอดความรู้ไ ด้ด ้วยตัวเอง โดยไม่จาเป็น ต้อ งอาศัย อุปกรณ์อื่นช่วย เช่น แผนที่ ลูกโลก รูปภาพ หุ่นจาลอง ฯลฯ 1.2 วัสดุประเภทที่ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตัวเอง จาเป็น ต้องอาศัยอุปกรณ์ อื่นช่วย เช่น แผ่นซีดี ฟิล์มภาพยนตร์ สไลด์ ฯลฯ 2. สื่อประเภทอุป กรณ์ (Hardware) หมายถึง สิ่ง ที่เป็น ตัวกลางหรือตัวผ่าน ทาให้ ข้อมูลหรือความรู้ที่ บัน ทึก ในวัส ดุส ามารถถ่ายทอดออกมาให้เห็น หรือได้ยิน เช่น เครื่องฉายแผ่น โปร่งใส เครื่องฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องเล่นซีดี เป็นต้น 3. สื่อประเภทเทคนิค และวิธีการ (Techniques and Methods) หมายถึง สื่อที่มี ลัก ษณะเป็น แนวความคิด หรือรูปแบบขั้น ตอนในการเรียนการสอน โดยสามารถนาสื่อวัส ดุแ ละ อุปกรณ์มาใช้ช่วยในการสอนได้ เช่น เกมและการจาลอง การสอนแบบจุลภาค การสาธิต เป็นต้น อีลี (Ely) อีล ีไ ด้จ าแนกสื ่อ การสอนตามทรัพ ยากรการเรีย นรู ้ (Learning Resources) เป็น 5 รูปแบบ โดยแบ่งได้เป็นสื่อที่ออกแบบขึ้นเพื่อจุดมุ่งหมายทางการศึกษา (by design) และสื่อ ที่มีอยู่ทั่วไปแล้วนามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน (by utilization) ได้แก่ 1. คน (People) ในทางการศึกษาโดยตรงนั้น หมายความถึง บุคลากรที่อยู่ในระบบของ โรงเรียน ได้แ ก่ ครู ผู้บริห าร ผู้แ นะแนวการศึก ษา ผู้ช่วยสอน หรือผู้ที่อานวยความสะดวกด้าน ต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ ส่วน “ คน ” ตามความหมายของการประยุก ต์ใช้นั้น ได้แ ก่ คนที่ทางานหรือมีค วามชานาญงานในแต่ล ะสาขาซึ่ง มีอยู่ใ นวงสัง คมทั่ว ไป คนเหล่า นี้นับ เป็น “ ผู้เชี่ยวชาญ ” ซึ่งถึงแม้จะมิใช่นัก การศึก ษา แต่ก็ส ามารถจะช่วยอานวย ความสะดวกหรือเชิญ มาเป็นวิทยากร เพื่อเสริมการเรียนรู้ได้ในการให้ความรู้แ ต่ล ะด้าน อาทิเช่น ศิล ปิน นัก การเมือง นักธุรกิจ ช่างซ่อมรถยนต์ เหล่านี้เป็นต้น


2. วัสดุ (Materials) วัสดุในการศึกษาโดยตรงจะเป็นประเภทที่บรรจุเนื้อหาบทเรียน โดยรูปแบบของวัสดุมิใช่สิ่งสาคัญที่จะต้องคานึงถึง เช่น หนังสือ สไลด์ แผนที่ แผ่นซีดี เป็นต้น หรือสื่อต่าง ๆ ที่เป็นทรัพยากรในโรงเรียนและได้รับการออกแบบมาเพื่อช่วยอานวยความสะดวก ในการเรียน การสอน ส่วนวัสดุที่นามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนนั้นจะมีลักษณะเช่นเดียวกับ วัสดุที่ใช้ในการศึกษาดังกล่าวข้างต้น เพียงแต่ว่าเนื้อหาที่บรรจุอยู่ในวัสดุนั้นส่วนมากจะอยู่ในรูป ของ การให้ความบันเทิง เช่น เกมคอมพิวเตอร์ หรือภาพยนตร์สารคดีชีวิตสัตว์ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ มักถูกมองไปในรูปของความบันเทิง แต่ก็สามารถให้ความรู้ได้เช่นกัน 3. อาคารสถานที่ (Settings) หมายถึง ตัวตึก ที่ว่าง สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ซึ่งมีผลเกี่ยวข้อง กับ ทรัพยากร รูป แบบอื่น ๆ ที่อ อกแบบมาเพื่อการเรียนการสอนโดยส่ว นรวม เช่น ห้อ งสมุด หอประชุม สนามเด็กเล่น เป็นต้น ส่วนสถานที่ต่าง ๆ ในชุมชนก็สามารถประยุกต์ใช้เป็น ทรัพยากร สื่อการเรียนได้เช่นกัน เช่น โรงงาน ตลาด สถานที่ทางประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ เป็นต้น 4. เครื่องมือและอุปกรณ์ (Tools and Equipment) เป็นทรัพยากรทางการเรียนรู้ เพื่อ ช่วย ในการผลิตหรือใช้ร่วมกับทรัพยากรอื่น ส่วนมากมักเป็นเครื่องมือด้านโสตทัศนูปกรณ์หรือ เครื่องมือต่าง ๆ เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องคอมพิวเตอร์ หรือแม้แต่ตะปู ไขควง เหล่านี้เป็นต้น 5. กิจกรรม (Activity) โดยทั่วไปแล้วกิจ กรรมที่ก ล่าวถึง มัก เป็น การดาเนิน งานที่จัด ขึ้น เพื่อ กระทาร่ว มกับ ทรัพยากรอื่น ๆ หรือ เป็น เทคนิค วิธีก ารพิเ ศษเพื่อ การเรีย นการสอน เช่น การสอน แบบโปรแกรม เกม และการจ าลอง การจัด ทัศ นศึก ษา ฯลฯ กิจ กรรมเหล่า นี้มัก มี วัตถุประสงค์เฉพาะ ที่ตั้งขึ้น มีการใช้วัสดุการเรียนเฉพาะแต่ละวิชา หรือมีวิธีการพิเศษในการเรียน การสอน ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism) เป็นทฤษฏีที่ให้ความสาคัญกับกระบวนการและวิธีการของบุคคลในการสร้า งความรู้ความ เข้าใจจากประสบการณ์ ร วมทั้ ง โครงสร้ างทางปัญ ญาและความเชื่อที่ ใช้ในการแปลความหมาย เหตุการณ์และสิ่งต่างๆ เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนจะต้องจัดกระทากับข้อมูล นอกจากกระบวนการ เรียนรู้จะเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ภายในสมองแล้ว ยังเป็นกระบวนการทางสังคมด้วย การสร้าง ความรู้จึงเป็นกระบวนการทั้งด้านสติปัญญาและสังคมควบคูก่ ันไป หลักการจัดการเรียนการสอนตาม ทฤษฏีนี้จะมุ่งเน้นไปที่กระบวนการสร้างความรู้( process of knowledge construction) เปูาหมายของ การสอนจะเปลี่ยนจากการถ่ายทอดให้ผู้เรียนได้รับสาระความรู้ที่แ น่น อนตายตัว ไปสู่ก ารสาธิต กระบวนการแปลและสร้างความหมายที่ห ลากหลาย ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้จัด กระทากับข้อมูล หรือ ประสบการณ์ต่างๆ และจะต้องสร้างความหมายให้กับสิ่งนั้นด้วยตนเอง โดยการให้ผู้เรียนอยูใ่ นบริบท จริง ในการจัดการเรียนการสอนครูจะต้องพยายามสร้างบรรยากาศทางสังคมจริยธรรมให้เกิดขึ้น ผู้เรียนได้มีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที่โดยผู้เรียนจะนาตนเองและควบคุมตนเองในการเรียนรู้


บทบาทของครูจะเป็นผู้ให้ความร่วมมือ อานวยความสะดวกและช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนรู้ การ ประเมินผลการเรียนรู้ตามทฤษฏีนี้มีลักษณะที่ยืดหยุน่ กันไปในแต่ละบุคคล การประเมินควรใช้วิธกี ารที่ หลากหลาย การวัดผลจะต้องใช้กิจกรรมหรืองานในบริบทจริงด้วย ซึ่งในกรณีที่จาเป็นต้องจาลองของ จริงมาก็สามารถทาได้ แต่เกณฑ์ท่ใี ช้ควรเป็นเกณฑ์ท่ใี ช้ในโลกความจริงด้วย ทฤษฎีการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง(Constructivism) วีก็อทสกี้ เป็นนักจิตวิทยาชาวรัส เซียทฤษฎีเชาว์ปัญญาของ วีก็อทสกี้ เน้นความสาคัญของ วัฒนธรรม สังคม และการเรียนรู้ท่มี ีต่อพัฒนาการเชาว์ปัญญา วีก็อทสกี้ แบ่งระดับเชาว์ปัญญาออกเป็น 2 ขัน้ คือ 1. เชาว์ปัญญาขัน้ เบื้องต้น คือเชาว์ปัญญามูลฐานตามธรรมชาติโดยไม่ต้องเรียนรู้ 2. เชาว์ปัญญาขัน้ สูง คือเชาว์ปัญญาที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่ที่ให้การอบรมเลี้ยง ดูถ่ายทอดวัฒนธรรมให้โดยใช้ภาษา วีก็อทสกีไ้ ด้แบ่งพัฒนาการทางภาษาเป็น 3 ขัน้ คือ - ภาษที่ใช้ในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เรียกว่า ภาษาสังคม - ภาษาที่พูดกันตนเอง 3 – 7 ขวบ - ภาษาที่พูดในใจเฉพาะตน 7 ขวบขึ้นไป สรุปได้ว่า การเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้เป็นกระบวนการในการ Acting on ไม่ใช่ Taking in (ประมวลทฤษฎีการเรียนรู้ท่เี ป็นสากลและการประยุกต์สู่การสอน)ทฤษฎีการสร้างความรู้ ด้วยตนเอง (Constructivism) ก. ทฤษฎีการเรียนรู้ วีก็อทสกี้ (Vygotsky) เป็นนักจิตวิทยาชาวรัสเซียที่ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาในสมัยเดียวกับ เพียเจต์ (Piaget) ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาว์ ปัญญา ของเพียเจต์และวีก็อทสกีเ้ ป็นรากฐานที่สาคัญของทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) เพียเจต์เชื่อว่า (Piaget, 1972: 1 - 12) คนทุก คนจะมีก ารพัฒนาเชาว์ ปัญญาไปตามล าดับขั้น จากการปฏิสัมพัน ธ์แ ละประสบการณ์ กับสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ และประสบการณ์ที่เกี่ยวกับ การคิ ด เชิ ง ตรรกะและคณิ ต ศาสตร์ รวมทั้ ง การถ่ า ยทอดความรู้ ท างสั ง คม ส่ ว นวี ก็ อ ทสกี้ ให้ความส าคัญกับวัฒ นธรรมและสัง คมมาก มนุษย์ไ ด้รั บอิทธิพ ลจากสิ่ง แวดล้อมตั้ง แต่แ รกเกิ ด ซึ่งนอกจากสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติแล้วก็ยังมีสงิ่ แวดล้อมทางสังคมวางก็คอื วัฒนธรรมที่แต่ละสังคม สร้างขึ้น ข. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการเรียนการสอน การนาทฤษฎีการสร้างความรู้ไปใช้ในการเรียน การสอน สามารถทาได้หลายประการ ดังนี้ 1. ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ ผลของการเรียนรู้จะมุ่งเน้นไปที่กระบวนการสร้างความรู้ และการตระหนักรู้ในกระบวนการนั้นเปูาหมายการเรียนรู้จะต้องมาจากการปฏิบัติงานจริง ผู้เรียน จะต้องฝึกฝนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง


2. เปูา หมายของการสอนจะเปลี่ยนจากการถ่า ยทอดให้ผู้เ รียนได้รับสาระความรู้ ที่ แน่นอนตายตัว ไปสู่การสาธิตกระบวนการแปลและสร้างความหมายที่หลากหลาย การเรียนรู้ทักษะ ต่างๆจะต้องให้มีประสิทธิภาพถึงขัน้ ทาได้และแก้ปัญหาจริงได้ 3. ในการเรียนการสอน ผู้เรียนจะเป็นผู้มีบทบาทในการเรียนรู้อย่างตื่นตัว ผู้เรียนจะต้อง เป็นผู้จัดกระทากับข้อมูลหรือประสบการณ์ต่างๆและจะต้องสร้างความหมายให้กับสิ่งนั้นด้วยตนเอง โดยการให้ผู้เรียนอยูใ่ นบริบทจริง 4. ในการจัดการเรียนการสอนครูจะต้องพยายามสร้างบรรยากาศทางสังคม จริยธรรม ให้เกิดขึ้น กล่าวคือ ผู้เรียนจะต้องมีโอกาสเรียนรู้ในบรรยากาศที่เอื้ อต่อการปฎิสัมพัน ธ์ทางสังคม จะช่วยให้การเรียนรู้ของผู้เรียนกว้างขึ้น และหลากหลายขึน้ 5. ในการเรียนการสอน ผู้เรียนมีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ โดยผู้เรียนจะนาตนเอง และควบคุมตนเองในการเรียนรู้ 6. ในการเรียนการสอนแบบสร้างความรู้ ครูจะมีบทบาทแตกต่างไปจากเดิม คือจาก การเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้แ ละควบคุมการเรียนรู้ เปลี่ยนไปเป็นการให้ความร่วมมือ อานวยความ สะดวก และช่วยเหลือผู้เรียนในการเรียนรู้ คือการเรียนการสอนจะต้องเปลี่ยนจาก “การให้ความรู้” ไปเป็น “การให้ผู้เรียนสร้างความรู้” 7. ในด้านการประเมินผลการเรียนการสอน เนื่องจากการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้าง ความรู้ด้วยตนเองนี้ ขึ้นกับความสนใจและการสร้างความหมายที่แตกต่างกันของบุคคล ผลการเรียนรู้ ที่เกิดขึน้ จึงมีลักษณะหลากหลาย สรุป ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เป็นการฝึกการเรียนรู้ให้ความสาคัญกับกระบวนการ และวิธีการในการสร้างความรู้ ความเข้าใจจากประสบการณ์ การเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียนสร้าง ความรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้ได้รับรู้ถึงประสบการณ์จริงให้มีปฏิสัมพันธ์ท่เี ป็นจริงและสอดคล้องกับความ สนใจของผู้เรียน สมองเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการแปลความหมายของเหตุการณ์หรือสิ่งต่างๆได้เป็น อย่างดี การนาทฤษฎีการสร้างความรู้ไปใช้ในการเรียนการสอน สามารถทาได้หลายประการดังนี้ 1. การสร้างความรู้ ผลของการเรียนรู้จะมุ่งเน้นไปที่กระบวนการสร้างความรู้ (process of knowledge construction) และการตระหนักรู้ในกระบวนการนั้น (reflexive awareness of that process) เปูาหมายการเรียนรู้จะต้องมาจากการปฏิบัติงานจริง (authentic tasks) ครูจะต้องเป็นตัวอย่างและ ฝึกฝนกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเห็น ผู้เรียนจะต้องฝึกฝนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง 2. เปูาหมายของการสอน จะเปลี่ยนจากการถ่ายทอดให้ผู้เรียนได้รับสาระความรู้ที่แน่นอน ตายตัว ไปสู่การสาธิตกระบวนการแปลและสร้างความหมายที่หลากหลาย การเรียนรู้ทักษะต่าง ๆ จะต้องให้มีประสิทธิภาพถึงขัน้ ทาได้และแก้ปัญหาจริงได้


3. การเรียนการสอน ผู้เรียนมีบทบาทในการเรียนรู้อย่ างเต็มที่ (Devries, 1992: 1 - 2) ผู้เรียนจะต้องเป็นผู้จัดกระทากับข้อมูลหรือประสบการณ์ต่าง ๆ และจะต้องสร้างความหมายให้กับสิ่ง นั้นด้วยตนเอง โดยการให้ผู้เรียนอยูใ่ นบริบทจริง ซึ่งไม่ได้หมายความว่าผู้เรียนจะต้องออกไปยังสถานที่ จริงเสมอไป แต่อาจจัดเป็นกิจกรรมที่เ ป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ สิ่ง ของหรือข้อมูล ต่าง ๆ ที่เป็น ของจริง และมีความสอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียน โดยผู้เรียนสามารถจัดกระทา ศึกษา สารวจ วิเคราะห์ ทดลอง ลองผิดลองถูกกับสิ่งนั้น ๆ จนเกิดเป็น ความเข้าใจขึ้น ดังนั้นความเข้าใจเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากกระบวนการคิดการจัดกระทากับข้อมูล มิใช่ เกิดขึน้ ได้ง่าย ๆ จากการได้รับข้อมูลหรือมีข้อมูลเพียงเท่านั้น 4. การจัดการเรียนการสอน ครูจะต้องพยายามสร้างบรรยากาศทางสังคม จริยธรรม ให้ เกิดขึน้ กล่าวคือ ผู้เรียนจะต้องมีโอกาสเรียนรู้ในบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ซึ่งทาง สังคมถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญของการสร้างความรู้เพราะลาพังกิจกรรมและวัสดุอุปกรณ์ทั้งหลายที่ครู จัดให้หรือผู้เรียนแสวงหามาเพื่อการเรียนรู้ไม่เป็นการเพียงพอ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การร่วมมือ และ การแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดและประสบการณ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และบุคคลอื่น ๆ จะช่วย ให้การเรียนรู้ของผู้เรียนกว้างขึ้นซับซ้อนขึ้นและหลากหลายขึน้ การใช้ส่อื การสอน 1. ใช้สื่อการสอนในขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ทั้งนี้เพื่อเร้าผู้เรียนให้เกิดความสนใจ และเปลี่ยน พฤติกรรมในเบื้องต้น โดยปรับตนเองให้พร้อมที่จะเรียนรู้บทเรียนใหม่ ซึ่งอาจกระทาได้โดยการรื้อฟื้น ความรู้เดิม (assimilation) หรือขยายความรู้เดิม (accommodation) เพื่อนามาใช้ให้ประสานกันกับ ความรู้ใหม่ ซึ่งจะเรียนในขัน้ ต่อไป 2. ใช้สื่อการสอนในขัน้ ประกอบการสอนหรือขัน้ ดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อช่วยให้ ความกระจ่างในเนือ้ หาที่เรียนหรือทาให้ผู้เรียน เรียนรู้ได้ง่ายขึ้นและเข้าใจข้อเท็จจริงในเนื้อหาอย่าง แท้จริงในรูปของการเกิด Concept เข้าใจหลักการสาคัญ และมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปใน แนวทางที่ดีข้นึ ตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่ได้กาหนดไว้ 3. ใช้สื่อการสอนเพื่อขยายขอบเขตความรู้ของผู้เรียนให้ก้าวหน้าและเจริญงอกงามทั้งในด้าน ความกว้างและความลึกของภูมิปัญญา ซึ่งเป็นผลของการเรียนอย่างแท้จริง ใช้สื่อการสอนเพื่อย่อสรุป เนือ้ หาสาคัญของบทเรียนเกิดเป็น Concept ในเนือ้ หาแต่ละเรื่อง 4. ใช้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมผู้เรียนให้มีก ารฝึกและพัฒนาตนเองให้รู้จัก ขั้น ตอนและมี ความคิดสร้างสรรค์ (Control and Creativity)


หลักในการใช้ส่อื ในการพิจารณาเลือกใช้สื่อการสอนแต่ละครั้งครูควรพิจารณาถึงความเหมาะสมของสื่อการ สอนแต่ละชนิด ดังนี้ 1. ความเหมาะสม สื่อที่จะใช้นั้นเหมาะสมกับเนือ้ หาและวัตถุประสงค์ของการสอนหรือไม่ 2. ความถูกต้อง สื่อที่จะใช้ช่วยให้นักเรียนได้ข้อสรุปที่ถูกต้องหรือไม่ 3. ความเข้าใจ สื่อที่จะใช้นั้นควรช่วยให้นักเรียนรู้จักคิดอย่างมีเหตุผลและให้ข้อมูลที่ถูกต้อง แก่นักเรียน 4. ประสบการณ์ที่ได้รับ สื่อที่ใช้นั้นช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้แก่นักเรียน 5. เหมาะสมกับวัย ระดับความยากง่ายของเนื้ อหาที่บรรจุอยู่ในสื่อชนิดนั้น ๆ เหมาะสมกับ ระดับความสามารถ ความสนใจ และความต้องการของนักเรียนหรือไม่ 6. เที่ยงตรงในเนือ้ หา สื่อนั้นช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้เนือ้ หาที่ถูกต้องหรือไม่ 7. ใช้การได้ดี สื่อที่นามาใช้ควรทาให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้ได้ดี 8. คุม้ ค่ากับราคา ผลที่ได้จะคุม้ ค่ากับเวลา เงิน และการจัดเตรียมสื่อนั้นหรือไม่ 9. ตรงกับความต้องการ สื่อนั้นช่วยให้นักเรียนร่วมกิจกรรมตามที่ครูต้องการหรือไม่ 10. ช่วยเวลาความสนใจ สื่อนั้นช่วยกระตุ้นให้นักเรียนสนใจในช่วงเวลานานพอสมควรหรือ 7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเปูาหมายในการนา BP ไปใช้ นัก เรี ยนชั้ น ประถมศึ ก ษาปีที่ 6 โรงเรีย นดิศ กุล จ านวน 46 คน และนั ก เรี ยนที่ ส นใจ ใคร่เรียนรู้ 7.2 ขัน้ ตอนการพัฒนา BP ขั้นเตรียมการ - ศึกษาหลักสูตร - แผนการจัดการเรียนรู้

ขั้นวางแผน - ชีแ้ จงนักเรียน ให้รายละเอียด ทาความเข้าใจ ขั้นดาเนินการ - ร่วมออกแบบสื่อให้สอดคล้อง กับกิจกรรม และนาไปใช้

ขั้นพัฒนา/ปรับปรุง - แก้ไข ปรับปรุง พัฒนา

ขั้นตรวจสอบประเมิน - ตรวจสอบผลงาน -ประเมินผล


7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP 7.3.1 ตรวจสอบโดยการใช้แบบประเมินผลความพึงพอใจชิน้ งานของสื่อและการนาไปใช้ใน การจัดการเรียนการสอน ซึ่งมีตัวนักเรียน เพื่อน ครู และผู้ปกครองร่วมกันประเมิน 7.3.2 ตรวจสอบโดยสัง เกตพฤติก รรม ความกระตื อรื อ ร้ น การตอบสนองต่ อ การจั ด กิจกรรม 7.3.3 ตรวจสอบจากการใช้แบบทดสอบก่อน-หลังการจัดการเรียนการสอน 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ 7.4.1 นาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเน้นให้นักเรียนมีส่วนร่วม 7.4.2 สามารถนาผลงานไปแสดงนิทรรศการวิชาการของโรงเรียน 7.4.3 สามารถนาไปเป็นสื่อเพื่อส่งเสริมกระบวนทางภาษาไทยและส่งเสริมการอ่านได้ 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน จานวน 46 คน สามารถสร้าง และใช้สื่อในการ จัดการเรียนการสอน 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 8.2.1 นักเรียนมีโอกาสได้สร้างสรรค์สื่อด้วยตนเองที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการ สอน 8.2.2 นักเรียนเกิดประสบการณ์และมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระที่ได้เรียนรู้ร่วมกับ การใช้สื่อ 8.2.3 นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจและประทับใจในผลงานของตนเอง 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP 8.3.1 ร้อยละ 85 ของนักเรียนกลุ่มเปูาหมายเกิดความพึงพอใจในการผลิตสื่อและการนาสื่อ ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 8.3.2 ร้อยละ 85 ของผู้ปกครองเกิดความพอใจต่อการผลิตสื่อและการเรียนรู้ของนักเรียน 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ 8.4.1 ปัจจัยภายนอก ได้แก่ (1) ผู้ปกครอง ให้การสนับสนุนส่งเสริมให้นักเรียนได้ผลิตสื่อและนาสื่อไปใช้การเรียนรู้ ด้วยตนเอง ทาให้โรงเรียนมีการดาเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรม 8.4.2 ปัจจัยภายใน ได้แก่ (1) ผู้บริหาร ให้ความสาคัญในการกระตุ้น กากับติดตาม และสนับสนุนให้ครูได้ แสดงพลังและศักยภาพอย่างเต็มที่ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนการส่งเสริมในเรื่องขวัญ และกาลังใจอย่างสม่าเสมอ


(2) คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา ช่วยแนะนา สนับสนุน และให้คาชี้แนะเพื่อจะ ได้นาไปปรับปรุงแก้ให้ดีขนึ้ (3) ครูผู้สอน มีความตระหนักและเน้นความสาคัญ ในการวิเคราะห์ผู้เรียนและนาผล การวิเคราะห์ มาก าหนดแนวทางการจั ด การเรียนการสอนให้ส อดคล้องกับความต้องการ และ ธรรมชาติของผู้เรียน ส่งเสริมการผลิตและการใช้สื่อให้แก่นักเรียนเพื่อสร้างเสริมการจัดการเรียนการ สอนอย่างต่อเนื่อง (4) ผู้เรียนมีความสนใจและเป็นผู้ใฝุรู้ใฝุเรียนและตระหนัก ในบทบาทหน้าที่ทาให้ ประสบความสาเร็จและเกิดประสิทธิภาพ 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 การตรวจสอบซ้า BP ตรวจสอบความถูกต้องของสื่อการเรียนรู้ที่ผลิตเพื่อช่วยส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน หากเกิ ด ข้ อ ผิ ด พลาดท าการแก้ ไ ข ปรั บ ปรุ ง เพิ่ ม เติ ม ให้ ส ามารถใช้ ง านได้ และเกิ ด ประสิทธิภาพกับผู้เรียนอย่างคุม้ ค่า 9.2 การตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ใช้สื่อการเรียนรู้ท่ผี ลิตขึ้นในกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะทาง ภาษาไทยให้ดีขนึ้ และทาการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง (ระบุ วัน เดือน ปี) และรูปแบบ/วิธกี ารประชาสัมพันธ์ เผยแพร่และขยายผล) - ได้นาสื่อการเรียนรู้ไ ปจัด นิทรรศการแสดงผลงานด้านวิชาการและเศรษฐกิจ พอเพียง ปีการศึกษา 2556 - ใช้เป็นแบบเสริมทักษะสาหรับนักเรียนนักเรียนทีม่ ีความสนใจในการเรียนรู้

ลงชื่อ

นารี ปิ่นปี เจ้าของผลงาน (นางนารี ปิ่นปี) ตาแหน่ง ครูคศ.1 โรงเรียนดิศกุล


ภาพ การผลิตสื่อส่งเสริมกิจกรรมการเรียนการสอน “นิทานกล่อง”


สื่อชุดการสอนสานวนไทย “ดอกไม้สานวนไทย”

สื่อชุดการผันอักษร “การผันอักษรด้วยมือเรา”

สื่อชุดการสอน “คาไวพจน์”

สื่อชุดการสอน “คาขวัญจังหวัด”

สื่อชุดการสอน “ดอกไม้ในวรรณคดี”

สื่อชุดการสอน “นิทานทามือ”


ภาพกิจกรรม

นักเรียนร่วมแต่งกายตัวละครในวรรณคดี เนื่องในวันสุนทรภู่

การเปิดพจนานุกรม และการเล่านิทาน


จัดนิทรรศการแสดงผลงานด้านวิชาการและเศรษฐกิจพอเพียง ปีการศึกษา 2556



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.