BEST PRACTICE นางสาวอนุสรา เกตุแก้ว ครูโรงเรียนดิศกุล สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

Page 1

ปี 2558

วิธีการปฏิบัติที่เป็ นเลิศ Best Practice “Let’s sing a song.” ครู ผู้สอนยอดเยีย่ ม ด้ านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนและการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

ของ นางสาวอนุสรา เกตุแก้ ว ตาแหน่ ง ครู คศ.1 โรงเรียนดิศกุล สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1


คานา เอกสารฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อเสนอขอรับการประเมินรับรางวัล OBEC AWARDS ครู ผสู้ อนยอด เยีย่ ม ประเภทบุคคลากรยอดเยีย่ ม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยผูจ้ ดั ทาได้รวบรวม สรุ ปผลงานตามหัวข้อการประเมินที่กาหนด พร้อมแนบหลักฐาน เอกสารอ้างอิงไว้ดว้ ยแล้ว เอกสารประกอบเพื่อขอรั บการประเมิ นฉบับนี้ เสร็ จสมบูรณ์ ได้ด้วยความร่ วมมือของนักเรี ยน บุคลากรโรงเรี ยนดิศกุล ที่ได้ช่วยรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ทาให้สะดวกต่อการจัดทารายงานฉบับนี้ หวังว่า เอกสารฉบับนี้ คงจะอานวยความสะดวกให้แก่คณะกรรมการการประเมิน ในการพิจารณา ตรวจสอบ คุณสมบัติของโรงเรี ยนซึ่ งเข้ารับการประเมินต่อไป

อนุสรา เกตุแก้ว

ก เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


สารบัญ เรื่อง

หน้ า

คานา สารบัญ ผลงานที่เป็ นเลิศ (Best Practice) ชื่อผลงาน ข้อมูลทัว่ ไปของผูพ้ ฒั นา วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนา BP ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้ าหมาย/จุดเน้น สพป./สพฐ./สถานศึกษา แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP กระบวนการพัฒนา BP ผลสาเร็ จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP กระบวนการตรวจสอบซ้ าเพื่อพัฒนาปรับปรุ ง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่ อง การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็ จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง ประวัติผจู้ ดั ทา ภาคผนวก ภาพถ่ายกิจกรรม

ก ข 1 1 1 1 1 2 6 6 7 7 8 9

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


ผลงานการปฏิบัติทเี่ ป็ นเลิศ Best Practice

1. ชื่อผลงาน Best Practice : “ Let’s sing a song.” กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน 2. ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้พฒ ั นา Best Practice 2.1 ชื่อผูพ้ ฒั นา Best Practice นางสาวอนุสรา เกตุแก้ว 2.2 โรงเรี ยนดิศกุล เครื อข่ายพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาหนองตากยา 2.3 โทรศัพท์ 08-9035-0236 e-mail : kanoosara@gmail.com 3. วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา Best Practice 1. เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียน ภาษาอังกฤษ 2. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีในการเรี ยนภาษาอังกฤษ 4. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice ระยะเวลาที่เริ่ มการพัฒนา วันที่ 1 - 31 กรกฎาคม 2558 โดยจัดการเรี ยนการสอนสัปดาห์ ละ 3 ชัว่ โมง เป็ นเวลา 5 สัปดาห์ รวม 15 ชัว่ โมง 5. ความเชื่อมโยง/สั มพันธ์ ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้ นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา จุดเน้นของสถานศึกษาคือ นักเรี ยนมีทกั ษะ ฟั ง พูด อ่าน และเขียนตามระดับชั้นของผูเ้ รี ยน และสามารถจับใจความของเรื่ องที่ อ่านได้ซ่ ึ งในปี พุ ทธศักราช 2558 ภาษาอังกฤษจะเป็ นภาษา มาตรฐานกลางที่ สาคัญอันจะนาไปสู่ ก ารเรี ย น การฝึ กฝนอบรมในทัก ษะวิชาชี พต่ างๆ ในแถบ ประเทศอาเซียน ดังนั้นคนไทยทุกคนจึงจาเป็ นต้องเรี ยนรู้และใช้ภาษาอังกฤษได้ เพื่อเป็ นเครื่ องมือ ในการสื่ อสาร การทางาน และการศึกษาหาความรู ้ เพิ่มเติม เพื่อให้เข้าใจถึงสังคม วัฒนธรรม และ ประเพณี ต่างๆที่จะมีส่วนช่วยในการดาเนินชีวติ ในประชาคมอาเซี ยนของเราให้มีประสิ ทธิ ภาพและ คุณภาพที่ดี โดยการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดภาษาอังกฤษให้อยูใ่ นกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ซึ่ งนักเรี ยนทุกคนต้องเรี ยนภาษาอังกฤษเป็ นภาษาที่สอง กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ ภาษาต่างประเทศ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึ กษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดคุ ณภาพผูเ้ รี ยน จบชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 6 ให้ผเู ้ รี ยนใช้ภาษาในการติดต่อสื่ อสารได้อย่างถูกต้อง จึงจาเป็ นต้องมีการฝึ กฝน เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

1


ทักษะพื้นฐานที่สัมพันธ์กนั ทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ การฟั ง การพูด การอ่าน และการเขียน สาหรับสื่ อสาร ตามหัว เรื่ อ งเกี่ ย วกับ ตนเอง ครอบครั ว โรงเรี ย น สิ่ ง แวดล้อม อาหาร เครื่ องดื่ ม เวลาว่ า งและ นันทนาการ สุ ขภาพและสวัสดิ การ การซื้ อ-ขาย และลมฟ้ าอากาศ ภายในวงคาศัพท์ประมาณ 1,0501,200 คา (คาศัพท์ที่เป็ นรู ปธรรมและนามธรรม) และใช้ประโยคเดี่ยวและประโยคผสม (Compound Sentences) สื่ อความหมายตามบริ บทต่าง ๆ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551,น. 220) และการเรี ยนการสอนโดยใช้บทเพลงจะช่วยสร้างบรรยากาศ กระตุน้ การเรี ยนรู ้ในชั้นเรี ยน ทาให้สนุ กสนาน ผ่อนคลายมากกว่าการเรี ยนแบบปกติ ผูเ้ รี ยนสามารถอ่านคาภาษาอังกฤษตามบท เพลง ผ่านการฟังและฝึ กร้องตาม โดยบทเพลงที่นามาสอนจะเน้นเพลงที่เหมาะสมกับช่วงวัย ความ ต้องการและความสนใจของผูเ้ รี ยน และเพลงส่ วนใหญ่มกั จะใช้ภาษาที่เป็ นธรรมชาติ และใช้ได้จริ ง ในชีวติ ประจาวัน มีคาศัพท์ใหม่สามารถช่วยให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ได้โดยผ่านทางเพลงซึ่ งเป็ นสิ่ งที่ทุกคน สามารถรับรู้และเข้าถึงได้ง่าย เรี ยนรู้โครงสร้างไวยากรณ์ และความรู้ดา้ นวัฒนธรรมสามารถเรี ยนรู้ ได้จากเพลงโดยเวลาที่ใช้ในการสอนเพลงสามารถยืดหยุน่ ได้ ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนรู้สาเนียงภาษาที่ แตกต่างกันจากเพลง ผูส้ อนสามารถนาเนื้อเพลงมาเกี่ยวโยงกับสถานการณ์รอบตัวของนักเรี ยนและ การเรี ยนการสอนโดยใช้เพลงเป็ นการเรี ยนรู้ที่เป็ นธรรมชาติและสนุกสนาน ดังนั้น ครู สอนภาษาควรใช้ดนตรี มีส่วนในการเรี ยนการสอน ด้วยวิธีการใช้เนื้ อเพลง จะทา ให้นกั เรี ยนได้เรี ยนทั้งแบบการเขียนคาศัพท์ที่เน้นเป็ นคา และแบบองค์รวม (whole language) คือ การเรี ยนอ่า นประโยคผ่า นการร้ องเพลง ซึ่ ง สอดคล้องกับ จุ ดประสงค์ข องสถานศึ กษาที่ เน้นให้ นักเรี ยนมีทกั ษะในการใช้ท้ งั 4 ทักษะ จึงเป็ นแนวทางที่ดีในการเริ่ มอ่านข้อความเพื่อที่สามารถจับ ใจความของเนื้อเรื่ องที่อ่านหรื อใช้ติดต่อสื่ อสารในชีวิตประจาวันได้ 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีทนี่ ามาใช้ ในการพัฒนา BP ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP คือ 1. ทฤษฎีพหุ ปัญญา (Multiple intelligence) ของ Gardner (1983) คือ ความสามารถของ มนุ ษย์ในการแก้ปัญหา ซึ่ งจาแนกความสามารถทางปั ญญาของมนุษย์ออกเป็ น 8 ด้าน และ 1 ใน 8 ด้านนั้น คือ ความสามารถทางด้านดนตรี (Musical intelligence) ทฤษฎีพหุ ปัญญาสนับสนุนเรื่ อง การใช้ดนตรี ในการเรี ยนภาษา เพราะดนตรี สามารถนาไปใช้ในการเรี ยนการสอนภาษาได้หลายทาง เช่น ผูเ้ รี ยนสามารถฟังดนตรี ขณะที่เขียนบทความ หรื อให้ผเู ้ รี ยนร้องเพลงที่เนื้ อเพลงประกอบด้วย โครงสร้างทางภาษา จะเห็นได้วา่ ดนตรี สามารถนาไปใช้ในการสอนภาษาได้เป็ นอย่างดี ซึ่ งการนา กิจกรรมเพลงหรื อดนตรี ที่สอดคล้องกับเนื้ อหา บทเรี ยน และทักษะที่ตอ้ งเรี ยนรู้ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมี เจตคติที่ดี มีความมัน่ ใจในการเรี ยน และยังช่วยให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกฝนทักษะทางด้านดนตรี อีกด้วย ยิ่งกว่านั้น ผูเ้ รี ยนที่มีความสามารถทางดนตรี อยูแ่ ล้ว ก็จะประสบความสาเร็ จในการเรี ยนได้มาก ยิง่ ขึ้น เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

2


2. ทฤษฎีการสอนภาษาแบบองค์รวม (Whole Language) ของ Freeman (1992) เน้น กระบวนการฟั ง และกระบวนการพู ดโดยเป็ นการให้ผูเ้ รี ย นเกิ ดความคุ ้นเคยกับการฟั ง และ ตอบสนองต่อสิ่ งที่ได้ฟังนั้น เพื่อช่วยให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนาการฟัง พูดได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ และส่ งเสริ มการทางานร่ วมกันเพื่อสร้างแรงจูงใจและความสนใจในกระบวนการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน (Bergeron, 1990) 3. แนวคิดที่เกี่ยวกับการเรี ยนการสอนโดยใช้บทเพลงประกอบ ซึ่ง Griffee (1992) ได้ กล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการใช้กิจกรรมเพลงในชั้นเรี ยน คือ 1. เพื่อเพิ่มพูนคาศัพท์ 2. เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน 3. เพื่อพัฒนาความสามารถในการร้องเพลง 4. เพื่อพัฒนาความสามารถในการอภิปราย ในส่ วนของการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยใช้กิจกรรมเพลงที่มีเนื้ อเรื่ องนั้น Mediana (1993) ได้เสนอ 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นการเลือกเพลง (Select a story-song) ผูส้ อนเลือกเพลงที่มีเนื้อหาอยูใ่ นความสนใจ ของผูเ้ รี ยน มีจานวนของคาศัพท์ใหม่ที่เหมาะสมกับการเรี ยนรู ้ และควรจะมีรูปภาพประกอบ เกี่ยวกับเนื้อหาของเพลงนั้นๆ 2. ขั้นเตรี ยมความพร้อม (Preparing for the story-song) ให้ผเู้ รี ยนมีความคุน้ เคยกับเนื้ อหา ของเพลงก่ อนฟั ง จากการร่ วมกันอภิ ปรายในหัวข้อของเนื้ อเพลง โดยให้ผูเ้ รี ยนได้แบ่ งปั น ประสบการณ์ในหัวข้อนั้น เพื่อเป็ นการดึงความรู้เดิมของผูเ้ รี ยน 3. ขั้นฟั งดนตรี (Introduce the music) ให้ผเู ้ รี ยนได้ฟังส่ วนที่เป็ นทานองดนตรี ก่อน เพื่อให้ ผูเ้ รี ยนมีโอกาสได้ทาความคุ น้ เคยกับเพลง ก่อนที่จะฟั งเนื้ อหาของเพลง โดยที่ผเู้ รี ยนสามารถทา กิจกรรมอื่นๆไปด้วยในขณะที่ฟังดนตรี เช่น การทางานศิลปะ หรื อการแสดงท่าทางประกอบ 4. ขั้นฟั งเนื้ อเพลง (Present the story-song) ให้ผเู้ รี ยนฟังเพลง 2-3 รอบโดยที่ผสู ้ อนชี้ รู ปภาพประกอบตาม หลังจากนั้นอาจจะให้ผเู ้ รี ยนเปลี่ยนกันเป็ นคนชี้รูปภาพประกอบเนื้ อเพลงนั้น 5. ขั้นหลังฟังเพลง (Continue to support language acquisition) ให้ผเู ้ รี ยนทากิจกรรมต่างๆ หลังจากฟังเพลงแล้ว เช่น การวาดรู ปภาพเกี่ยวกับคาศัพท์ในเนื้อเพลง จากขั้นตอนของ Mediana ผูส้ อนจะทาการเลือกเพลงก่อนสาหรับแผนการสอนแต่ละแผน ส่ วนในขั้นการเรี ยนการสอนนั้น ผูว้ จิ ยั จะดาเนินตามแผนการสอน 4 ขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นเตรี ยมความพร้อม ผูส้ อนจะใช้กิจกรรมนาที่ช่วยกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนได้ใช้ความรู ้เดิม ของผูเ้ รี ยนเกี่ยวกับหัวข้อของเนื้อเพลง และแนะนาคาศัพท์หรื อสานวนที่ผเู้ รี ยนจาเป็ นต้องรู้เพื่อการ เข้าใจความหมายของเนื้ อเพลงที่จะเรี ยน 2. ขั้นฟังดนตรี ผูส้ อนเปิ ดส่ วนที่เป็ นดนตรี หรื อทานองเพลงให้ผเู ้ รี ยนฟังในขณะที่ทา 3 เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


กิจกรรมอื่นๆไปด้วย เช่น เต้นประกอบเพลง หรื อทางานศิลปะที่จะนามาใช้ในการแสดง เพือ่ เป็ น การให้ผเู ้ รี ยนมีความคุน้ เคยกับทานองเพลงก่อนที่จะฟังเนื้ อหาของเพลง 3. ขั้นฟั งเพลง ผูส้ อนจะเปิ ดเพลงให้ผเู้ รี ยนฟั งประมาณ 2-3 รอบ พร้อมกับชี้ รูปภาพ ประกอบเพื่อให้เข้าใจความหมายของเพลงมากขึ้น หลังจากนั้นจึงให้ผเู ้ รี ยนได้ฝึกร้องตาม 4. ขั้นหลังฟั งเพลง ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนทากิ จกรรมต่างๆที่เกี่ ยวกับบทเรี ยน เช่น การแสดง บทบาทสมมติตามเนื้ อเรื่ องของเพลงที่เรี ยน และวาดภาพเพื่อบอกความหมายของคาศัพท์จากข้อดี ของกิจกรรมเพลงที่มีเนื้อเรื่ องดังกล่าวข้างต้น ผูว้ จิ ยั เห็นว่า เป็ นกิจกรรมเพลงที่เหมาะกับ เ ด็ ก นักเรี ยนในวัยประถมศึกษา เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มความรู ้ดา้ นคาศัพท์ และทักษะ ก า ร ฟั ง พู ด ของนักเรี ยน ซึ่ งเชื่ อว่าบรรยากาศการเรี ยนของกิจกรรมเพลงที่มีเนื้ อเรื่ องนี้ จะส่ งผลดีต่อการรับรู้ ภาษาและพัฒนาทักษะฟัง พูดได้เป็ นอย่างดี สรุ ป การเรี ยนการสอนโดยใช้บทเพลง เป็ นแรงจูงใจและพัฒนาการเรี ยนรู ้แก่ผเู ้ รี ยน ซึ่ งการ ร้องเพลงช่วยให้เกิดความสนุ กและผ่อนคลาย นอกจากนี้ เพลงยังช่วยพัฒนาทักษะทั้ง 4 คือ ฟัง พูด อ่าน เขียน และยังช่วยในการเรี ยนรู ้ภาษาด้านอื่นๆ เช่น รู ปแบบประโยค คาศัพท์ การออกเสี ยง คาคุณศัพท์ เป็ นต้น นอกจากนี้ การเรี ยนรู ้ภาษาอังกฤษผ่านทางเพลงยังช่วยให้เกิดบรรยากาศที่ไม่ กดดันสาหรั บผูเ้ รี ยนที่ ม กั จะเกิ ดความเครี ยดเมื่ อต้องพูดภาษาอังกฤษในชั้นเรี ย น (Reeve & Williamson, 1987,Giudice, 1986) แนวคิดทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้ องกับความพึงพอใจ ความพึงพอใจเป็ นปั จจัยสาคัญประการหนึ่ งที่มีผลต่อความสาเร็ จของงานบรรลุเป้ าหมายที่ วางไว้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ อันเป็ นผลเนื่ องมาจากการได้รับการตอบสนองต่อแรงจูงใจหรื อความ ต้องการขอแต่ละบุคคลในแนวทางที่เขาประสงค์ ความพึงพอใจ คือ เรื่ องที่เกี่ยวข้องกับด้านอารมณ์ ความรู้สึก และทัศนคติของบุคคลเนื่ องจากสิ่ งเร้าและแรงจูงใจ ซึ่ งแสดงออกมาทางด้านพฤติกรรม และเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญในการทากิจกรรมต่างๆของบุคลากร และบุคคลจะเกิดความพึงพอใจ จะต้องอาศัยปั จจัยหลายอย่างมากระตุน้ ให้เกิ ดความรักหรื อมีเจตคติที่ดีต่อสิ่ งนั้นๆ บุคคลจะเกิ ด ความพึงพอใจนั้นจะต้องมีการจูงใจให้เกิดขึ้น วิธีการสร้างความพึงพอใจในการเรี ยน มีการศึกษาในด้านความสัมพันธ์เชิงเหตุผลและผลระหว่างสภาพจิตใจกับผลการ เรี ยนจุดที่น่าสนใจจุดหนึ่ง คือ การสร้างความพอใจในการเรี ยนตั้งแต่เริ่ มต้น ผลตอบแทนที่ได้รับ

ความพึงพอใจของ ผูป้ ฏิบตั ิงาน

แรงจูงใจ

การปฏิบตั ิงานที่มี ประสิ ทธิภาพ 4

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


ภาพที่ 4 แสดงความพึงพอใจนาไปสู่ การปฏิบัติงานทีม่ ีประสิ ทธิภาพ สรุ ปได้วา่ ความพึงพอใจในการเรี ยนและผลการเรี ยนจะมีความสัมพันธ์กนั ในทางบวกทั้งนี้ ขึ้นอยู่กบั ว่า กิ จกรรมที่นกั เรี ยนได้ปฏิบตั ิน้ นั ทาให้นกั เรี ยนได้รับการตอบสนองความต้องการทางด้าน ร่ างกายและจิตใจ ซึ่ งเป็ นส่ วนสาคัญที่จะทาให้เกิดความสมบูรณ์ ของชี วิตมากน้อยเพียงใดนัน่ คือ สิ่ งที่ ครู ผสู้ อนจะคานึงถึงองค์ประกอบต่างๆ ในการเสริ มสร้างความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้ให้กบั นักเรี ยน การวัดและประเมินผลทักษะการฟัง บารุ ง โตรัตน์ (2524) กล่าวว่า ประเด็นหลัก 2 ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการวัดหรื อทดสอบ การฟัง คือ การทดสอบการฟังแยกเสี ยง เป็ นการทดสอบความสามารถในการบอกความแตกต่างและความ คล้ายคลึงของเสี ยงในภาษาอังกฤษ และทดสอบการฟังเพื่อความเข้าใจ เป็ นการวัดว่าผูฟ้ ั งสามารถเข้าใจ เนื้อหาและจับใจความของเสี ยงพูดเป็ นภาษาอังกฤษหรื อไม่ เมื่อพิจารณาถึงทักษะการฟัง Valette and Disick (1972) ได้แบ่งระดับความสามารถและการประเมินผลทักษะการฟังออกเป็ น 5 ระดับ คือ 1. ระดับกลไก (Mechanical stage) เป็ นระดับที่ผเู ้ รี ยนสามารถบอกถึงความแตกต่างระหว่างภาษา แม่กบั ภาษาที่สอง สามารถบอกความแตกต่างของภาษาต่างประเทศตั้งแต่สองภาษาขึ้นไปจากเสี ยงที่ได้ยิน แต่ไม่จาเป็ นต้องเข้าใจความหมาย 2. ระดับความรู้ (Knowledge stage) เป็ นระดับที่ผเู้ รี ยนเข้าใจความหมายของคาและประโยคที่ได้ยิน สามารถทาตามคาสั่ง เลือกภาพได้ตรงกับประโยคที่ได้ยิน สามารถเลือกประโยคที่มีความหมายเหมือนกับ ประโยคที่ได้ยนิ นอกจากนั้นยังสามารถตอบคาถาม และออกเสี ยงได้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ของรู ปแบบ ประโยคที่คุน้ เคย 3. ระดับถ่ายโอน (Transfer) เป็ นระดับที่ผเู ้ รี ยนสามารถเข้าใจการผสมกันของโครงสร้ างและ คาศัพท์ที่คุน้ เคย สามารถตอบคาถามแบบเลือกตอบถูกผิด เลือกเติมคาที่เหมาะสมเพื่อให้ประโยคสมบูรณ์ หรื อตอบคาถามและเข้าใจบทความที่ประกอบด้วยหลายประโยค รวมทั้งสามารถทาตามคาสั่งได้ในหลาย สถานการณ์ที่แตกต่างกัน 4. ระดับสื่ อสาร (Communication stage) เป็ นระดับที่ผเู ้ รี ยนสามารถเข้าใจคาสั่งและคาอธิ บายที่ใช้ ภาษาต่างประเทศ เข้าใจความหมายทัว่ ๆไปของบทความที่มีคาศัพท์ที่ไม่คุน้ เคยอยู่และเข้าใจการพูดของ เจ้าของภาษาที่ได้ยินในละคร ภาพยนตร์ วิทยุ หรื อรายการโทรทัศน์นอกจากนี้ ยงั สามารถบอกความรู ้สึก ความต้องการของตนเอง และสามารถอธิบายความคิดเห็นของตนให้ผอู้ ื่นเข้าใจได้ 5. ระดับวิเคราะห์ (Criticism stage) เป็ นระดับที่ผเู้ รี ยนสามารถวิเคราะห์ความหมายและรู ปแบบของ ภาษาที่ได้ยนิ สามารถแยกแยะมาตรฐานของภาษาต่างๆ นอกจากนั้นยังสามารถเข้าใจความหมายทั้งโดยตรง และโดยนัยของประโยคที่ได้ยนิ ฟังบทสนทนาแล้วบอกได้เกี่ยวกับอารมณ์ของผูพ้ ูด สถานที่ และสถานภาพ ของผูพ้ ดู ได้ เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

5


7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเป้ าหมายในการนา BP ไปใช้ (Plan) - ในการจัดการเรี ยนการสอนครั้ งนี้ มี กลุ่ มเป้ าหมาย คื อ นักเรี ยนชั้นประถมศึ กษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนดิศกุล จานวน 23 คน ผูส้ อนได้ศึกษาแนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่สนับสนุนการเรี ยนการสอน ภาษาโดยใช้บทเพลง สอบถามข้อมูลความสนใจของผูเ้ รี ยนเกี่ยวกับภาพยนตร์ ที่ผเู้ รี ยนเคยดู เพลงที่เคยฟั ง จากสื่ อโฆษณา เช่น ทีวี วิทยุ และอื่นๆ และคัดเลือกบทเพลงพร้อมเนื้ อเพลงที่มีเนื้ อหาสอดคล้องกับเนื้ อหา ในระดับชั้นของผูเ้ รี ยน - วิเคราะห์เนื้ อเพลงเพื่อหาความสอดคล้องของเนื้ อเพลงกับบทเรี ยนในระดับชั้นของผูเ้ รี ยน - ผูส้ อนจัดทาเนื้ อเพลงสากลพร้อมกับวีดีโอของบทเพลงนั้นๆไว้ ทั้งหมด จานวน 5 เพลง โดยสอนสัปดาห์ละ 1 เพลง และเติมคาศัพท์ เพลงละ 10 คา 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP (Do) - ผูส้ อน สอนเพลงจานวน 5 เพลง โดยแบ่งสอนสัปดาห์ละ 1 เพลง และเติมคาศัพท์ เพลง ละ 10 คา 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP(Check) - วิธีการตรวจสอบคุณภาพ BP โดยใช้เครื่ องมือดังต่อไปนี้ - แบบประเมินความสอดคล้องของเนื้อเพลงกับเนื้อหาในบทเรี ยนของผูเ้ รี ยน - แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยน - แบบประเมินความพึงพอใจ และนาผลที่ได้มาวิเคราะห์เปรี ยบเทียบ ปรับปรุ งเพื่อดูคุณภาพของ BP 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ (Action) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้ประสบการณ์จากการเรี ยนคาศัพท์ของเพลงที่เรี ยนไปแล้ว นาไปใช้กบั เพลงใหม่ หรื ออ่านบทความอื่นๆได้ตามความสนใจของผูเ้ รี ยน 8 ผลสาเร็ จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP 8.1 ผลสาเร็ จเชิงปริ มาณ นักเรี ยนกลุ่มเป้ าหมาย ร้อยละ 80 สามารถฟัง พูด อ่านและเขียนคาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ 8.2 ผลสาเร็ จเชิงคุณภาพ นักเรี ยนกลุ่มเป้ าหมายสามารถอ่านคาศัพท์และประโยคได้เพิ่มมากขึ้น 8.3 ความพึงพอใจของผูเ้ กี่ยวข้องต่อ BP นักเรี ยนร้อยละ 96 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และเสนอแนะให้เพิ่มเพลงและ กิจกรรมที่เป็ นเกมมากขึ้นเพื่อความสนุกสนานในการเรี ยนการสอน รวมทั้งเพิ่มแรงเสริ มบวก(ของ รางวัล)โดยอ้างอิงจากความชื่นชอบของนักเรี ยนด้วย

6 เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


9 กระบวนการตรวจสอบซ้ าเพื่อพัฒนาปรับปรุ ง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้ า BP ตรวจสอบปั ญหาเพื่อหาสาเหตุขอ้ พกพร่ องแต่ละขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุ งแก้ไข แล้วนา กลับมาใช้ซ้ า 9.2 ผลการตรวจสอบซ้ าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุ ง BP นักเรี ยนสามารถนากิจกรรมที่ดาเนินการพัฒนาตัวเองไปใช้ในการอ่านเนื้อหาที่มีความยาก เพิ่มขึ้น 10 การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็ จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง การเผยแพร่ ผลงานโดยการนาวิธีข้ นั ตอนและสื่ อที่ผลิตขึ้นไปใช้ให้ความรู ้ในการเป็ น วิทยากรในการจัดค่ายภาษาอังกฤษ

ลงชื่อ อนุสรา เกตุแก้ว ผูข้ อรับการประเมิน (นางสาวอนุสรา เกตุแก้ว) ตาแหน่ง ครู คศ.1

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล

7


ประวัตผิ ู้จัดทา

ชื่อ

นางสาวอนุสรา เกตุแก้ว เกิดวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2529

การศึกษา

ปริ ญญาตรี คบ.สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุ งเทพมหานคร

ทีอ่ ยู่

บ้านเลขที่ 7/3 หมู่ 2 ตาบลพังตรุ อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

ทีท่ างาน

โรงเรี ยนดิศกุล หมู่ 1 ตาบลหนองตากยา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

8 เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


ภาคผนวก

9 เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


เรียงเสี ยงพยัญชนะและสระเตรียมผสมคาศัพท์

กิจกรรมเรียงต่ อเนือ้ เพลง

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


บรรยากาศการเรียนในชั้นเรียน

เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


ฟังคาศัพท์และเลือกภาพให้ ตรงกัน

กิจกรรมเข้ าจังหวะเคาะแก้วตามเพลง เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ ูสอนยอดเยี่ยม ด้ านเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน กลุ่มสาระภาษาต่ างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) โรงเรี ยนดิศกุล


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.