Best Practice นางอารมย์ เหลืองแดง ครูโรงเรียนบ้านวังตะเคียน

Page 1

แบบสรุปผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

นางอารมย์ เหลืองแดง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑


แบบสรุปผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice (BP) ๑. ชื่อ การพัฒนาความรู้ภาษาไทยจากเพลง เกม บทร้องเล่น และ นิทานสระ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้าน  วิชาการ  บริหารการศึกษา  นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผูพ้ ัฒนา BP นางอารมย์ เหลืองแดง ๒.๒ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๓๔-๖๕๔๑๓๘ e-mail : kruarom_ld@hotmail.com ๓. เป้าหมาย วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๑. เพื่อพัฒนาเด็กให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจ จารูปสระ จาคา และอ่านเขียนคาในบทเรียนได้ ๒. เพื่อให้เด็กสนุกสนาน รักและภาคภูมใิ จในภาษาไทย ๓. เพื่อเด็กได้นาความรู้ไปใช้ในชีวิตจริง ๔. ระยะในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ภาคเรียนที่ ๑ ถึง ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ – ๒๕๕๗ ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา เป้าหมายของ BP • นักเรียนทุกคนอ่านออกเขียนได้ คิดเลข • พัฒนาเด็กให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจ จารูป เป็น ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต สระ จาคา และอ่านเขียนคาในบทเรียนได้ การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ • เด็กได้นาความรู้ไปใช้ในชีวิตจริง • นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรัก • เด็กสนุกสนาน รักและภาคภูมิใจใน ชาติ ภาษาไทย ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ๑. เด็กสนุก มีความสุข ทาให้จดจาและเรียนรู้ได้ดี มีเจตคติที่ดตี ่อการเรียน ๒. สอนจากรูปธรรมไปหานามธรรม ๓. สอนจากง่ายไปหายากจากสิ่งทีใ่ กล้ตวั เด็กจะไม่เครียด


๔. สอนโดยการเน้น ย้า ซ้า ทวน (ติดตา ติดหู ติดสมอง) ๕. ทฤษฎี BBL การพัฒนาการทางสมอง การเคลื่อนไหวร่างกาย ๖. การจัดการเรียนรู้ Problem Based Leaning (PBL) ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวน กลุ่มเป้าหมาย) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จานวน ๑๕ คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕ จานวน ๑๓ คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒,๓ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน (ที่อ่านและเขียนไม่คล่อง ) จานวน ๑๐ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) ๑. ขั้นเตรียม / ขั้นวางแผน ๑.๑ สารวจปัญหาและความสนใจของนักเรียน ๑.๒ ศึกษาหลักการ ทฤษฎีการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๑.๓ นาคาศัพท์ในบทเรียนแต่ละบทผูกเป็นเรื่องโดยเนื้อหาไม่เปลี่ยนไปจาก บทเรียน นามาแต่งเป็นบทเพลง ๑.๔ ทดลองร้องเพลงให้นักเรียนและเพื่อนครูฟัง เพื่อนาผล มาแก้ไข ปรับปรุง ๑.๕ ศึกษาสระที่นักเรียนจารูปไม่ได้ ออกเสียงไม่ถูกต้อง ๑.๖ นาสระมาแต่งเป็นบทร้องเล่นและนิทานสระ โดยแต่งเป็นบทร้อยกรอง เพื่อให้นักเรียนได้ท่องจาและเกิดจิตนาการ ๑.๗ ทดลองนามาใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เพื่อนาผลแก้ไข ปรับปรุง ๑.๘ วางแผนการจัดกิจกรรมประกอบการเรียนรู้ ๒. ขั้นดาเนินการตามแผน ๒.๑ นาไปใช้ในการจัดกิจกรรมประกอบการเรียนรู้ในแผนการสอนแต่ละ บทเรียน ๒.๒ ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการสอนซ่อมเสริม


๓. ขั้นประเมินผล ๓.๑ สังเกตพฤติกรรม ๓.๒ ตรวจผลงาน


แผนผังขั้นตอนการพัฒนา BP เรื่อง การพัฒนาความรูภ้ าษาไทยจากเพลง เกม บทร้องเล่น และ นิทานสระ ๑.ร้ องเพลงนาเข้ าสู่บทเรี ยน/เล่ นเกมคาศัพท์ จากบทเพลง เคลื่อนไหวร่ างกาย เพื่อพัฒนา สมองน้ อยสู่การจาที่คงทน (BBL)

๒. กาหนดปั ญหาจัดสถานการณ์ ต่างๆ (Learning to Question)

- กาหนดคาให้ นักเรี ยนและตอบคาถาม แต่ ละคาเขียนเหมือนกันหรื อไม่ มีพยัญชนะอะไร และ สระอะไรบ้ าง ๓. ทาความเข้ าใจกับปั ญหา (Learning to Question) - นักเรี ยนรู้ จักพยัญชนะและสระหรื อไม่ อ่ านออกเสียงพยัญชนะและสระได้ หรื อไม่ / ถูกต้ องหรื อไม่ ใช้ ส่ ือ "ก ไก่ พาเพลิน" "สระพาเพลิน" และ "นิทานสระ" ๔. ดาเนินการศึกษาค้ นคว้ า (Learning to Search ) - สารวจหาคา ฝึ กอ่ านออกเสียงจากสื่อต่ างๆ แบบฝึ ก , หนังสือหน้ าเดียว ฝึ กอ่ านและ เขียนจากแบบฝึ กและใบงาน หาความหมาย/รู้ ความหมาย ๕. สังเคราะห์ ความรู้ นาความรู้ ท่ ไี ด้ มาแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ร่วมกัน (Learning to Serve) - ทางานกลุ่มในการทาหนังสือเล่ มเล็ก

๖. สรุ ปและประเมินของคาตอบ (Learning to communicate) - นาเสนอ ผลงาน/ชิน้ งาน อภิปรายสรุ ปประเมินผลงานร่ วมกัน

๗. เผยแพร่ ผลงาน แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้


๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) ตรวจสอบหาค่าความเทีย่ งตรงเชิงเนื้อหาโดยให้ผเู้ ชี่ยวชาญ ๕ ท่าน ดังนี้ ๑. นายศรีสวัสดิ์ รอดดารา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านวังตะเคียน ๒. นางปราณี ปราบริปู อุปนายกสมาคมครูภาษาไทย แห่งประเทศไทย ๓. นางยุพดี สุขกรม ศึกษานิเทศก์ สพป.กจ. เขต ๑ ๔. นางสาวทิวาวรรณ จิณแพทย์ ครูโรงเรียนวัดบ้านยาง ๕. นางรุ่งสุรีย์ ใบไม้ ครูโรงเรียนบ้านพุเลียบ จากนั้นนาไปใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และเก็บคะแนนระหว่างเรียน หลังเรียน เพื่อหาคุณภาพ - ผลการตรวจสอบหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ๐.๕ - สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ตรวจผลงานนักเรียน พบว่านักเรียนมีผลการเรียน พัฒนาขึ้น มีผลสัมฤทธิ์สงู ขึ้น - สัมภาษณ์ และสารวจความพึงพอใจของผู้ปกครอง พบว่าพึงพอใจกับผลการเรียน ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ๑. ใช้ในการจัดกิจกรรมกับการเรียนการสอนปกติ ในห้องเรียน ๒. ใช้ในการจัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมเด็กที่อ่านเขียนไม่คล่อง ๓. ใช้ในการสาธิตการสอน เพื่อเผยแพร่ให้เพื่อนครู ทั้งในโรงเรียนและต่างโรงเรียน ๔. จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาค ๕. จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานต้อนรับรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ๖. จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงาน ในโครงการจัดการความรู้ที่สถาบันพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษา ๗. จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ๘.๑.๑ นักเรียนโรงเรียนบ้านวังตะเคียนจานวน ๓๘ คน ได้รับการพัฒนาทักษะทาง ภาษาไทย ๘.๑.๒ ครูที่ได้รับการเผยแพร่จากการสาธิตการสอน จานวน ๑๒๐ คน ๘.๑.๓ ครูได้รับการเผยแพร่จากการเข้ารับการอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จานวน ๓๐๐ คน


๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ๘.๒.๑ นักเรียนมีความรู้ เข้าใจ จาคา และเขียนคาในบทเรียนได้ ๘.๒.๒ ครูนาไปใช้จดั กิจกรรมการเรียนการสอนให้เด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๘.๒.๓ ศึกษานิเทศก์และนักวิชาการนาไปเผยแพร่วิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจาก ผู้เกี่ยวข้องและวิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) ๘.๒.๑ สัมภาษณ์ความพึงพอใจจากเด็กร้อยละ ๑๐๐ ๘.๒.๒ สารวจความพึงพอใจจากผู้ปกครองร้อยละ ๑๐๐ ๘.๒.๓ สารวจความพึงพอใจจากครูร้อยละ ๙๘ ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP / ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ๘.๔.๑ ผู้บริหารให้การสนับสนุนสร้างขวัญและกาลังใจ ๘.๔.๒ ผู้เชี่ยวชาญให้คาชี้แนะ ช่วยเหลือในการพัฒนางาน ๘.๔.๓ คณะครูให้คาปรึกษา สนับสนุน และช่วยเหลือในการพัฒนางาน ๘.๔.๔ นักเรียนมีความพร้อมกล้าแสดงออก ตั้งใจเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสนุกสนาน ๘.๔.๕ ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการให้ข้อเสนอแนะต่างๆ ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP ๙.๑.๑ นาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน ๙.๑.๒ เป็นวิทยากรให้ความรู้กับครูผู้สอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ จานวน ๑๕๐ คน เมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม ๑๕๕๕ ณ โรงแรมริเวอร์แคว จังหวัดกาญจนบุรี ๙.๑.๓ เป็นวิทยากรให้ความรู้กับครูผู้สอนภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ จ านวน ๑๕๐ คน เมื่ อ วั นที่ ๖ กรกฎาคม และ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ณ ห้ อ งประชุ ม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้า เพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP ๙.๒.๑ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านวังตะเคียน ผลความพึงพอใจ ของนักเรียน เท่ากับ ร้อยละ ๑๐๐ ๙.๒.๒ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๒ ของครูที่เข้ารับการอบรมฯ นาไปใช้ ผลความพึงพอใจของนักเรียน เท่ากับ ร้อยละ ๙๐


๙.๒.๓ ครู ที่ เ ข้ า รั บ การอบรม จ านวน ๓๐๐ คน มี ผ ลความพึ ง พอใจเท่ า กั บ ร้อยละ ๑๐๐ ๑๐. การประชาสัมพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวัน เวลา และรูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) ๑๐.๑ ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษากลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ทาเป็นเอกสาร จานวน ๑๕๐ เล่ม แจกทุกโรงเรียนในสังกัด ๑๐.๒ มอบเอกสารการจัดการเรียนรู้พร้อมแผ่นซีดีให้กลุ่มนิเทศติดตามผลการจัดการศึกษา ๑๐.๓ สาธิตการสอนให้แก่ครูผู้สอนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑,๒ จานวน ๑๒๐ คน เมื่อวันที่ ๑๑-๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๓ ๑๐.๔ มอบแผ่นซีดีเพลงประกอบการสอนให้สมาคมครูภาษาไทยแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ๑๐.๕ ได้รับเชิญเป็นวิทยากรของเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ให้ ความรูค้ รูชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ จานวน ๑๕๐ คน เมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ๑๐.๖ จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาคกลางและภาค ตะวันออก ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๔ ๑๐.๗ จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานต้อนรับ ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ ธาดาธารงเวช รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ๑๐.๘ จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานโครงการจัดการความรู้ ที่สถาบันพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษา เมื่อวันที่ ๒๗ – ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๕ จังหวัดนครปฐม ๑๐.๙ จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ วันที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖ ๑๐.๑๐ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ จัดพิมพ์หนังสือนิทาน สระ จานวน ๔๐๐ เล่ม แจกและเผยแพร่ให้กับครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องทางการศึกษา ๑๐.๑๑ ได้นาเสนอผลงานในการประชุมเชิงปฏิบัติการการระดมความคิดเห็นแก้ปัญหาการ เรียนการสอนภาษาไทย วันที่ ๑๗ – ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมปรินซ์พาเลซ์ กรุงเทพมหานคร ๑๐.๑๒ ได้นาเสนอผลงานในการประกวด OBEC AWARDS ระดับชาติ เมื่อวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ณ อิมแพคอารีน่าเมืองทองธานี อาเภอ ปากเกร็ด จังหวัด นนทบุรี ๑๐.๑๓ ได้รับเชิญเป็นวิทยากรของเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ให้กับครูชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ เมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม และ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑


การะประชุมเชิงปฏิบัติการระดมความคิดในการแก้ปัญหาการเรียนการสอนภาษาไทย ระหว่างวันที่ ๑๗-๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมปริ๊นพาเลช มหานาค


๑๐

เป็นวิทยากรการอบรมปฏิบัติการตามโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน “พัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย” เรื่อง สอนภาษาไทยอย่างไรให้ถกู ใจผู้เรียน วันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๕๗ ณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑


๑๑

เผยแพร่ผลงาน Best Practice ให้กับเพื่อนครู เมื่อวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๕ ณ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และ บุคลากรทางการศึกษา จังหวัดนครปฐม

เป็นวิทยากรอบรมครูชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ณ โรงแรมริเวอร์แคว กาญจนบุรี


๑๒

จัดนิทรรศการ คลินิกภูมปิ ัญญา ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาคกลางและภาคตะวันออก ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๔ ณ โรงแรมราชศุภมิตร จังหวัดกาญจนบุรี

นายพิษณุ ตุลสุข รองเลขาธิการ กพฐ. เข้าเยี่ยมชมผลงาน Best Practice


๑๓

นาเสนอ Best Practice ผลงานดีเด่น เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๔ ณ โรงแรมริเวอร์แคว จังหวัดกาญจนบุรี

นาเสนอผลงาน Best Practice เมื่อวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ณ โรงเรียนวัดศรีโลหะราษฎรบารุง จังหวัดกาญจนบุรี


๑๔

เข้ารับการพัฒนาตามโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา (หลักสูตร ๕ วัน) ณ วัดทุ่งลาดหญ้า อ. เมืองกาญจนบุรี จ. กาญจนบุรี ระหว่างวันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๕


๑๕

ผลงานและนวัตกรรม


๑๖

นักเรียนนาเสนอผลงาน


๑๗

รูปกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาความรู้ภาษาไทยจากเกมและเพลง


๑๘


๑๙


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.