วิธีปฏิบัติสู่ความเป็นเลิศ ( Best Practices ) กิจกรรมแนะแนว : ชุดกิจกรรมส่งเสริมความรู้และ
สร้างภูมคิ ุ้มกันยาเสพติด
นางสาววชรพร เพิ่มพูล โรงเรียนดิศกุล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Best Practice 1. ชื่อผลงาน Best Practice กิจกรรมแนะแนว : ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้และภูมิคุ้มกันยาเสพติด ด้าน ( )วิชาการ ( )บริหารจัดการศึกษา ( /) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา Best Practice 2.1 ชื่อผู้พัฒนา Best Practice นางสาววชรพร เพิม่ พูล 2.2 โรงเรียนดิศกุล ต. หนองตากยา อ.ท่าม่วง จ. กาญจนบุรี สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 โทรศัพท์ 08-4319-8005 e-mail : jo.awying@hotmail.com 3. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้และสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มี เป้าหมายและวัตถุประสงค์ดังนี้ 3.1 เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความรู้ของนักเรียน ก่อน-หลังการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้และ สร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด 3.2 เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรม/ทักษะชีวิตในการป้องกันและเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา 3.3 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้ชุดกิจกรรมส่งเสริมความรูแ้ ละภูมิคุ้มกันยาเสพติด 4. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice ระยะเวลาที่เริ่มการพัฒนา คือเดือนมิถนุ ายน – เดือนสิงหาคม ปีการศึกษา 2558 ระยะเวลาที่พัฒนากับผู้เรียน ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน -7 สิงหาคม 2558 ใช้เวลา 10 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 วัน คือวันอังคาร วันละ 1 ชั่วโมง 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา จุดเน้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานได้กาหนดให้มกี ารเสริมสร้างทักษะชีวิตผู้เรียน โดยกาหนดให้พัฒนาภูมิคุ้มกันให้แก่เด็กในเรื่องการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น การคิด วิเคราะห์ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การสร้าง สัมพันธภาพที่ดกี ับผู้อื่น และให้แต่ละชั้นปีจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อเสริมสร้าง ทักษะชีวิตโดยเน้นผู้เรียนให้เกิดพฤติกรรมตามจุดเน้น ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานมีนโยบายให้สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาเร่งดาเนินการ กากับติดตามการดาเนินงานกิจกรรมแนะแนวของโรงเรียนให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ โดยเน้นให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมแนะแนวอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โรงเรียนดิศกุล จึงตะหนักใน ความสาคัญจึงมุ่งเน้นให้มกี ารจัดบริหารงานกิจกรรมแนะแนวอย่างจริงจัง จัดกิจกรรมแนะแนวในการ พัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ครอบคลุมการแนะแนว การศึกษา อาชีพ และทักษะการใช้ชีวิต
ดังนัน้ การจัดกิจกรรมแนะแนวของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 จึงมุ่งเน้นทักษะการใช้ชีวิต รู้เท่าทัน และสามารถควบคุมตนเองได้ รู้จกั ปฏิเสธในสิ่งที่ควรปฏิเสธ เช่นเพื่อนชักชวนให้ลองยาเสพติด เป็นต้น 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP กิจกรรมแนะแนว เป็นกระบวนการทางการศึกษาที่ช่วยให้ บุคคลรูจ้ ัก และเข้าใจตนเองและสิง่ แวดล้อม สามารถนาตนเองได้ แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง และพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพ ปฏิบัติตนให้เป็นสมาชิกทีด่ ี ของสังคม ฉะนั้นจึงกล่าวได้ว่าการแนะแนวไม่ใช่การแนะนา และการแนะแนวเป็นการช่วยเหลือให้เขา สามารถช่วยตนเองได้ เป้าหมายการแนะแนว 1. เพื่อป้องกันปัญหา ( Prevention ) นั้นคือการแนะแนวมุ่งป้องกันไม่ให้นักเรียนเกิดปัญหาหรือความยุง่ ยาก ในการดาเนินชีวติ ของตนเพราะปัญหาและความยุง่ ยากต่างๆ นั้น สามารถป้องกันได้และการปล่อยให้ นักเรียนเกินปัญหาขึน้ มาแล้วค่อยตามแก่ไขช่วยเหลือภายหลังนั้นทาได้ยากและต้องใช้เวลานาน ในบาง กรณีอาจจะแก้ไขไม่ได้อกี ด้วย 2. เพื่อแก้ไขปัญหา ( Curation ) นั้นคือ การแนะแนวมุ่งจะให้ความช่วยเหลือนักเรียนในการแก้ไขปัญหา ต่างๆ ทีเ่ กิดขึ้นกับตน เพราะถ้าปล่อยให้นักเรียนประสบปัญหาโดยไม่ให้ความช่วยเหลือแล้ว นักเรียนย่อมจะ ไม่สามารถดารงตนอยูใ่ นสังคมอย่างปรกติสุขได้ และในบางครั้งอาจจะมีการปรับตัวที่ผิดๆ ทาให้เกิ ดปัญหา เพิ่มมากยิ่งขึ้น 3. เพื่อส่งเสริมพัฒนา ( Development ) นั่นคือการแนะแนวมุ่งจะให้การส่งเสริมนักเรียนทุกคนให้เกิดความ เจริญงอกงามมีพัฒนาการในด้านต่างๆ อย่างสมบูรณ์ เพื่อให้นักเรียนแต่ละคนจะได้รับการส่งเสริมและ แสดงความสามารถในด้านต่างๆ ของตนออกมาอย่างเต็มที่ โดยไม่มีสิ่งใดมาเป็นอุปสรรคขัดขวางความ เจริญก้าวหน้าและพัฒนาการของนักเรียน ปัจจุบันมีผู้ตดิ ยาเสพติดเป็นจานวนมากโดยเฉพาะกลุ่มเยาวชนจะติดยาเสพติดมากกว่ากลุ่มอื่น และที่ น่าเป็นห่วงกาลังแพร่ระบาดสู่เด็กนักเรียน สาเหตุอาจเป็นเพราะเพื่อนชักชวนให้ลองเสพ อยากรู้ อยากลอง ถูกล่อลวง และสาเหตุอีกประการคือการขาดความอบอุน่ ในครอบครัว ปัญหาพ่อแม่หย่าร้างกัน ผู้ใหญ่ไม่ได้ สนใจดูแล เด็กเกิดความว้าเหว่ไม่รจู้ ะปรึกษาใคร เลยหันไปหายาเสพติด ผู้พัฒนาจึงได้จดั กิจกรรมแนะแนวโดยใช้ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้และภูมิคุ้มกันยาเสพติดสาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ซึ่งพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ขาดความรู้และภูมิคุ้มกันเรื่องการป้องกันภัยยาเสพติด อนึ่ง ทางโรงเรียนดิศกุล ได้เล็งเห็นความสาคัญของการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัย ยาเสพติด และเป็น สถานศึกษาสีขาวจึงตระหนักในเรื่องนี้ จากความสาคัญและเหตุผลดังกล่าว ทาให้ผู้พัฒนาสนใจทีจ่ ะส่งเสริมความรูแ้ ละภูมิคุ้มกันภัยยาเสพติดของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนดิศกุลโดยใช้เงื่อนไขการเรียนรู้ บูรณาการหลักสูตร D.A.R.E จัดชุด กิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้และภูมิคุ้มกันยาเสพติด มาช่วยให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ตลอดจนสามารถ สร้างภูมิคุ้มกันในตนเองและครอบครัวมากยิ่งขึน้ โดยเน้นให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ สามารถปรับตัว
เข้ากับการเรียนการสอน ในยุคปฏิรูปการศึกษา รูจ้ ักคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง อยูร่ ่วมกับ ผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุข เป็นคนเก่ง คนดี ดาเนินชีวิตตามแบบอย่างที่ดี ตลอดจนสามารถเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ในเรื่องพิษภัยยาเสพติดให้แก่ครอบครัวและสังคมต่อไป หลักสูตร D.A.R.E. เป็นหลักสูตรการสร้างภูมิคุ้มกันต้านยาเสพติดในสถานศึกษาสาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 และปีท่ี 6 D.A.R.E. หมายถึง Drug = ยาเสพติด Abuse = การใช้ในทางที่ผิด Resistance = การต่อต้าน Education = การศึกษา เป็นหลักสูตรที่มงุ่ มั่นพัฒนาผู้เรียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 และปีท่ี 6 ให้มีความรู้ความสามารถและทักษะ ชีวิตตลอดจนคุณลักษณะที่จะช่วยส่งเสริมภูมิคุ้มกันและป้องกันปัญหายาเสพติด มีการดาเนินชีวิต สามารถ ปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เปลี่ยนแปลง โดยมีกระบวนการคิดและการตัดสินใจเหมาะสมสามารถ ดาเนินชีวิตอยูใ่ นสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข แนวคิดทฤษฎีของโรเบิรต์ กาเย่ (Robert Gange') ได้นาเอาแนวแนวความคิด 9 ประการ มาใช้ประกอบการเรียนการสอน โดยยึดหลักการนาเสนอเนือ้ หาและจัด กิจกรรมการเรียนรูจ้ ากการมีปฏิสัมพันธ์ หลักการสอนทั้ง 9 ประการได้แก่ 1. เร่งเร้า กระตุ้น และดึงดูดความสนใจ (Gain Attention) ของผู้เรียน เป็นการช่วยให้ผู้เรียนสามารถรับ สิ่งเร้า หรือสิ่งที่จะเรียนรูไ้ ด้ดี 2. บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) ของบทเรียนให้ผู้เรียนทราบ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนได้รับรู้ ความคาดหวัง 3. ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge) หรือการกระตุ้นให้ระลึกถึงความรู้เดิม เป็นการช่วย ให้ผู้เรียนดึงข้อมูลเดิมที่อยูใ่ นหน่วยความจาระยะยาวให้มาอยูใ่ นหน่วยความจาเพื่อการใช้งาน (working memory) ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กบั ความรู้เดิม 4. นาเสนอเนือ้ หาใหม่ หรือสิ่งเร้าใหม่ (Present New Information) ผู้สอนควรจะจัดสิ่งเร้าให้ผู้เรียนเห็น ลักษณะสาคัญของสิง่ เร้านัน้ อย่างชัดเจน เพื่อความสะดวกในการเลือกรับรู้ของผู้เรียน 5. ชีแ้ นะแนวทางการเรียนรู้ (Guide Learning) หรือการจัดระบบข้อมูลให้มีความหมาย เพื่อช่วยให้ ผู้เรียนสามารถทาความเข้าใจกับสาระที่เรียนได้ง่ายและเร็วขึน้ 6. กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน (Elicit Response) หรือกระตุน้ ให้ผู้เรียนแสดงความสามารถ เพื่อให้ ผู้เรียนมีโอกาสตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือสาระที่เรียน ซึ่งจะช่วยให้ทราบถึงการเรียนรู้ท่เี กิดขึน้ ในตัว ผู้เรียน 7. ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide Feedback) เป็นการให้การเสริมแรงแก่ผู้เรียน และข้อมูลที่เป็น ประโยชน์กับผู้เรียน 8. การประเมินผลการแสดงออก (Assess Performance) ของผู้เรียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนทราบว่าตนเอง สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ได้มากน้อยเพียงใด
9. สรุปและนาไปใช้ (Review and Transfer) เป็นการส่งเสริมความคงทนและการถ่ายโอนการเรียนรู้ โดยการให้โอกาสผู้เรียนได้มกี ารฝึกฝนอย่างพอเพียง และในสถานการณ์ทหี่ ลากหลาย เพื่อช่วยให้ ผู้เรียน เกิดความเข้าใจทีล่ ึกซึง้ ขึน้ และสามารถถ่ายโอนการเรียนรู้ไปสู่สถานการณ์อ่นื ๆ ได้ โดยในแต่ประการจะมีรายละเอียด ดังนี้ เร่งเร้าความสนใจ (Gain Attention) ก่อนที่จะเริ่มการนาเสนอเนือ้ หาบทเรียน ควรมีการจูงใจและเร่งเร้า ความสนใจให้ผู้เรียนอยากเรียน ดังนั้น บทเรียนคอมพิวเตอร์ จึงควรเริ่มด้วยการใช้ภาพ แสง สี เสียง หรือใช้สื่อ ประกอบกันหลายๆ อย่าง โดยสื่อที่สร้างขึ้นมานั้นต้องเกี่ยวข้องกับเนือ้ หาและน่าสนใจ ซึ่งจะมีผลโดยตรงต่อ ความสนใจของผู้เรียน นอกจากเร่งเร้าความสนใจแล้ว ยังเป็นการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนพร้อมที่จะศึกษา เนือ้ หาต่อไปในตัวอีกด้วย บอกวัตถุประสงค์ (Specify Objective) วัตถุประสงค์ของบทเรียน นับว่าเป็นส่วนสาคัญยิ่งต่อ กระบวนการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความคาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน นอกจากผู้เรียนจะทราบถึง พฤติกรรมขัน้ สุดท้ายของตนเองหลังจบบทเรียนแล้ว จะยังเป็นการแจ้งให้ทราบล่วงหน้าถึงประเด็นสาคัญของ เนือ้ หา รวมทั้งเค้าโครงของเนือ้ หาอีกด้วย การที่ผู้เรียนทราบถึงขอบเขตของเนือ้ หาอย่างคร่าวๆจะช่วยให้ผู้เรียน สามารถผสมผสานแนวความคิดในรายละเอียดหรือส่วนย่อยของเนือ้ หาให้สอดคล้องและสัมพันธ์กับเนือ้ หา ในส่วนใหญ่ได้ ซึ่งมีผลทาให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น นอกจากจะมีผลดังกล่าวแล้ว ผลการวิจัยยังพบด้วย ว่า ผู้เรียนทีท่ ราบวัตถุประสงค์ของการเรียนก่อนเรียนบทเรียน จะสามารถจาและเข้าใจในเนือ้ หาได้ดีขึ้นอีกด้วย ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge) การทบทวนความรู้เดิมก่อนที่จะนาเสนอความรู้ใหม่แก่ผู้เรียน มี ความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาวิธกี ารประเมิน ความรูท้ ี่จาเป็นสาหรับบทเรียนใหม่ เพื่อไม่ให้ผู้เรียนเกิดปัญหา ในการเรียนรู้ วิธีปฏิบตั ิโดยทั่วไปสาหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คอื การทดสอบก่อนบทเรียน (Pre-test) ซึ่งเป็นการประเมินความรู้ของผู้เรียน เพื่อทบทวนเนือ้ หาเดิมที่เคยศึกษาผ่านมาแล้ว และเพื่อเตรียมความพร้อม ในการรับเนือ้ หาใหม่ นอกจากจะเป็นการตรวจวัดความรู้พนื้ ฐานแล้ว บทเรียนบางเรื่องอาจใช้ผลจากการ ทดสอบก่อนบทเรียนมาเป็นเกณฑ์จดั ระดับความสามารถของผู้เรียน เพื่อจัดบทเรียนให้ตอบสนองต่อระดับ ความสามารถของผู้เรียน เพื่อจัดบทเรียนให้ตอบสนองต่อระดับความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียนแต่ละคน แต่ อย่างไรก็ตาม ในขัน้ การทบทวนความรู้เดิมนีไ้ ม่จาเป็นต้องเป็นการทดสอบเสมอไป หากเป็นบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนทีส่ ร้างขึน้ เป็นชุดบทเรียนที่เรียนต่อเนื่องกันไปตามลาดับ การทบทวนความรู้เดิม อาจอยู่ ในรูปแบบของการกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดย้อนหลังถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้มาก่อนหน้านีก้ ็ได้ การกระตุ้นดังกล่าวอาจแสดง ด้วยคาพูด คาเขียน ภาพ หรือผสมผสานกันแล้วแต่ความเหมาะสม ปริมาณมากน้อยเพียงใดนั้นขึน้ อยูก่ ับเนือ้ หา ตัวอย่างเช่น การนาเสนอเนือ้ หาเรื่องการต่อตัวต้านทานแบบผสม ถ้าผู้เรียนไม่สามารถเข้าใจวิธกี ารหาความ ต้านทานรวม กรณีนคี้ วรจะมีวิธกี ารวัดความรู้เดิมของผู้เรียนก่อนว่ามีความเข้าใจเพียงพอที่จะคานวณหาค่า ต่างๆ ในแบบผสมหรือไม่ ซึ่งจาเป็นต้องมีการทดสอบก่อน ถ้าพบว่าผู้เรียนไม่เข้าใจวิธีการคานวณ บทเรียนต้อง ชีแ้ นะให้ผู้เรียนกลับไปศึกษาเรื่องการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและแบบขนานก่อน หรืออาจนาเสนอบทเรียน ย่อยเพิ่มเติมเรื่องดังกล่าว เพื่อเป็นการทบทวนก่อนก็ได้
นาเสนอเนือ้ หาใหม่ (Present New Information) หลักสาคัญในการนาเสนอเนือ้ หาของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คอื ควรนาเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนือ้ หา ประกอบกับคาอธิบายสั้นๆ ง่าย แต่ได้ ใจความ การใช้ภาพประกอบ จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจเนือ้ หาง่ายขึน้ และมีความคงทนในการจาได้ดีกว่าการใช้ คาอธิบายเพียงอย่างเดียว โดยหลักการที่ว่า ภาพจะช่วยอธิบายสิ่งที่เป็นนามธรรมให้ง่ายต่อการรับรู้ แม้ใน เนือ้ หาบางช่วงจะมีความยากในการทีจ่ ะคิดสร้างภาพประกอบ แต่ก็ควรพิจารณาวิธกี ารต่างๆ ที่จะนาเสนอด้วย ภาพให้ได้ แม้จะมีจานวนน้อย แต่ก็ยงั ดีกว่าคาอธิบายเพียงคาเดียว อย่างไรก็ตามการใช้ภาพประกอบเนือ้ หา อาจไม่ได้ผลเท่าที่ควร หากภาพเหล่านัน้ มีรายละเอียดมากเกินไป ใช้เวลามากไปในการ ปรากฏบนจอภาพ ไม่เกี่ยวข้องกับเนือ้ หา ซับซ้อน เข้าใจยาก และไม่เหมาะสมในเรื่องเทคนิคการออกแบบ เช่น ขาดความสมดุล องค์ประกอบภาพไม่ดี เป็นต้น ชีแ้ นะแนวทางการเรียนรู้ (Guide Learning) ตามหลักการและเงื่อนไขการเรียนรู้ (Condition of Learning) ผู้เรียนจะจาเนือ้ หาได้ดี หากมีการจัดระบบการเสนอเนือ้ หาทีด่ ีและสัมพันธ์กับประสบการณ์เดิมหรือ ความรู้เดิมของผู้เรียน บางทฤษฎีกล่าวไว้วา่ การเรียนรูท้ ี่กระจ่างชัด (Meaningful Learning) นั้น ทางเดียวที่จะ เกิดขึน้ ได้ก็คอื การที่ผู้เรียนวิเคราะห์และตีความในเนือ้ หาใหม่ลงบนพืน้ ฐานของความรู้และประสบการณ์เดิม รวมกันเกิดเป็นองค์ความรู้ใหม่ ดังนั้น หน้าที่ของผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในขัน้ นีก้ ็คอื พยายามค้นหา เทคนิคในการที่จะกระตุน้ ให้ผู้เรียนนาความรู้เดิมมาใช้ในการศึกษาความรู้ใหม่ นอกจากนั้น ยังจะต้องพยายาม หาวิถีทางที่จะทาให้การศึกษาความรู้ใหม่ของผู้เรียนนั้นมีความกระจ่างชัดเท่าที่จะทาได้ เป็นต้นว่า การใช้เทคนิค ต่างๆ เข้าช่วย ได้แก่ เทคนิคการให้ตัวอย่าง (Example) และตัวอย่างที่ไม่ใช่ตัวอย่าง (Non-example) อาจจะช่วย ทาให้ผู้เรียนแยกแยะความแตกต่างและเข้าใจมโนคติของเนือ้ หาต่างๆ ได้ชัดเจนขึ้น ผู้ออกแบบบทเรียน คอมพิวเตอร์มัลติมีเดียอาจใช้วิธกี ารค้นพบ (Guided Discovery) ซึ่งหมายถึง การพยายามให้ผู้เรียนคิดหา เหตุผล ค้นคว้า และวิเคราะห์หาคาตอบด้วยตนเอง โดยบทเรียนจะค่อยๆ ชีแ้ นะจากจุดกว้างๆ และแคบลงๆ จน ผู้เรียนหาคาตอบได้เอง นอกจากนั้น การใช้คาอธิบายกระตุน้ ให้ผู้เรียนได้คดิ ก็เป็นเทคนิคอีกประการหนึ่งที่ สามารถนาไปใช้ในการชีแ้ นวทางการเรียนรู้ได้ สรุปแล้วในขั้นตอนนีผ้ ู้ออกแบบจะต้องยึดหลักการจัดการเรียนรู้ จากสิ่งที่มีประสบการณ์เดิมไปสู่เนือ้ หาใหม่ จากสิ่งทีย่ ากไปสูส่ ิ่งทีง่ ่ายกว่า ตามลาดับขั้น กระตุน้ การตอบสนองบทเรียน (Elicit Response) นักการศึกษากล่าวว่า การเรียนรู้จะมีประสิทธิภาพมากน้อย เพียงใดนัน้ เกี่ยวข้องโดยตรงกับระดับและขัน้ ตอนของการประมวลผลข้อมูล หากผู้เรียนได้มีโอกาสร่วมคิด ร่วม กิจกรรมในส่วนที่เกีย่ วกับเนือ้ หา และร่วมตอบคาถาม จะส่งผลให้มีความจาดีกว่าผู้เรียนที่ใช้วิธอี ่านหรือคัดลอก ข้อความจากผู้อื่นเพียงอย่างเดียว บทเรียนคอมพิวเตอร์ มีข้อได้เปรียบกว่าโสตทัศนูปการอื่นๆ เช่น วิดที ัศน์ ภาพยนตร์ สไลด์ เทปเสียง เป็นต้น ซึ่งสื่อการเรียนการสอนเหล่านีจ้ ดั เป็นแบบปฏิสัมพันธ์ไม่ได้ (Non-interactive Media) แตกต่างจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผู้เรียนสามารถมีกิจกรรมร่วมในบทเรียนได้ หลายลักษณะ ไม่ว่าจะเป็นการตอบคาถาม แสดงความคิดเห็น เลือกกิจกรรม และปฏิสัมพันธ์กับบทเรียน กิจกรรมเหล่านีเ้ องที่ไม่ทาให้ผู้เรียนรูส้ ึกเบื่อหน่าย เมื่อมีส่วนร่วม ก็มีส่วนคิดนาหรือติดตามบทเรียน ย่อมมีส่วน ผูกประสานให้ความจาดีข้นึ
ให้ข้อมูลย้อนกลับ (Provide Feedback) ผลจากการวิจยั พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะกระตุ้น ความสนใจจากผู้เรียนได้มากขึน้ ถ้าบทเรียนนั้นท้าทาย โดยการบอกเป้าหมายที่ชัดเจน และแจ้งให้ผู้เรียนทราบ ว่าขณะนั้นผู้เรียนอยูท่ สี่ ่วนใด ห่างจากเป้าหมายเท่าใด การให้ข้อมูลย้อนกลับดังกล่าว ถ้านาเสนอด้วยภาพจะ ช่วยเร่งเร้าความสนใจได้ดียิ่งขึน้ โดยเฉพาะถ้าภาพนัน้ เกี่ยวกับเนือ้ หาที่เรียน อย่างไรก็ตาม การให้ขอ้ มูล ย้อนกลับด้วยภาพ หรือกราฟิกอาจมีผลเสียอยูบ่ ้างตรงที่ผู้เรียนอาจต้องการดูผล ว่าหากทาผิด แล้วจะเกิดอะไร ขึ้น ตัวอย่างเช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบเกมการสอนแบบแขวนคอสาหรับการสอนคาศัพท์ ภาษาอังกฤษ ผู้เรียนอาจตอบโดยการกดแป้นพิมพ์ไปเรือ่ ยๆ โดยไม่สนใจเนือ้ หา เนื่องจากต้องการดูผลจาก การแขวนคอ วิธหี ลีกเลี่ยงก็คอื เปลี่ยนจากการนาเสนอภาพ ในทางบวก เช่น ภาพเล่นเรือเข้าหาฝั่ง ภาพขับยาน สู่ดวงจันทร์ ภาพหนูเดินไปกินเนยแข็ง เป็นต้น ซึ่งจะไปถึงจุดหมายได้ด้วยการตอบถูกเท่านั้น หากตอบผิดจะไม่ เกิดอะไรขึน้ อย่างไรก็ตามถ้าเป็นบทเรียนที่ใช้กับกลุ่มเป้าหมายระดับสูงหรือ เนือ้ หาที่มีความยาก การให้ขอ้ มูล ย้อนกลับด้วยคาเขียนหรือกราฟจะเหมาะสมกว่า ทดสอบความรู้ใหม่ (Assess Performance) การทดสอบความรู้ใหม่หลังจากศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรียกว่า การทดสอบหลังบทเรียน (Post-test) เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทดสอบความรู้ของ ตนเอง นอกจากนีจ้ ะยังเป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนว่าผ่านเกณฑ์ทก่ี าหนดหรือไม่ เพื่อที่จะไปศึกษาใน บทเรียนต่อไปหรือต้องกลับไปศึกษาเนือ้ หาใหม่ การทดสอบหลังบทเรียนจึงมีความจาเป็นสาหรับบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนทุกประเภท นอกจากจะเป็นการประเมินผลการเรียนรู้แล้ว การทดสอบยังมีผลต่อความ คงทนในการจดจาเนือ้ หาของผู้เรียนด้วย แบบทดสอบจึงควรถามแบบเรียงลาดับตามวัตถุประสงค์ของบทเรียน ถ้าบทเรียนมีหลายหัวเรื่องย่อย อาจแยกแบบทดสอบออกเป็นส่วนๆ ตามเนือ้ หา โดยมีแบบทดสอบรวมหลัง บทเรียนอีกชุดหนึ่งก็ได้ ทั้งนีข้ น้ึ อยูก่ บั ว่าผู้ออกแบบบทเรียนต้องการแบบใด สรุปและนาไปใช้ (Review and Transfer) การสรุปและนาไปใช้ จัดว่าเป็นส่วนสาคัญในขัน้ ตอนสุดท้ายที่บทเรียน จะต้องสรุปมโนคติของเนือ้ หาเฉพาะประเด็นสาคัญๆ รวมทั้งข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มี โอกาสทบทวนความรู้ของตนเองหลังจากศึกษาเนือ้ หาผ่านมาแล้ว ในขณะเดียวกัน บทเรียนต้องชีแ้ นะเนือ้ หาที่ เกี่ยวข้องหรือให้ข้อมูลอ้างอิงเพิ่มเติม เพื่อแนะแนวทางให้ผู้เรียนได้ศกึ ษาต่อในบทเรียนถัดไป หรือนาไป ประยุกต์ใช้กับงานอืน่ ต่อไป
ขัน้ ตอนการดาเนินงานที่มีการปฏิบตั ิท่เี ป็นเลิศในระบบการเรียนรู้
ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหา
ยาเสพติด วิเคราะห์ผเู้ รี ยน
ปรับพื้นฐาน/
วางแผน/ออกแบบ (ใช่) การจัดกิจกรรม
จัดกลุ่มผูเ้ รี ยน
จัดทานวัตกรรมเพื่อสร้างภูมิคุม้ กัน
ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้
ประเมินผลการเรี ยนรู้
ผ่านเกณฑ์ (ผ่าน)
หรื อไม่
พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้
สรุ ป /รายงานผลระบบการเรี ยนรู้
(ไม่ผ่าน)
แก้ไขปรับปรุ ง/ วิจยั ปฏิบตั ิการ
7.
กระบวนการพัฒนา BP
7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนดิศกุล อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 จานวน 23 คน ใช้วิธกี ารเลือกแบบเจาะจง 7.2 ขัน้ ตอนการพัฒนา BP ผู้พัฒนาได้ดาเนินการพัฒนาเป็นชดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความรู้และภูมิคุ้มกันยาเสพติดโดยดาเนินการ ดังนี้ - ประเมินความต้องการนวัตกรรม (need analysis) โดยประเมินสภาพปัญหาเพื่อให้เกิดความเข้าใจ อย่างชัดเจนเพื่อค้นหาความบกพร่อง ความไม่สมบรูณข์ องสิ่งที่มีอยู่ และก่อให้เกิดปัญหาในการปฏิบัติ รวมทัง้ ปัจจัยอุปสรรคที่อาจมีผลขัดขวางการพัฒนาคุณภาพบริการจากการใช้นวัตกรรม -กาหนดประเด็นหรือหัวข้อที่ต้องการพัฒนานวัตกรรม ให้มีความเฉพาะเจาะจง ไม่ศกึ ษาหลายเรื่องใน เวลาเดียวกัน โดยนวัตกรรมที่จะพัฒนาอาจเป็น กลวิธี เทคนิค โปรแกรม วัสดุ/อุปกรณ์ การปรับเปลี่ยน สภาพแวดล้อม - ทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบโดยตรวจสอบว่ามีกี่วิธที ี่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาให้ดีขนึ้ การ ประเมินคุณภาพข้อมูลเชิงประจักษ์ทาโดยสืบค้นวรรณกรรมที่สนับสนุนความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบ นวัตกรรม -สังเคราะห์ขอ้ ความรู้ท่ไี ด้จากวรรณกรรมที่มีคณ ุ ภาพเมื่อนามาบูรณาการวางแผนและการออกแบบ นวัตกรรม -. กาหนดรายละเอียดของวิธกี ารใช้นวัตกรรม -.ดาเนินการศึกษานวัตกรรมในหน่วยงานหรือองค์กรเป้าหมาย ตามแผนที่วางไว้ - ประเมินประสิทธิภาพของนวัตกรรม ทั้งในด้านกระบวนการ รูปแบบและผลลัพธ์ -.บันทึกโดยสรุปผลพร้อมแหล่งอ้างอิงที่ใช้ในการสร้างนวัตกรรมและการอภิปรายผลลัพธ์ของ นวัตกรรม 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP วิธีการตรวจสอบคุณภาพ BP โดยใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ เมื่อผู้พัฒนาได้ดาเนินการสร้างชุดกิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดสาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 6 ทั้งหมด 5 กิจกรรมได้นาผลงานมาตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนือ้ หาเพื่อหาค่าดัชนีความ สอดคล้อง IOC ตามหลักวิชาการ ซึ่งได้ค่าดัชนีความสอดคล้องเท่ากับ 0.87 และดาเนินการแก้ไขความถูกต้อง ของเนือ้ หาดังนี้
ปรับจุดประสงค์การเรียนรู้ให้เป็นเชิงพฤติกรรมปรับสื่อการเรียนรู้ให้น่าสนใจเพื่อกระตุน้ ให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้
7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ - ใช้เป็นนวัตกรรมกิจกรรมแนะแนวในการสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดของโรงเรียนดิศกุล -. ใช้เป็นนวัตกรรม เผยแพร่ให้กบั โรงเรียน คณะครู ชุมชนและผู้สนใจในการพัฒนาผู้เรียน/พัฒนา ตนเอง/พัฒนาสถานศึกษา 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 85 มีความรู้และมีภูมิคุ้มกันยาเสพติด 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจสามารถสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดได้ 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP นักเรียนร้อยละ 90 มีความพึงพอใจในระดับมากทีส่ ุด และเสนอแนะให้จัดทานวัตกรรมในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต่างๆ รวมทั้งเพื่อแรงเสริมบวกโดยอ้างอิงจากความชื่นชอบของนักเรียนด้วย 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุขอ้ พกพร่องแต่ละขั้นตอนแล้วนานวัตกรรมมาปรับปรุงแก้ไข แล้วนากลับมาใช้ซ้า 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนสามารถนาชุดกิจกรรมที่ดาเนินการพัฒนาตัวเองไปใช้ในสร้างภูมิคุ้มกันปัญหายาเสพติดต่อตนเอง เพื่อน สถานศึกษา และชุมชนต่อไป 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง 10.1 การเผยแพร่ผลงานโดยการนาวิธีขั้นตอนและสื่อนวัตกรรมที่ผลิตขึน้ ไปใช้ให้ความรูใ้ นการจัดแสดง นิทรรศการผลงานครูและนักเรียน โรงเรียนดิศกุล 10.2 แผ่นพับ 10.3 เว็บไซด์ของโรงเรียน 10.4 Facebook
ตัวอย่างชุดกิจกรรมแนะแนว: เพื่อส่งเสริมความรู้และสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด
ตัวอย่างกิจกรรมแนะแนว: ชุดส่งเสริมความรู้และสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด
ภาพประกอบการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนว: ชุดกิจกรรมแนะแนว : เพื่อส่งเสริมความรู้และสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด
ภาพการเรียนรูก้ ิจกรรมแนะแนวในรูปแบบ e-book
ภาพการจัดนิทรรศการแสดงผลงานและเผยแพร่ผลงานต่อผู้สนใจ
การเผยแพร่นวัตกรรมในงานแสดงผลงานทางวิชาการ
ตัวอย่างแบบประเมินความพึงพอใจ
เพื่อส่งเสริมความรู้และสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด แบบประเมินความพึงพอใจ การใช้นวัตกรรมเพือ่ ส่งเสริมความรู้และสร้างภูมิคมุ้ กันยาเสพติด คาชี้แจง ให้ใส่เครื่องหมาย √ลงในกรอบทีก่ าหนด ตามความคิดเห็นของท่านที่มตี ่อการใช้นวัตกรรม
ตอนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับผูต้ อบแบบสอบถาม เพศ ชาย หญิง บทบาท ครู ผคู้ วบคุม ผูป้ กครอง นักเรี ยน ตอนที่ 2 การประเมินความพึงพอใจของนวัตกรรม รายการประเมิน 1 2 3 4 5 6
มากที่สุด (5)
มาก (4)
ปานกลาง (3)
น้อย (2)
น้อยที่สุด (1)
ความน่าสนใจของเนือ้ หา ประโยชน์ที่ได้รับ ความถูกต้องของเนือ้ หา วิธีการนามาเสนอ ระยะเวลาเหมาะสมกับเนื้อหา ระดับความยากง่ายเหมาะสมกับผู้เรียน
ตอนที่ 3 ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะอื่นๆ 2.1 ปัญหาอุปสรรค ............................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.2 ข้อเสนอแนะอื่นๆ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................
ขอขอบคุณ