Best Practice (การปฏิบตั ทิ ี่เป็นเลิศ) กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
นางปิยพร
ขามาลัย
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะชานาญการ โรงเรียนบ้านห้วยนาขาว อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
การปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice (BP) ๑. ชื่อ การพัฒนาความรู้ภาษาไทย ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชุดเปิดโลกหลักภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้าน วิชาการ บริหารการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา BP นางปิยพร ขามาลัย ๒.๒ โรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘๑-๕๒๗๑๙๓๓ e-mail : piyakhamma@gmail.com ๓. เป้าหมาย วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๑. เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะสาระการเรียนรู้ภาษาไทยทางด้านหลักภาษาไทย ๒. เพื่อให้ผู้เรียนสนุกสนาน รักและภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ของภาษาไทย ๓. เพื่อให้ผู้เรียนได้นาความรู้ไปใช้ในชีวิตจริง ๔. เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง การทางานอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์ อันดีระหว่างบุคคล ๔. ระยะในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ภาคเรียนที่ ๑ ถึง ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา เป้าหมายของ BP • นั ก เรี ย นมี ทั ก ษะชี วิ ต ทั ก ษะการคิ ด วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และทักษะการ สื่ อ สารอย่ า งสร้ า งสรรค์ อย่ า งน้ อ ย ๒ ภาษา ทั กษะด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศ เพื่อ เป็น เครื่ อ งมื อ การเรี ย นรู้ เหมาะสม ตามช่วงวัย
• เพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะสาร ระการเรี ย นรู้ ภ าษาไทย ทางด้ า นหลั ก ภาษาไทย • เพื่อให้ผู้เรียนสนุกสนาน รักและภาคภูมิใจ ในเอกลักษณ์ของภาษาไทย • เพื่อให้ผู้เรียนได้นาความรู้ไปใช้ในการ ดาเนินชีวิตจริง •เพื่ อ การเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเองอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การทางานอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้าง เสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๑
๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ๑. เด็กสนุกสนาน มีความสุขในการเรียน ทาให้จดจาและเรียนรู้ทางด้านหลักภาษาได้ดี มีแนวคิดและเจตคติที่ดีต่อการเรียน ๒. สอนจากรูปธรรมไปหานามธรรม ๓. สอนจากง่ายไปหายากจากสิ่งที่ใกล้ตัวก่อน เด็กจะไม่เกิดอาการเครียด ๔. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๕. ทฤษฎี BBL การพัฒนาการทางสมอง การเคลื่อนไหวทางร่างกาย ๖. การจัดการเรียนรู้ Problem Based Leaning (PBL) ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุ่มเป้าหมาย) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว ปีการศึกษา ๒๕๕๕ จานวน ๕๐ คน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว ปีการศึกษา ๒๕๕๖ จานวน ๔๙ คน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว ปีการศึกษา ๒๕๕๗ จานวน ๖๖ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) ๑. ขั้นเตรียม / ขั้นวางแผน ๑.๑ สารวจปัญหาของนักเรียน ๑.๒ ศึกษาหลักการ ทฤษฎีการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๑.๓ จัดประชุมสัมมนาบุคลากรในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๑.๔ ทดลองนาชุดการสอนแบบศูนย์การเรียนภาษาไทยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ชุด เปิดโลกหลักภาษาไทย มาใช้เพื่อนาผลแก้ไขปรับปรุง ๑.๕ วางแผนการจัดกิจกสรรมประกอบการเรียนรู้ ๒. ขั้นดาเนินการตามแผน ๒.๑ การจั ด ชั้ น เรี ย นต้ อ งจั ด แบบศู น ย์ ก ารเรี ย นแต่ ล ะศู น ย์ ป ระกอบด้ ว ยบั ต รค าสั่ ง บัตรเนื้อหา บัตรคาถามและบัตรเฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกปฎิบัติ แบบทดสอบหลังเรียนและสื่อการสอน ๒.๒ การจัดทาศูนย์สารอง เป็นกิจกรรมเสริม สาหรับกลุ่มที่ทากิจกรรมในศูนย์ต่างๆเสร็จ ก่อนเวลาที่กาหนด ๓. ขัน้ ประเมินผล ๓.๑ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓.๒ ประเมินผลจากการตรวจบัตรกิจกรรม ๓.๓ ประเมินผลจากการตรวจแบบทดสอบหลังเรียน ๓.๔ ประเมินผลสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนทั้ง ๓ ด้าน - ด้านความสามารถในการสื่อสาร - ด้านความสามารถในการคิด - ด้านความสามารถในการแก้ปัญหา
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๒
แผนผังขั้นตอนการการพัฒนาความรู้ภาษาไทย ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชุดเปิดโลกหลักภาษาไทย ๑.จัดตั้งศูนย์การเรียน ๕ ศูนย์และศูนย์สารอง ๑ ศูนย์ - ร้องเพลงนาเข้าสู่บทเรียน/เล่นเกมทายคาปริศนา เคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อพัฒนาสมองสู่การจาที่คงทน (BBL)
๒.ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน
๓. กาหนดปัญหา จัดสถานการณ์ต่างๆ ( Learning to Question ) - ชี้แจง ทาความเข้าใจเกี่ยวกับชุดการสอนเปิดโลกหลักภาษาไทย ซึ่งมีทั้งหมด ๕ ศูนย์และศูนย์สารอง ๑ ศูนย์
๔.ดาเนินการศึกษาค้นคว้า ( Learning to Search ) - นักเรียนประกอบกิจกรรม ครูเดินดูการทางานของนักเรียน ครูให้คาแนะนาช่วยเหลือกลุ่มที่มีปัญหาทันที
๕.นักเรียนร่วมกันคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ที่ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ( Learning to Serve ) - กระบวนการทางานกลุ่มชุดการสอนแบบศูนย์การเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ชุดเปิดโลกหลักภาษาไทย
๖. สรุปและประเมินผล ( Learning to Communicate ) - แต่ละกลุ่มนาเสนอผลงาน/ชิ้นงานอภิปรายและสรุปผลงานร่วมกัน
๗. เผยแพร่ผลงาน ผ่านทางเว็บไซต์วิชาการ.คอมพลังไทย เพื่อการศึกษาไทย - เผยแพร่ผลงาน ผ่านทางเว็บไซต์ครูบ้านนอก.คอม โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๓
๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) ตรวจสอบหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยให้ผู้เชี่ยวชาญ ๕ ท่าน ดังนี้ ๑.นางอรพิมพ์พรรณ คัมภีร์ ศึกษานิเทศก์ สพป.กจ. เขต ๑ ๒.นายโชค เอียดช่วย ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว ๓.นางจาลอง จั่นจินดา ครูโรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว ๔.นางพยุง ท้วมเทียบ ครูโรงเรียนบ้านหนองบ้านเก่า ๕.นางอารมณ์ บุญเรืองรอด ครูโรงเรียนบ้านหนองสองตอน จากนั้น นาไปใช้กั บนั กเรี ยนชั้น มัธ ยมศึ กษาปีที่ ๑ และเก็ บคะแนนระหว่ างเรี ยน หลั งเรียน เพื่อหาคุณภาพ - ผลการตรวจสอบหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ๐.๕ - สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน ตรวจผลงานนักเรียน พบว่านักเรียนมีผลการเรียนพัฒนาขึ้น มี ผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น - สัมภาษณ์ และสารวจความพึงพอใจของผู้ปกครอง พบว่าพึงพอใจกับผลการเรียน ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ๑. ใช้ในการจัดกิจกรรมกับการเรียนการสอนปกติ ในห้องเรียน ๒. ใช้ในการจัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมเด็กที่อ่อนในสาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย ๓. ใช้ในการสาธิตการสอน เพื่อเผยแพร่ให้เพื่อนครู ทั้งในโรงเรียนและต่างโรงเรียน ๔. จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ๕. เผยแพร่ผลงาน ผ่านทางเว็บไซต์วิชาการ.คอมพลังไทย เพื่อการศึกษาไทย ๖. เผยแพร่ผลงาน ผ่านทางเว็บไซต์ครูบ้านนอก.คอม ๗. จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ในกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ๘.๑.๑ นักเรียนโรงเรียนบ้านห้วยน้าขาวจานวน ๙๙ คน ได้รับการพัฒนาทักษะทางภาษาไทย ๘.๑.๒ ครูที่ได้รับการเผยแพร่จากการสาธิตการสอน จานวน ๒๕ คน ๘.๑.๓ นั ก เรี ย นได้ รั บ รางวั ล และเกี ย รติ บั ต รจากการแข่ ง ขั น ทั ก ษะทางวิ ช าการร้ อ ยละ๘๐ ระดับภาคของวิชาภาษาไทย ๘.๑.๔ นักเรียนมีแรงจูงใจกระตุ้นในการเรียนในกลุ่มสาระภาษาไทยร้อยละ๘๐ ๘.๑.๕ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและบริหารจัดการตนเองได้ถูกแนวทางร้อยละ๘๐ ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ๘.๒.๑ นักเรียนมีการพัฒนาทักษะทางด้านหลักภาษาไทย ๘.๒.๒ ครูนาไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เด็กได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๘.๒.๓ ศึกษานิเทศก์และบุคลากรทางการศึกษานาไปเผยแพร่วิธีการในการเรียนรู้หลักภาษาไทย เพื่อจะได้ยกระดับผลสัมฤทธิ์ได้มีประสิทธิภาพ
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๔
๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้เกี่ยวข้องและวิธีการ ได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) ๘.๒.๑ สัมภาษณ์ความพึงพอใจจากเด็กร้อยละ ๑๐๐ ๘.๒.๒ สารวจความพึงพอใจจากผู้ปกครองร้อยละ ๑๐๐ ๘.๒.๓ สารวจความพึงพอใจจากครูร้อยละ ๙๘ ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP / ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ๘.๔.๑ ผู้บริหารให้การสนับสนุนสร้างขวัญและกาลังใจ ๘.๔.๒ ผู้เชี่ยวชาญให้คาชี้แนะ ช่วยเหลือในการพัฒนางาน ๘.๔.๓ คณะครูให้คาปรึกษา สนับสนุน และช่วยเหลือในการพัฒนางาน ๘.๔.๔ นักเรียนมีความพร้อมกล้าแสดงออก ตั้งใจเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสนุกสนาน ๘.๔.๕ ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการให้ข้อเสนอแนะต่างๆ ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP ๙.๑.๑ น าไปใช้ ใ นการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนนั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ ๑ โรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว ๙.๑.๒ เป็นวิทยากรให้ความรู้กับครูผู้สอนภาษาไทย โรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว จานวน ๒๕ คน ณ โรงเรี ย นบ้ า นห้ ว ยน้ าขาว ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษากาญจนบุ รี เขต ๑ จังหวัดกาญจนบุรี ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้า เพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP ๙.๒.๑ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนบ้านห้วยน้าขาว ผลความพึงพอใจของนักเรียน เท่ากับร้อยละ ๑๐๐ ๙.๒.๒ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของครูที่เข้ารับการอบรมฯ นาไปใช้ผลความพึงพอใจของนักเรียนเท่ากับร้อยละ ๙๐ ๙.๒.๓ ครูที่เข้ารับการอบรม จานวน๒๕ คน มีผลความพึงพอใจเท่ากับร้อยละ ๑๐๐ ๑๐. การประชาสัมพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวัน เวลา และรูปแบบ/ วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) ๑. ใช้ในการสาธิตการสอน เพื่อเผยแพร่ให้เพื่อนครู ทั้งในโรงเรียนและต่างโรงเรียน วันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ๒. เผยแพร่ผลงาน ผ่านทางเว็บไซต์วิชาการ.คอมพลังไทย เพื่อการศึกษาไทยเมื่อปี ๒๕๕๕ ๓. เผยแพร่ผลงาน ผ่านทางเว็บไซต์ครูบ้านนอก.คอม เมื่อปี ๒๕๕๕ ๔. จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ในกลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย ณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ วันที่ ๕ กันยายน ๒๕๕๕ ๕. จัดนิทรรศการเผยแพร่ผลงานในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา วันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๕ ๖. จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring ในกลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย ณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๕
เอกสารอ้างอิง
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๖
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๗
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๘
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๙
ประมวลภาพกิจกรรม
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๑๐
นาเสนอผลงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการนาเสนอผลงานการปฏิบัติที่ดีเลิศ(Best Practice) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๑๑
นาเสนอผลงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการนาเสนอผลงานการปฏิบัติที่ดีเลิศ(Best Practice) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต๑
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๑๒
แสดงผลงานทางวิชาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ณ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต๑
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๑๓
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๑๔
เข้าร่วมการอบรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๑๕
นานักเรียนเข้าศึกษาดูงานศิลปหัตถกรรมระดับภาค ณ เมืองทองธานี
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๑๖
เป็นวิทยากรเผยแพร่ความรู้ การจัดการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ให้กับครูในโรงเรียนและต่างโรงเรียน
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๑๗
ดาเนินการการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการ Coaching and Mentoring
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๑๘
เป็นคณะกรรมการตัดสินกลุ่มสาระภาษไทย งานศิลปหัตถกรรมระดับเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต๑
โรงเรียนบ้านห้วยน้้าขาว ส้านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๑๙