BEST PRACTICE การปฏิบัติงานอย่ างมีจิตสานึก
โดย นายสมคิด บุญมา ช่ างไฟฟ้า ระดับ ๓ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต1
BEST PRACTICE .................................................... 1 ชื่อผลงาน BECT PRACTICE
การปฏิบัตงิ านอย่ างมีจติ สานึก
“การสร้างงาน คือการสร้างเงิน เพื่อความเจริ ญของชีวิต” 2 ข้อมูลทัว่ ไปของผูพ้ ฒั นา BEST PRACTICE 2.1 ชื่อผูพ้ ฒั นา BEST PRACTICE นายสมคิด บุญมา ลูกจ้างประจา ตาแหน่งช่างไฟฟ้ า ช.3 สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 2.2 สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 เลขที่ 8/6 หมู่ 12 ถนน แม่น้ าแม่กลอง ตาบล ปากแพรก อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 71000 โทร. 084- 3195682 LINE 093 – 1031068 3 เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา BEST PRACTICE 1 เพื่อเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนร่ วมงานและการปฏิบตั ิงานในองค์กร 2 เพื่อพัฒนาศักยภาพในการปฏิบตั ิงานให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น พร้อมกับการตื่นตัวต่อการ ทางานเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายและเกิดประโยชน์สูงสุ ดแก่ทางราชการ 3 เพื่อพัฒนาองค์กรให้กา้ วล้ าทันเทคโนโลยีสมัยใหม่และให้มีพ้นื ที่ใช้งานอย่างพอเพียง 4 เกิดความคิดริ เริ่ มที่ปรับปรุ ง ขยายและจัดสรรใหม่ให้ดีที่สุด พร้อมที่สุด และใช้ประโยชน์คุม้ ที่สุด ของเจ้าหน้าที่และบุคคลที่มาติดต่อราชการ 5 เกิดการคิดงานใหม่ๆ ปรับปรุ ง พัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่ อง เป็ นต้น 4 ระยะเวลาในการพัฒนา BEST PRACTICE เดือน มิ.ย. ถึง เดือน ก.ย. 2558
5 ความเชื่อมโยง/ความสั มพันธ์ ระหว่าง BEST PRACTICE กับเป้าหมาย / จุดเน้ นของสพป. – สพฐ.กับ BEST PRACTICE “การสร้างงาน คือการสร้างเงิน เพื่อความเจริ ญของชีวติ ” มีความเกี่ยวโยงกันดังนี้ กล่าวคือ เป้ าหมายหรื อจุดเน้นที่สพป.กาญจนบุรีเขต1 สนองต่อกลยุทธ์ที่2 การพัฒนาองค์กรให้เกิดความ เหมาะสมกับสถานการณ์ในปั จจุบนั ทันต่อเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างมากมายชนิดตามแทบไม่ทนั จึงเน้น สถานที่ทางานให้มีบรรยากาศที่รองรับกับการแปรป่ วนของโลกยุคปั จจุบนั โดยเน้นการปรับปรุ งห้องทางาน ให้มีความปลอดโปร่ งสะดวกสบายขณะปฏิบตั ิงาน ประหยัด และใช้งานได้จริ งเกิดประสิ ทธิ ภาพอย่าง แท้จริ ง 6 แนวคิด/ หลักการ/ทฤษฎีที่นามาประกอบการทางานพัฒนา BEST PRACTICE หลักการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นการติดตามประเมินผลการปฏิบตั ิงาน ของเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา ผูบ้ ริ หารการศึกษา สถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาเพื่อนา ผลลัพธ์ทางการศึกษา เพื่อพัฒนาให้เกิดผลสาฤทธิ์ มีสมรรถนะด้านการปฏิบตั ิงาน มุ่งมัน่ เสี ยสละ มี ความคิดริ เริ่ ม รับผิดชอบจนบรรลุป้าหมายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ แนวความคิด ในการปฏิบตั ิงานนั้น องค์กรควรมีการพัฒนาปรับปรุ งทั้งอาคาร สถานที่ และบุคลากรของ หน่วยงาน ระบบการทางานที่เกิดประสิ ทธิ ภาพ มีการเพิ่มความรู ้ เพิ่มสถานที่ทางานให้เพียงพอ เช่นการ ขยายห้องทางานให้ใหญ่ข้ ึนมีความโปร่ งแสงมากยิง่ ขึ้น รอบบริ เวณอาคารควรมีการจัดทาสวนสุ ขภาพ ห้อง ออกกาลังกาย สถานที่นงั่ พักผ่อนซึ่ งสิ่ งเหล่านี้มีความจาเป็ นต่อหน่วยงานมาก มีอาคารรองรับบุคคลภายนอก ที่มาติดต่อราชการทั้งหลายเหล่านี้เกิดขึ้นมาด้วยแนวความคิดของผูบ้ ริ หารตกผนึกมาถึงข้าพเจ้าซึ่ งทาหน้าที่ คิดงานนาเสนอต่อผูบ้ งั คับบัญชาจนเกิดเป็ นชิ้นงานตามที่เห็นปรากฏภายในอาคารสานักงานฯได้ใช้ ประโยชน์อย่างสู งสุ ดอีกทั้งยังนาเอาความรู ้ความสามารถที่มีมาประกอบอาชีพหลังเวลาราชการเช่น วันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ์รับจ้างก่อสร้างซ่ อมแซมต่อเติมอาคารบ้านเรื อนและอื่นๆเพื่อนา รายได้มาเลี้ยงครอบพร้อมส่ งเสี ยให้ได้รับการศึกษาจนจบและมีงานทาแล้ว สองคน ยังศึกษาอยูอ่ ีกสองคน จึงเป็ นที่มาของการครองตน ครองคน และครองงาน การครองตน เป็ นผูท้ ี่รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริ ย ์ รักสถาบันยิง่ ชีพ การครองตนนั้นข้าพเจ้าได้เข้ารับราชการบรรจุเป็ นลูกจ้างประจา ตาแหน่งเดิมพนักงานขัยรถยนต์ ทันที่ที่ ได้รับการแต่งตั้งข้าพเจ้าก็ได้เลิกอบายมุขเช่นสุ รา บุหรี่ ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความวิริยะอุตสาหะ ไม่ยอ่ ท้อต่อ อุปสรรค เช่นเวลาเดนทางนาผูบ้ ริ หารไปประชุมสัมมนา ไม่รู้สถานที่ ไม่รู้เส้นทาง จึงต้องเตรี ยมความพร้อม
ก่อนเดินทางโดยการซื้ อสมุดแผนที่เส้นทางทั้งในกรุ งเทพฯ และต่างจังหวัดมาศึกษาเส้นทางล่วงหน้าก่อน ออกเดินทางเสมอจนในที่สุดก็สามารถจดจาได้จนถึงปั จจุบนั นี้ เป็ นผูป้ ฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบวินยั ของราชการอย่างเคร่ งครัด มีอุปนิสัยเผื่อแผ่ มีจิตอาษาช่วยเหลือเพื่อน ร่ วมงานและบุคคลทัว่ ไปที่ขอความช่วยเหลือเสมอ ข้าพเจ้าเป็ นคนมีน้ าใจ ไม่ชอบการทะเลาะ จิตใจโอบอ้อมอารี ใช้เหตุผลไตร่ ตรองการทางานและกับเพื่อน ร่ วมงาน อ่อนน้อมถ่อมตน พูดจาไพเราะทั้งต่อหน้าและลับหลัง เป็ นที่ยอมรับของคณะทางานเจ้าหน้าที่และ ผูบ้ งั คับบัญชา เป็ นผูท้ ี่มีคุณธรรม จริ ยธรรม ไม่เที่ยวเตร่ มวั่ สุ ม เป็ นมีคุณธรรม ไม่ฝักใฝ่ ลาภ ยศสรรเสริ ญ ไม่ใช้อานาจที่มี ไปในทางที่ผดิ ใช้หลักการเจรจา ให้เกียรติกบั ทุกคนด้วยการยกย่องสรรเสริ ญตามสถานการณ์น้ นั ๆเสมอ เป็ นคนที่ยดึ หลักธรรมทางพุทธศาสนา มาอบรมเลี้ยงดูบุตรให้ปฏิบตั ิดี มีศีลธรรม และทานุบารุ ง พระพุทธศาสนาโดยการไปทาบุญกับครอบครัว ทาบุญเป็ นอาจิณทั้งที่วดั และงานทาบุญทัว่ ไปตามกาลังตน มีหน้าที่จดั พิธีการทางศาสนาและนิมนต์พระคุณเจ้ามาทาพิธีตามวาระโอกาสทั้งที่สานักงานฯและที่บา้ น บุคคลที่นบั ถือ ข้าพเจ้ามีความซื่ อสัตย์สุจริ ตทั้งในหน้าที่การงานและครอบครัว ไม่เอารัดเอาเปรี ยบ ไม่เห็นประโยชน์ส่วน ตนมากกว่าประโยชน์ส่วนรวมทั้งที่ทางานและที่บา้ น เป็ นผูท้ ี่เข้ารับการพัฒนาตนอยูเ่ สมอ เช่นการอบรมพัฒนาศักยภาพการให้บริ การของพนักงานขับรถยนต์ที่ ศูนย์พฒั นาฝี มือแรงงาน การประชุมสัมมนา ลูกจ้างประจาที่จ.ระยอง และที่หน่วยงานต้นสังกัดจัดอีก มากมายก็ได้เข้าร่ วมทุกครั้ง การครองคน เป็ นผูท้ ี่ปฏิบตั ิตนอยูใ่ นกรอบประเพณี อนั ดีงาม มีกฎมีระเบียบจนได้รับความไว้วางใจจาก ลูกจ้างประจาให้ทาหน้าที่เป็ นประธานชมรมลูกจ้างสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต1 รวม 4 อาเภอ เป็ น หัวหน้าครอบครัวที่ให้การอบรมลูกๆให้รู้จกั หน้าที่ความรับผิดชอบต่อตนเองเช่น รู ้จกั รับผิดชอบเรื่ องการ เรี ยน การงาน เช่น ตอนเรี ยนประถมให้ทางานบ้านเช่นเก็บปั ดกวาดถูบา้ นหุ งข้าวล้างจานซักผ้าของตนเอง และการรับผิดชอบเรื่ องการเรี ยน การใช้จ่ายให้เกิดประโยชน์มากที่สุด รู ้จกั การออมเป็ นต้น มัธยม ให้ใส่ ใจ การเรี ยนเป็ นพิเศษและช่วยพ่อแม่ทางานในวันหยุดเรี ยนโดยการทางานรับจ้างก่อสร้างกับครอบครัวเพื่อเป็ น การฝึ กความอดทนและการเรี ยนรู ้ก่อนจะได้ค่าตอบแทน จนจบการศึกระดับมหาวิทยาลัยมีงานทาแล้ว 2
คน คนที่1 รับราชการครู สังกัดสพป.กจ.1 คนที่ 2 รับราชการตาแหน่งนิ ติกรที่สานักนิ ติการสานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิ การปั จจุบยั กาลังศึกษาอยู่ 2 คน ปี 3 - 4 เป็ นหัวหน้างานที่มีลูกน้องหรื อคนทางานมากต้องปกครองด้วยกฏระเบียบและยึดหลักพี่สอนน้องตลอดมา เป็ นคนที่เข้าได้กบั ทุกคนให้ความร่ วมและช่วยเหลือเพื่อนร่ วมงานเสมอ ปฏิบตั ิตนเป็ นสมาชิกที่ดีของกลุ่ม ยอมรับมติในที่ประชุมเมื่อมีการแบ่งความรับผิดชอบโดยเคารพในกติกานั้นๆด้วยดี ได้รับการแต่งตั้งให้ ปฏิบตั ิหน้าที่ในรู ปแบบของกรรมการฝ่ ายจัดสถานที่ชุดต่างๆในสานักงานฯตลอดมาและทาด้วยความเต็มใจ เป็ นอย่างยิง่ เพราะถือคติ “งานไม่ เคยฆ่าใคร” คนทางานคือคนมีคุณภาพ ให้ความร่ วมกับเพื่อนร่ วมงานและ เจ้าหน้าที่ในการปฏิบตั ิงานทุกชนิดเพื่อให้เกิดผลสาฤทธิ์ การครองงาน ในแต่ละปี งบประมาณนั้นจะมีงบเหลือจ่าย สู่ หน่วยภูมิภาคทาให้มีงบเพื่อการพัฒนา สานักงานฯบ้างตามสมควร สพป.กจ.1 ต้องทารายละเอียดการประมาณการค่าใช้จ่ายไว้รองรับสพป.กจ.1จึง แต่งตั้งให้ขา้ พเจ้าปฏิบตั ิหน้าที่เป็ นผูส้ รรหาและประมาณราคาการซ่อมแซม ต่อเติมอาคาร สถานที่รอบๆ สพป.กจ.1โดยได้จดั ทารายละเอียดตามที่ผบู้ งั คับบัญชาต้องการให้ทาโดยให้ยดึ หลักการประหยัด สะดวก เพียงพอ และเกิดประโยชน์อย่างสู งสุ ดต่อราชการ เป็ นคนที่รู้จกั ใช้ทรัพย์สินของราชการให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด เกิดการประหยัดและใช้งานได้อย่างคุม้ ค่า เช่นอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่พอซ่อมได้ขา้ พเจ้าก็จะนามาซ่อมใหม่ เช่นตูแ้ ช่น้ าเย็น กระติกน้ าร้อน โคมไฟ เป็ นต้น เป็ นคนที่ไม่ยอ่ ท้อต่อปั ญหาอุปสรรคในการทางาน เมื่อเกิดปั ญหากับการทางานก็จะคิดหาวิธีแก้ไขปรับปรุ ง ให้สามารถผ่านไปด้วยดี หากปั ญหานั้นๆใหญ่เกินความสามารถก็จะเข้าปรึ กษาผูบ้ งั คับบัญชาเพื่อช่วยไข ต่อไปเป็ นคนที่เสี ยสละเวลาส่ วนตนอุทิศเวลาให้กบั ราชการโดยเล็งเห็นผลประโยชน์ของราชการมาก่อน ประโยชน์ส่วนตน เช่น การเขียนแบบเพื่อของบประมาณ ข้าพเจ้าจะใช้เวลาตอนกลางคืนหลังจากได้นอน ตอนหัวค่าตื่นตอนดึกมานัง่ คิดงานที่จะทาเพราะเวลาดังกล่าวจะทาให้มีความคิดดีบรรยากาศเงียบสงบ ความคิดต่างๆจะไหลออกมาดีมาก เป็ นคนยึดหลักการทางานด้วยคติประจาใจว่า “การปฏิบตั ิอย่างมี จิตสานึก” เพราะงานไม่เคยฆ่าใคร “มีแต่จะทาให้บุคคลคนนั้นเจริ ญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน
7 กระบวนการพัฒนา BEST PRACTICE 1 กลุ่มเป้ าหมายในการเสนอ BEST PRACTICE ไปใช้ บุคลากรและลูกจ้างในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 2 ขั้นตอนการพัฒนา BEST PRACTICE ผูพ้ ฒั นาได้ดาเนินการพัฒนาการปฏิบตั ิงานดังนี้ - รับคาสั่งมอบหมายงาน ถือปฏิบตั ิทนั ที ทาจนเกิดผลสาเร็ จอย่างทันเวลา พบปั ญหาจะรี บแก้ทนั ที หากแก้ไม่ได้จะรี บปรึ กษาผูม้ ีอานาจมากกว่า - มีการวางแผนก่อนการทางานเสมอ พร้อมกับจัดลาดับความสาคัญก่อน-หลังแล้วลงมือทาตามกรอบที่ วางไว้เมื่อทาประมาณการพร้อมร่ างแบบเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว รายงานผลการปฏิบตั ิงานให้ผบู ้ งั คับบัญชา รับทราบและขออนุมตั ิเพื่อดาเนินการขั้นต่อไป 3 การตรวจสอบคุณภาพ BEST PRACTICE ผูพ้ ฒั นา BEST PRACTICE ได้มีการตรวจสอบชิ้นงานที่ทาว่าถูกต้อง ครบถ้วนหรื อไม่ ก่อนนาเสนอ ผูบ้ งั คับบัญชาตามลาดับคือ 1 ผูอ้ านวยการกลุ่มอานวยการ 2 รองผูอ้ านวยการ 3 ผูอ้ านวยการ 4 แนวทางการนา BEST PRACTICE ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ดังนี้ 1 เป็ นแบบอย่างการพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าในอาชีพ 2 เป็ นต้นแบบให้มีการปฏิบตั ิตามเพื่อนามาพัฒนาปรับปรุ งสายงานให้สูงขึ้น 3 เป็ นการพัฒนาเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการทางาน เกิดศักยภาพทั้งตนเองและเกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อราชการ
8 ผลสาเร็จทีเ่ กิดจากพัฒนา BEST PRACTICE ผลที่เกิดจากการปฏิบตั ิงาน ทาให้มีสถานที่ที่ได้ปรับปรุ งแก้ไขใหม่ มีที่ให้ได้ทางาน พักผ่อน บริ การทั้ง บุคคลภายในและภายนอก รวมถึงผูม้ าติดต่อราชการได้รับความสะดวกสบายมากยิง่ ขึ้น ความพึงพอใจที่ ได้รับ ทาให้คุณภาพชีวิตของลูกจ้างดีข้ ึน การดารงชีวิตและการใช้ชีวติ ประจาวันดีข้ ึนมีคนรู ้จกั ทักทายมาก ขึ้นปั จจัยของความสาเร็ จการพัฒนา BEST PRACTICE การเรี ยนรู ้ การปฏิบตั ิ ประสบการณ์ บวกกับการนา กระบวนการพัฒนา BEST PRACTICE คือ สถานที่ งบประมาณที่ได้รับ ความเห็นชอบจากผูบ้ งั คับบัญชา การสนับสนุนจากเพื่อนร่ วมงาน เจ้าหน้าที่และผูบ้ งั คับบัญชาตามลาดับความร่ วมมือจากทุกฝ่ าย 9 กระบวนการตรวจสอบเพือ่ การปรับปรุ งพัฒนา BEST PRACTICEให้ เกิดประสิ ทธิภาพอย่างต่ อเนื่อง 1 วิธีการตรวจสอบ BEST PRACTICE แต่งตั้งคณะทางานเพื่อหาข้อสรุ ปและวางแผนออกแบบ ประกอบด้วย รองผูอ้ านวยการที่ดูแล รับผิดชอบกลุ่มอานวยการ , ผอ.กลุ่มอานวยการ,เจ้าหน้าที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต 1 ตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่วเิ คราะห์กลุ่มนโยบายและแผน เจ้าหน้าที่พสั ดุ ที่รับผิดชอบเรื่ องงบประมาณ ตรวจสอบโดยผูอ้ านวยการกลุ่มบริ หารงานนโยบายและแผน นาเสนอรองผูอ้ านวยการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต นาเสนอผูอ้ านวยการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ผลการตรวจสอบเพื่อการพัฒนาและปรับปรุ ง BEST PRACTICE สามารถนามาดาเนินการพัฒนาปรับปรุ ง ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้นและนาเสนอของบประมาณจากส่ วนกลางต่อไป จากการปฏิบตั ิงานของ ลูกจ้างที่ได้รับการพัฒนา BEST PRACTICE แล้วสามารถนาความรู้และผลงานมาปรับเปลี่ยนสายงานให้ สู งขึ้นตามระเบียบกรมบัญชี กลางและสานักงานก.พ. ที่กาหนดคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง เฉพาะตัวทั้ง ทางตรงและทางอ้อม
10 การประชาสั มพันธ์ ผลสาเร็จของ BEST PRACTICE และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้ าง(ระบุวนั เวลา และรู ปแบบ/วิธีการประชาสั มพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) จัดทาเอกสาร /วารสารลูกจ้างสัมพันธ์ แผ่นพับประมวนผลการประชุม อบรม สัมมนาต่างๆให้สมาชิก หรื อลูกจ้างในสังกัดทราบอย่างทัว่ ถึงสรุ ปรายงานผลการปฏิบตั ิงานเสนอผูบ้ งั คับบัญชาทราบเป็ นวิทยากรให้ ความรู ้ความเข้าใจแก่ลูกจ้างที่มีความสนใจ และปฏิบตั ิตาม
ภาคผนวก
งานรับจ้ างทานอกเวลาราชการ (อาศัยช่ วงวันหยุด)