Best Practice นางอรกัญญา วรรณะ ร.ร.วัดขุนไทยธาราราม

Page 1

Best practice การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย โดยการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

นางอรกัญญา วรรณะ ตําแหนง ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนวัดขุนไทยธาราราม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน



Best practices :

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ๑. ชื่อนวัตกรรม/ผลงาน “การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย โดยการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ” ๒. ชื่อผูเสนอผลงาน นางอรกัญญา วรรณะ ตําแหนง ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนวัดขุนไทยธาราราม ตําบลรางสาลี่ อําเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี ๗๑๑๑๐ หมายเลขโทรศัพท ๐๘๙-๖๐๐๐๐๔๗ ๓. วัตถุประสงค ๓.๑ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย และลดจํานวนนักเรียนอานไมออก เขียนไมได ๓.๒ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย ใหสามารถพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนเพื่อ แกไขปญหาการอานการเขียน และยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนภาษาไทย

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๔. ความเปนมา/ความสําคัญ ตามที่โรงเรียนวัดขุนไทยธาราราม ไดกําหนดนโยบายในการพัฒนาการบริหารและจัดการ สถานศึกษา เพื่อใหสอดคลองกับเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา ๓๐ ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสมกับ ผูเรียนในแตละระดับการศึกษา เพื่อเปนการนํานโยบายสูการพัฒนาอยางเปนรูปธรรม โรงเรียน วัดขุนไทยธารารามจึงไดดําเนินงานตามแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อสงเสริมสนับสนุน ใหครูผูสอนทุกกลุมสาระการเรียนรูดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานของคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ โรงเรียนวัดขุนไทยธาราราม มีนโยบายการบริหารโรงเรียนโดยเนนการสรางโอกาสและความ เทาเทียมในดานการพัฒนาศักยภาพของผูเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( ICT) จึงเปน เครื่องมือที่นํามาใช เพื่อสรางโอกาสทางการศึกษา ผูเรียนสามารถเขาถึงแหลงความรูไดอยางเทาเทียม อีกทั้งยังสามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( ICT) มาชวยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ เรียนการสอน ดังตอไปนี้ ๑. ครูสามารถอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติ พรอมกับแสดงตัวอยาง ประกอบการสอน อยางละเอียด ๒. ลดปญหาการเรียนไมทัน เนื่องจากผูเรียนสามารถทบทวนบทเรียนดวยตนเองได ๓. นักเรียนสามารถเรียนรูขั้นตอนการปฏิบัติในแตละขั้นตอนไดอยางละเอียดและชัดเจน ๔. เพิ่มคุณภาพผลงานของผูเรียน ๕. นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตน และสามารถเรียนรูไดอยางมีความสุข ๕. ระยะเวลาในการพัฒนา ระยะการพัฒนาจะพัฒนาตลอดปการศึกษา ดําเนินการตอเนื่องตลอดปการศึกษาโดยมีการ ปรับและพัฒนา

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๖. ความเชื่อมโยง/สัมพันธระหวาง BP กับเปาหมาย/จุดเนนของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา จุดเนนของ สพป. / สพฐ. / สถานศึกษา เปาหมายของ BP • นักเรียนทุกคนอานออกเขียนได คิดเลข • พัฒนาเด็กใหเกิดการเรียนรู เขาใจ เกี่ยวกับ เปน ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต บทเรียนวิชาภาษาไทย การสื่อสารอยางสรางสรรค • เด็กไดนําความรูไปใชในชีวิตจริง • นักเรียนทุกคนมีความสํานึกในความรัก • เด็กสนุกสนาน รักและภาคภูมิใจใน ชาติ ภาษาไทย ๗. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นํามาใชในการพัฒนา BP ๑. เด็กสนุก มีความสุข ทําใหจดจําและเรียนรูไดดี มีเจตคติที่ดีตอการเรียน ๒. สอนจากรูปธรรมไปหานามธรรม ๓. การจัดการเรียนรูการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ๘. กระบวนการพัฒนา BP ๘.๑ กลุมเปาหมายในการนํา BP ไปใช (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจํานวน กลุมเปาหมาย) ประเภทของกลุมเปาหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓

โรงเรียนวัดขุนไทยธาราราม

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๘.๒ ขั้นตอนการดําเนินงานและพัฒนาผลงาน เมื่อผูสอนพบวานักเรียนมี นักเรียนมีความสามารถในการเรียนรูที่แตกตางกัน ทําใหเกิดปญหา ในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน สงผลกระทบกับการพัฒนาศักยภาพของผูเรียน ผูสอนจึงได ดําเนินการแกไขปญหาในทันที ทั้งนี้ผูสอนไดพัฒนาวิธีการดําเนินงานโดยใชวงจรคุณภาพ ( PDCA) ของเดมมิ่ง ดังนี้

ขั้นวางแผน (Plan)

การวางระบบ เปนการกําหนดขั้นตอนการทํางานเพื่อหาแนวทางใน การพัฒนาการเรียนการสอน โดยวิเคราะหหลักสูตร จัดทําหลักสูตร สถานศึกษา วิเคราะหนักเรียนเปนรายบุคลโดย อาศัยขอมูลจาก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในปที่ผานมา การประเมินผลความรู กอนเรียน สํารวจขอมูลนักเรียนเปนรายบุคคลดาน EQ, SDQ และ ความสามารถพิเศษของนักเรียน สํารวจขอมูลครอบครัวนักเรียน ผูปกครองนักเรียน โดยการสัมภาษณ กรอกแบบสอบถาม และเยี่ยมบานนักเรียน สรุปขอมูลนักเรียนเปนรายบุคคล ประเมินการ จัดการเรียนการสอนของครู โดยใชเทคนิค WHERE TO

ขั้นดําเนินการ(DO)

(แนวทางการจัดการเรียนการสอน) นําขอบกพรองที่ ไดจากการ ประเมินมาออกแบบ พัฒนา ปรับปรุง แผนการจัดการเรียนรูวิชา นําแผนการจัดการเรียนรูที่ไดมาใช จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ ประเมินผลการเรียนรูตามแนวทางการประเมินผลตามสภาพจริง โดย คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


ขั้นตรวจสอบ (Check)

ขั้นปรับปรุงพัฒนา (Action)

ดําเนินการประเมินผลวาเปนไปตามจุดประสงคและเปาหมายของการ ดําเนินงานหรือไม โดยเนนการประเมินทบทวนกระบวนการการ จัดการเรียนการสอน ประเมินความคิดเห็นของผูเรียน และการ เสนอแนะขอคิดเห็นเพื่อการพัฒนาจากผูบริหาร คณะครูผูมี ประสบการณ พรอมทั้งสรางเครือขายความรวมมือ

นําผลการประเมินทบทวนมาปรับปรุงพัฒนาระบบหรือวิธีการ ดําเนินงานเพื่อมุงใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตามจุดประสงคและเปาหมาย ความสําเร็จที่วางไว

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


แผนภาพขั้นตอนการพัฒนา การจัดการเรียนการสอน โดยการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเตรียมความพรอม สราง/ออกแบบแผนการสอน การจัดการเรียนการสอน โดยการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

การประเมินผล, บรรลุวัตถุประสงค

ปรับปรุงและพัฒนา

วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางตอเนื่อง

สรุปและรายงานผล

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๘.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได) วิธีการ ตรวจสอบคุณภาพ BP ใชแบบประเมินผล แบบสังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนกลุมเปาหมายที่สรางขึ้น แบบประเมินความพึงพอใจ นําผลการประเมินที่ไดมาวิเคราะห เปรียบเทียบ ปรับปรุง เพื่อดูคุณภาพ ของ BP ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได นักเรียนมีเจตคติที่ดีตอ ภาษาไทย มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนภาษาไทยสูงขึ้น ดูจากแบบสังเกตพฤติกรรมและความพึงพอใจของกลุมเปาหมาย ๘.๔ แนวทางการนํา BP ไปใชประโยชน ใชในการพัฒนาทักษะทาง ชีวิตประจําวันได

ภาษาไทย และนักเรียนสามารถนําไปใชประโยชนใน

๙. ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงคของ BP) ๙.๑ ผลสําเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุมเปาหมาย รอยละ ๘๕ มีความสําเร็จในการเรียนภาษาไทยและมีเจตคติ ที่ดีตอภาษาไทย ๙.๒ ผลสําเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียน

ภาษาไทย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยสูงขึ้น

๙.๓ ความพึงพอใจของผูเกี่ยวของตอ BP (ระบุคารอยละของความพึงพอใจจากผูที่ เกี่ยวของและวิธีการไดมาเกี่ยวกับขอมูลความพึงพอใจ) นักเรียนรอยละ ๘๕ มีความพึงพอใจในระดับมาก ความพึงพอใจโดยใหผูเรียนเปนผูประเมิน

– มากที่สุด ไดมาจากแบบสังเกต

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๑๐. กระบวนการตรวจสอบซ้ําเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ใหเกิดผลดีอยางตอเนื่อง ๑๐.๑ วิธีการตรวจสอบซ้ํา BP ตรวจสอบปญหาเพื่อหาสาเหตุขอบกพรองแตละขั้นตอนแลวนํามาปรับปรุงแกไข และหารูปแบบใหม ๆ ที่นาสนใจมาเสนอ ใหเหมาะสมกับวัยของผูเรียนแลวดําเนินการซ้ํา ๑๐.๒ ผลการตรวจสอบซ้ําเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนสามารพัฒนาการเรียน นําไปใชไดอยางยั่งยืน

ภาษาไทยไดดีขึ้น และมีเจตคติที่ดีตอภาษาไทยและ

๑๑. การประชาสัมพันธผลสําเร็จของ BP และการเผยแพร ขยายผลในวงกวาง (ระบุวันเวลาและ รูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ เผยแพร และขยายผล) นักเรียนที่สนใจ ภาษาไทย เขารวมแขงขัน เกี่ยวกับภาษาไทยในหลาย ๆ โครงการ ประสบ ผลสําเร็จบางในบางโครงการ และไดเผลแพรผลงานใหแกครูในกลุมเครือขายพัฒนาคุณภาพการศึกษา เขานอย

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


ภาคผนวก

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๑๐

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( O-NET ) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓

60 50 40

ระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ ระดับประเทศ

30 20 10 0

ป กศ.2554

ป กศ.2555

ป กศ.2556

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๑๑

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๑๒

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๑๓

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๑๔

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๑๕

แบบฝกเสริมทักษะภาษาไทย

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๑๖

กิจกรรมวันภาษาไทย

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๑๗

การจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๑๘

ไดรับการคัดเลือกเปนกรรมการและเขารับการฝกอบรมทางดานภาษาไทย

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๑๙

คํานํา เอกสารฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อเสนอขอรับการประเมินรับรางวัล ทรงคุณคา OBEC AWARDS ครูผูสอนยอดเยี่ยม ประเภทบุคลากรยอดเยี่ยม ดาน นวัตกรรมการศึกษา กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยผูจัด ทํา ไดรวบรวม สรุปผลงานตามหัวขอการประเมินที่กําหนด พรอมแนบหลักฐานเอกสารอางอิงไวดวยแลว เอกสารประกอบเพื่อขอรับการประเมินฉบับนี้เสร็จสมบูรณไดดวยความรวมมือของนักเรียน บุคลากร โรงเรียนวัดขุนไทยธาราราม ที่ไดชวยรวบรวมขอมูลตาง ๆ ทําใหสะดวกตอการจัดทํารายงานฉบับนี้ หวังวาเอกสารฉบับนี้คงจะอํานวยความสะดวกใหแกคณะกรรมการการประเมินในการพิจารณา ตรวจสอบคุณสมบัติของผูเสนอขอรับการประเมินตอไป

นางอรกัญญา วรรณะ

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


๒๐

สารบัญ เรื่อง ผลงานที่เปนเลิศ (Best Practice) ชื่อผลงาน ๑ ขอมูลทั่วไปของผูพัฒนา ๑ วัตถุประสงคของการพัฒนา BP ๑ ระยะเวลาในการพัฒนา BP ๒ ความเชื่อมโยง/สัมพันธระหวาง BP กับ เปาหมาย/จุดเนน สพป./สพฐ./สถานศึกษา แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นํามาใชในการพัฒนา BP ๓ กระบวนการพัฒนา BP ๔ ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP ๗ กระบวนการตรวจสอบซ้ําเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ใหเกิดผลดีอยางตอเนื่อง ๘ การประชาสัมพันธผลสําเร็จของ BP และการเผยแพรขยายผลในวงกวาง ๘ ภาคผนวก

หนา

การสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยโดยการใชเทคโนโลยี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.