BEST PRACTICE นายวรวิทย์ อัคราภิชาต ธุรการโรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

Page 1

ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

คำนำ เอกสารเล่มนี้จัดทาขึ้น เพื่อเสนอผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice : BP ชื่อผลงาน ปฏิบัติเป็นเลิศ ก่อเกิดผลงาน ซึ่งผู้รายงานได้เสนอข้อมูลผลงานจากการปฏิบัติหน้าที่ สาหรับใช้ ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ มีการนาเสนอข้อมูลครอบคลุมตามหลักหลักเกณฑ์และ วิธีการ ตอนที่ 1 ประวัติส่วนตัว ตอนที่ 2 ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice : (BP) ขอขอบคุ ณ นางยุ ก ฟ้า พวงธรรม ผู้ อ านวยการโรงเรี ย นลุ่ ม โป่ง เสี้ ย ว คณะครู นัก เรี ย น โรงเรีย นลุ่ม โป่งเสี้ย ว ที่ใ ห้ค วามช่ว ยเหลือ ให้คาปรึก ษา แนะนา ในการปฏิบัติง าน ขอขอบคุณ ทุก ท่านที่ใ ห้ก ารสนับ สนุน ให้กาลัง ใจและให้ความร่ว มมือใน การปฏิบัติงานด้วยดีต ลอดมาจึง ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ วรวิทย์ อัครำภิชำต

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

สำรบัญ หน้ำ ผลงำนกำรปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice (BP) “ปฏิบัติเป็นเลิศ ก่อเกิดผลงาน” คำนำ สำรบัญ แบบสรุปผลงำนกำรปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice (BP) ตอนที่ ๑ ประวัติสว่ นตัว ตอนที่ ๒ ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice (BP) ภำคผนวก

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา

ก ข ๑ ๓ ๑๒


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ตอนที่ 1 ประวัติ ส่วนตัวเพื่อเสนอผลงานขอรับรางวัล “ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice (BP)” ของ นายวรวิทย์ อัคราภิชาต ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการ โรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว ตาบลวังเย็น อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ประวัติส่วนตัว 1. ชื่อ นายวรวิทย์ นามสกุล อัคราภิชาต 2. เกิดวันที่ 9 เดือน เมษายน พ.ศ. 2526 อายุ 32 ปี สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ 3. ตาแหน่งหน้าที่ในปัจจุบัน เจ้าหน้าที่ธุรการ สถานที่ทางาน โรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว ตั้งอยู่ ตาบลวังเย็น อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี รหัสไปรษณีย์ 71000 4. ที่อยู่ปัจจุบัน เลขที่ 62/1 หมูท่ ี่ 2 ตาบลหนองขาว อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี รหัสไปรษณีย์ 71110 โทรศัพท์ : 08-3155-3553 5. ประวัติการศึกษา สถานศึกษา

ปีท่ศี ึกษา

วุฒทิ ่ไี ด้รับ

1 ร.ร. วัดโตนด

2532-2538

ประถมศึกษาปีที่ 6

2 ร.ร.วัดชัยฉิมพลี

2544-2547

มัธยมศึกษาตอนต้น

3 ศูนย์การศึกษานอกระบบ

2550-2547

มัธยมศึกษาตอนปลาย

2550-2554

พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.)

และการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ ด่านมะขามเตีย้ 4 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย

สาขาวิชาพระพุทธศาสนา เกียรตินิยมอันดับ 2

5 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

2554-2556

ศาสนศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต (ศน.ม.) พุทธศาสน์ศึกษา

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

6. ประวัติการทางานตั้งแต่ เริ่มปฏิบัติงานจนถึงปัจจุบัน วัน/เดือน/ปี 1 ตุลาคม ๒๕๕๔

ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการ

สถานที่ปฏิบัติงาน โรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1 ตุลาคม 2555

เจ้าหน้าที่ธุรการ

โรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1 ตุลาคม 2556

เจ้าหน้าที่ธุรการ

โรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1 ตุลาคม 2557

เจ้าหน้าที่ธุรการ

โรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

1 ตุลาคม 2558

เจ้าหน้าที่ธุรการ

โรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

7. รวมระยะเวลาปฏิบัติงาน 4 ปี 4

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ตอนที่ 2 แบบสรุปผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice (BP) 1. ชื่อผลงาน ปฏิบัติเป็นเลิศ ก่อเกิดผลงาน 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา นายวรวิทย์ อัคราภิชาต 2.2 โรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว ตาบลวังเย็น อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 2.3 โทรศัพท์ : 08-3155-3553 E-mail : worrawit96@gmail.com ความเป็นมา งานธุรการโรงเรียน คือ งานที่โรงเรียนจัดขึ้นเพื่อเป็นการบริหารหน่วยงานต่างๆ ของโรงเรียน ให้ ส ามารถด าเนิ น ไปตามจุ ด มุ่ งหมายที่ ต้ อ งการหรื อ วางไว้ จึ งเปรี ย บเสมื อ นส่ ว นหนึ่ ง ที่ ร อคอย ประสานหรือสนับสนุนให้โรงเรียนสามารถดาเนินการไปสู่เป้าหมายที่กาหนดด้วยความราบรื่น เป็ น งานที่มีขอบข่ายและหน้าที่ความรับผิดชอบที่กว้างมาก และมีลักษณะงานที่จะต้องประสานงานกับ บุคคลทั้งภายในและภายนอกองค์กร ไม่ว่าจะเป็นการทางานด้านสารบรรณ การจัดเก็บและค้นหา เอกสาร การจัดเตรียมการประชุม การติดต่อประสานงานการให้บริก าร รวมทั้งปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย บทบาทและหน้าที่ของ “งานธุรการ” (Administration) เป็นฝ่ายสนับสนุน ” หรือเรียกง่ายๆ ว่าฝ่าย support เพื่อให้คนอื่นหรือพนักงานฝ่ายอื่น ๆ ทางานได้สาเร็จตามเป้าหมาย เป็นสายงานที่ เป็นเหมือนคนกลางที่จะคอยที่ขับเคลื่อนให้งานได้ดาเนินอย่างสะดวก เช่น การให้บริการ การติดต่อ ประสานงาน การจัดหา เป็นสายงานการ “ควบคุม” และ “ดูแล” ให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ เป็นนักประสานและนักบริการที่ดี ขอบเขตของสายงานธุรการ คือ งานที่เกี่ยวกับ “จัดหา จัดใช้ ดูแล และบริการ เพื่อนามาซึ่ง ความสะดวกของหน่วยงานอื่นในองค์กร” หลักการและทัศนคติของผูร้ ับผิดชอบงานธุรการ ยอมรับในธรรมชาติของสายงานที่ไม่เสร็จง่ายๆ ยอมรับว่าผลงานที่ทานั้น “เสมือนปิดทองหลังพระ” อย่าหวังว่าจะได้รับคาชมง่ายๆ ให้คิดเสียว่า คาตาหนิเป็นการสะท้อนความต้องการใช้บริการของคนในองค์กร ให้มองปัญหาที่เกิดขึ้นว่า เป็นสิ่ง ท้าทาย มองความสาเร็จที่เกิดขึ้น เป็นกาลังใจ นึกถึงประโยชน์ขององค์กรเป็นที่ตั้ง และปฏิบัติหน้าที่ ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

อย่างยุติธรรมแก่ทุกฝ่าย รู้จักการวางแผน และบริหารเวลาให้เป็น เปิดใจกว้าง และยอมรับความ คิดเห็นจากผู้อื่น มีทักษะในการสื่อสารให้เกิดประสิทธิผล มุ่งสู่การปฏิบัติงานให้บรรลุตามเป้าหมาย ภูมใิ จว่าเป็นหน่วยงานที่ทุกองค์กรต้องมี การปฏิบัติงานธุรการให้มีคุณภาพนั้น ผู้ปฏิบัติงานควรมีมีความรู้ความสามารถในการอ่าน การตีความและสรุปสาระสาคัญ มีความรู้ ความเข้าใจในโครงสร้าง ภาระงานและภารกิจของ สถานศึกษา รู้จักบทบาทภารกิจหน้าที่ของตนเองและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสถานศึกษา มีความสามารถในการจัดลาดับความสาคัญและความเร่งด่วนของงาน (เอกสาร) มีความสามารถ ในการจัดทาแผนการปฏิบัติงานและกาหนดงานในห้วงระยะเวลาต่างๆ ได้มีความรัก และศรัท ธา ในงานที่รับผิดชอบ ทางานอย่างเต็มใจ เต็มศักยภาพ และเต็มเวลาเป็นผู้รักษาระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด มีความรูแ้ ละสามารถใช้งานในระบบสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP 3.1 เพื่อพัฒนาระบบงานธุรการให้เป็นระบบและมีคุณภาพ 3.2 เพื่อให้สถานศึกษาสามารถดาเนินงานในภาพรวมได้อย่างคล่องตัว รวดเร็ว และทันต่อ เหตุการณ์ 3.3 เพื่อพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีให้เป็นปัจจุบัน ก้าวไกล ทันสมัย 3.4 เพื่อให้การบริการหน่วยงานด้านอื่นสามารถดาเนินงานไปได้โ ดยไม่มีอุป สรรคและ มีความพึงพอใจ 4. ระยะในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ระยะเวลาในการพัฒนาจะพัฒนาตลอดปีงบประมาณ ดาเนินการต่อเนื่องทุกปีงบประมาณ โดยมีการปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องและพัฒนาตลอดเวลา ระหว่างปฏิบัติงานในโรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว ตาบลวังเย็น อาเภอเมือง สังกัดสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ/สถานศึกษา การบริหารงานธุรการนับได้ว่าเป็นบันไดขั้นแรกในการทางานของสถานศึกษาต่างๆ ในทุก ระดับที่ตอ้ งใช้การสื่อสารเป็นสื่อในการปฏิบัติงาน การติดต่อสื่อสารประกอบด้วย สาร ผู้ส่งสารและ ผูร้ ับสาร เจ้าหน้าที่ธุรการจะต้องเป็นสื่อในการนาสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสารเพื่อเข้าสู่กระบวนการ ปรับเปลี่ยนไปสู่การทางาน ตามภารกิจต่อไป เจ้าหน้าที่ธุรการต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ได้อย่างดีและมีคุณภาพ ทั้งนี้การปฏิบัติงานของสถานศึกษาต่างๆ ย่อม ต้องอาศัยการทางานของเจ้าหน้าที่ธุรการเป็นสาคัญ ดังจะเห็นได้จากมีการกาหนดให้มีงานธุรการ ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ในทุกสถานศึกษา ดังนั้นงานธุรการจึงเปรียบเสมือนกลไกที่สาคัญของสถานศึกษาที่จะขาดไปหรือไม่มี ไม่ได้ หากครูเปรียบเหมือนเรือจ้าง ธุรการก็เปรียบเหมือนไม้พาย ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP การพัฒนา BP ใช้หลักการในการปฏิบัติเป็นเลิศ ก่อเกิดผลงาน ด้วยหลักการของกิจกรรม ๕ ส เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้วยองค์ประกอบต่างๆ เช่น ความสะดวก สะอาด เป็น มาตรฐานเดีย วกัน สิ่ง เหล่า นี้จ ะนาไปสู่ก ารสร้า งนิสัย ความ มีระเบียบ นิสัยความ รับผิดชอบต่อตนเอง และนิสัยที่เอื้อให้การทางานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสิ่งสาคัญในการนา หลักการ ๕ ส มาใช้ในการพัฒนางาน ไม่ได้มุ่งพัฒนาระดับจากระดับใหญ่ไปสู่ระดับเล็ก แต่เป็นการ ปลู กฝังความเข้มแข็ งให้แก่ จุดเล็ กเพื่ อเกื้อหนุ น จุ ดใหญ่ หรื อเสริมสร้ างบุ คลากรให้มีคุ ณภาพเพื่ อ เกื้ อหนุนหน่ วยงาน และทฤษฎีก ารประสานงานในการประสานงานกั บ บุ คลากรของสถานศึก ษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชนโดยนาแนวคิดของ สมิต สัชฌุกร ดังนี้ ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการประสานงาน การประสานงาน หมายถึง การจัดระเบียบวิธีการทางาน เพื่อให้งานและเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างๆ ร่วมมือปฏิบัติงานเป็นน้าหนึ่งใจเดียว ไม่ทาให้งานซ้อนกัน ขัดแย้งกัน หรือเหลื่อมล้ากัน ทั้งนี้ เพื่อให้ งานดาเนินไปอย่างราบรื่น สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และนโยบายขององค์กรนั้นอย่างสมานฉันท์ และมีประสิทธิภาพ” องค์ประกอบของการประสานงาน ๑. ความร่ว มมือ จะต้องสร้างสัมพันธ์ภาพในการทางานร่วมกันของทุก ฝ่า ย โดยอาศัย ความเข้าใจ หรือการตกลงร่วมกัน มีการรวบรวมกาลังความคิด วิธีการ เทคนิค และระดมทรัพยากร สนับสนุนงานร่วมกัน เพื่อให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เต็มใจที่จะทางานร่วมกัน ๒. จังหวะเวลา จะต้องปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละคน ตามกาหนดเวลาที่ตกลงกันให้ตรงเวลา ๓. ความสอดคล้อง จะต้องพิจารณาความพอเหมาะพอดี ไม่ทางานซ้อนกัน ๔. ระบบการสื่อสาร จะต้องมีการสื่อสารที่เข้าใจตรงกันอย่างรวดเร็ว และราบรื่น ๕. ผู้ประสานงาน จะต้องสามารถดึงทุกฝ่ายเข้าร่วมทางาน เพื่อตรงไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน ตามที่กาหนดเป็นวัตถุประสงค์ของงาน

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

วัตถุประสงค์ของการประสานงาน การประสานงานเกิดจากความต้องการที่จะให้งาน หรือกิจกรรมย่อยๆ ที่จะทาให้ผลสาเร็จ โดยปฏิบัติอย่างสอดคล้องในจังหวะเวลาเดียวกัน ได้ผลงานที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่เป็นไปตาม ข้อกาหนด ดังนี้ ๑. เพื่อแจ้งให้ผู้ซึ่งมีสว่ นเกี่ยวข้องทราบ ๒. เพื่อรักษาไว้ซึ่งความสัมพันธ์อันดี ๓. เพื่อขอคายินยอมหรือความเห็นชอบ ๔. เพื่อขอความช่วยเหลือ ๕. เพื่อขจัดข้อขัดแย้งอันอาจมีขนึ้ วิธีการสร้างความร่วมมือ ๑. ชี้ให้เห็นประโยชน์ร่วมกัน ทาให้บุคคลที่เกี่ยวข้องมีความรู้สึกต่องานตรงกันด้วยการ รับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง และทาความเข้าใจถึงผลงานที่จะเป็นประโยชน์ร่วมกัน การชักจูง ให้เ ห็นถึง ประโยชน์ของส่ว นรวมอาจใช้ไ ม่ไ ด้กับ คนบางคน จึงต้องชี้ใ ห้เ ห็นถึงประโยชน์ท างอ้อ ม ที่ผเู้ กี่ยวข้องในการประสานงานจะได้รับด้วย ๒. ผู ก มิ ต รไมตรี ต่ อ กั น ทาให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านมี น้าใจที่ จ ะช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น ด้ ว ยวิ ธี ให้ผู้เกี่ยวข้องร่วมแสดงความคิดเห็นถึงปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไข เพื่อให้งานบรรลุผลสาเร็จ ให้จงได้และย้าให้เห็นว่าเป็นความสาเร็จร่วมกัน ๓. แนะน ากั น ท าให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น มี ค วามสามารถทั ด เที ย มกั น ด้ ว ยการ พิจารณาความสามารถของผู้ร่วมปฏิบัติในการประสานงาน ทั้งด้านความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถเฉพาะด้าน หรือความถนัดในงานและให้ข้อ แนะนาที่จ ะเป็น ทางทาให้ผู้เ กี่ย วข้อ ง มีความสามารถในระดับเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เพื่อจะได้ทางานไปด้วยกันได้ ๔. มีการสื่อสารที่ดี สร้างสภาวะคล้ายคลึงด้วยการร่วมกันคิด หากสามารถร่วมวางแผน ปฏิบัติการด้วยกันตั้งแต่ต้นก็จะช่วยให้มีกรอบแห่งการอ้างอิง (Frame of reference) ร่วมกันทางานอยู่ ในวงประสบการณ์ที่มสี ภาวะคล้ายคลึงกัน ๕. เพิ่มความใกล้ชิด ทาให้มีการพบปะหารือกันอยู่เสมอเพื่อให้ไว้วางใจกัน เพราะความใกล้ชิด จะช่ว ยให้เ ปลี่ย นความคิด เห็น และถ่า ยทอดความรู้สึก ถึง กัน ยิ่ง ใกล้ชิด กัน มากเท่า ไรก็จ ะเปิด ความเข้าใจและรู้จักคุ้นเคยกันมากขึ้น ถ้ามีความหวังดีต่อกัน มีเจตนาที่บริสุทธิ์และจริงใจก็จะเพิ่ม ความเชื่อถือไว้วางใจกันยิ่งขึน้

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ปัจจัยในการประสานงาน ปัจจัยที่จาเป็นต่อการประสานงานไม่ว่าจะเป็นองค์กร หรือหน่วยงานประเภทใด มีปัจจัย ที่สาคัญ ดังนี้ ๑. คน หมายถึง ผู้ซึ่งจะทาให้งานเป็นผลขึน้ มา การประสานงานที่แท้จริง คือการประสานคน ให้ร่วมใจ ร่วมก าลั งงานด้ วยการน า เอาความสามารถของคนมาท าให้เ กิ ดผลงานในจุ ดมุ่ง หมาย เดียวกัน ความสามารถของคนพิจารณาได้สองด้านคือ ทางด้านความรู้และด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น ผู้ประสานงานต้องมีความรู้ความสามารถและมองการไกล มีมนุษย์สัมพันธ์ดี มีทัศนคติที่ดีต่อกัน ผูร้ ่วมงานทุกฝ่ายเข้ากันได้ดี มีการพบปะหารือกันอยู่เสมอ ๒. เงิน หมายถึง ตัวเงินและสิ่งอื่นซึ่งสามารถใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนได้ ในการ ประสานงานจะต้องมีกาลังเงินสนับสนุนการปฏิบัติงาน ๓. วัสดุ หมายถึง สิ่งของเครื่องมือและเครื่องใช้ต่างๆ ในการประสานงานจะต้องมีวัสดุอุปกรณ์ ช่วยในการประสานงานอย่างพอเพียง ๔ วิธีก ารทางาน หมายถึง การบริห ารงานให้สามารถบรรลุผลสาเร็จตามจุด ประสงค์ ที่กาหนดเป็นเป้าหมายไว้ มีการกาหนดอานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบให้ชัดเจน มีการมอบหมาย งานและการควบคุมงาน การติดต่อสื่อสารที่ดี สิ่งที่ต้องประสาน การประสานงานนั้น มีความหลากหลายในเรื่องที่จะประสานกัน ซึ่งจะต้องพิจารณารูปแบบ ของการประสานงานให้ เ หมาะสมโดยทั่ ว ไปมี สิ่ ง ที่ ต้ อ งค านึ ง ถึ ง ในการประสานงานแต่ ล ะกรณี ดังต่อไปนี้ ๑. วั ต ถุ ป ระสงค์ การประสานงงานเพื่ อบรรลุ วัตถุ ป ระสงค์ต้อ งอาศัย ความร่ว มมือ และ จังหวะเวลาในการปฏิบัติจากผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย ๒. กระบวนการ การประสานงานในเรื่องที่มขี ั้นตอนการปฏิบัติอย่างเป็นกระบวนการจะต้อง กระทาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ซึ่งเป็นสิ่งที่จะต้องระมัดระวังอย่างยิ่ง เพราะงานที่มีวัตถุประสงค์ ดีแต่มกี ารปฏิบัติผิดขัน้ ตอนก็จะทาให้ไม่ได้รับผลตามต้องการ ๓. เจ้ า หน้ า ที่ กั บ เจ้ า หน้ า ที่ การประสานงานระหว่ า งคนต้ อ งค านึ ง ถึ ง ความเข้ า ใจและ ความรู้สึก ที่ดีต่อกัน จะต้องมีก ารยอมรับ ระหว่างกันเพื่อจะได้มีทัศนคติที่ดีต่อกัน ความร่ว มมือ ก็จะเกิดตามมา เจ้าหน้าที่ซึ่งรับผิดชอบในงานที่ต้องร่วมกันทาเป็นทีมก็จะต้องให้ความร่วมมือกัน โดยลักษณะของการทางานอยู่แล้ว แต่เจ้าหน้าที่ซึ่งอยู่ต่างหน่วยงานกันมักจะเข้าใจว่าอยู่ต่างทีมงานกัน ๔. หน่วยงานต่อหน่วยงาน การประสานงานระหว่างหน่วยงานต่อหน่วยงาน ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

๕. นโยบายกับวิธีปฏิบัติ นโยบายถูกกาหนดขึ้นโดยฝ่ายจัดการ หรือผู้บริหารสูงสุด การปฏิบัติ ด้วยวิธีการใดๆ จะต้องไม่ขัดกับนโยบายแม้จะให้ผลตรงตามวัตถุประสงค์ และบรรลุเป้าหมาย ๖. นโยบายกับ การปฏิบัติ มีก ารประสานนโยบาย ได้แก่ หลัก การที่กาหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อ ใช้เป็นกรอบหรือแนวทางปฏิบัติ ซึ่งจะต้องทาให้ผู้เกี่ยวข้องทุก ฝ่ายได้รับ รู้ มีความเข้าใจและ ปฏิบัติได้ถูกต้องตรงกัน เป็นการประสานนโยบายกับการปฏิบัติ ๗. การปฏิบัติกับการปฏิบัติ ในการประสานงานใดๆ จะมีการปฏิบัติหลายกิจกรรม ซึ่งแต่ ละกิจกรรมก็จะดาเนินไปในแนวทางที่จะให้เกิดประสิทธิผลอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด แต่ถ้า ไม่มีการประสานงานการปฏิบัติอาจจะไม่สอดคล้องกัน และไม่ถูก จังหวะเวลา เป็นผลให้งานโดย ส่วนรวมเสียหายได้ ผูเ้ กี่ยวข้องในการทางานร่วมกันควรมีส่งิ ที่จะยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติดังนี้ ๑. เต็มใจที่จะติดต่อกับผูอ้ ื่นก่อน ๒. แสดงความมีน้าใจต่อผู้อ่นื ก่อน สร้างสัมพันธ์ที่ดี มีความไว้วางใจกัน ๓. ฟังผู้อ่นื พูดให้มาก ๔. หลีกเลี่ยงการโต้แย้ง ๕. ซักซ้อมการทางานให้เข้าใจวัตถุประสงค์ตรงกัน ๖. ทาความเข้าใจขั้นตอนการปฏิบัติและจังหวะเวลาให้รับกัน ๗. เสริมสร้างมิตรไมตรี และความเป็นกันเอง ๘. ติดต่อตามสายงาน และช่องทางการสื่อสารที่ถูกต้อง 7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่ มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวน กลุ่มเป้าหมาย) ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว จานวน 8 คน

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) พัฒนางานธุรการด้วยกิจกรรม 5 ส สะสาง : ส (Seiri) การแยกเอกสารหรือสิ่งของที่ไม่จาเป็นต้องใช้ออกจากเอกสารหรือสิ่งของที่ต้องการใช้ สะดวก : ส 2 (Seition) การจัดวางของที่ต้องใช้ออกจากเอสารหรือสิ่งของที่ตอ้ งการใช้ สะอาด : ส 3 (Seiso) การทาความสะอาดบริเวณต่างๆ ที่ตนเองรับผิดชอบไม่ให้สกปรก สุขนิสัย : ส 4 (Seikesu) การจัดวางของที่ต้องใช้งานให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อความสะดวกแก่การใช้งานมากที่สุด โดยพิจารณาถึงคุณภาพ ประสิทธิภาพ ความประหยัด และความปลอดภัย สร้างนิสัย : ส 5 (Shisuke) การกระตุน้ และติดตามให้บุคลากรปฏิบัติตามวิธีการของ 4 ส ข้างต้นอย่างต่อเนื่อง และเคร่งครัดจนกลายเป็นนิสัย และเป็นชีวติ ประจาวันในการทางาน 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) วิธีการ ตรวจสอบคุณภาพ BP ใช้แบบประเมินผลกิจกรรม 5 ส. แบบสอบถาม แบบสังเกต สัมภาษณ์ แบบสารวจความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่นา BP ไปใช้ นาผลการประเมิน ที่ได้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ ปรับปรุง และพัฒนางานธุรการให้ดียิ่งขึน้ ต่อไป ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ไ ด้ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรีย น ลุ่มโป่งเสีย้ ว มีความพึงพอใจในการพัฒนางานธุรการด้วยหลักการของกิจกรรม 5 ส เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

๑๐

7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนางานธุรการให้เป็นระบบและมีคุณภาพ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ ให้เป็นปัจจุบัน พัฒนาสานักงานให้ทันสมัย วัสดุอุปกรณ์พร้อมใช้ พัฒนาการบริหารจัดการเพื่อให้ การสื่อสารหรือการประสานงานระหว่างบุคลากรในสถานศึกษามีความเข้าใจที่ตรงกัน รวมถึงการ ติด ต่อประสานงานกั บ สถานศึก ษาภายนอก สถานศึก ษาสามารถดาเนินงานในภาพรวมได้อย่าง คล่องตัว รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ สามารถดาเนินงานต่างๆ ได้อย่างราบรื่นและสาเร็จ 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว ได้รับความสะดวกรวดเร็ว ของการติดต่อประสานงานทาให้สามารถติดต่องานที่สาคัญๆ ได้อย่างดียิ่ง 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ครูและบุคลากรทางการศึกษา และหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมีความพึงพอใจ ในการรับบริการของงานธุรการโรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว คิดเป็นร้อยละ 80 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้เกี่ยวข้อง และวิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) จากการสั งเกตการดาเนินงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึก ษาของ โรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว จากผลการตอบรับความพึงพอใจและผลการติดต่อประสานงานจากหน่วยงาน ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจ 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ครูและบุคลากรทางการศึกษา และหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมีความพึงพอใจ ในการรับบริการ 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา ปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP นาไปทดลองใช้กับโรงเรียนใกล้เคียงในเครือข่ายหรือหน่วยงานอื่นเพื่อตรวจสอบปัญหา หาสาเหตุขอ้ บกพร่องแต่ละขัน้ ตอนแล้วนามาปรับปรุงแก้ไข และหารูปแบบใหม่ๆ ที่น่าสนใจมาพัฒนา งานธุรการให้ดียิ่งขึน้ ต่อไป ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

๑๑

9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP ผลจากการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP บรรลุตามวัตถุประสงค์ของ การปฏิบัติเป็นเลิศ ก่อเกิดผลงาน และนาข้อบกพร่องมาแก้ไขเพื่อพัฒนาต่อไป 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง (ระบุวัน เวลา และรูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) เผยแพร่กิจกรรมผลงาน/ และวารสาร ให้โรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา วังเย็น อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี และชุมชน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนางานธุรการ

ลงชื่อ วรวิทย์ อัคราภิชาต ผูข้ อรับการประเมิน (นายวรวิทย์ อัคราภิชาต) ตาแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการโรงเรียนลุ่มโป่งเสี้ยว

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ภาคผนวก

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

เพื ่อ พัฒ นาระบบงานธุร การให้ม ีป ระสิท ธิภ าพ ช่ว ยปฏิบ ัต ิง าน ธุ รการแทนครูใ ห้ค รู ไ ด้ ก ลั บ ไปท าหน้าที่ ส อนหนัง สือ อย่ างเต็ม ที่ สามารถ จัด การงานธุร การได้อ ย่า งเป็น ระบบและมีคุณ ภาพ เพื่อ ให้ก ารสื่อ สาร หรื อ การประสานงานระหว่ า งบุ ค ลากรในสถานศึ ก ษามี ค วามเข้ า ใจ ที่ต รงกัน รวมถึง การติด ต่อ ประสานงานกับ สถานศึก ษาภายนอก สถานศึก ษาสามารถด าเนิน งานในภาพรวมได้อ ย่า งคล่อ งตัว รวดเร็ว และทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ สามารถด าเนิ น งานต่ า งๆได้ อ ย่ า งราบรื ่ น และ สาเร็จและมีประสิทธิภาพ

มุ่ ง สร้ า งมาต รฐานงานด้ านเอกสาร ที่ ถู ก ต้ อ งเป็ น ม า ต ร ฐ า น จั ด ส ร้ า ง ร ะ บ บ ก า ร จั ด เ ก็ บ สื บ ค้ น ที่ ส ะ ด ว ก รวดเร็ ว คล่ อ งตั ว โดยส่ ง เสริ ม และมุ่ ง เน้ น การน าเทคโนโลยี สารสนเทศมาสนั บ สนุ น และพั ฒ นาระบบการปฏิ บั ติ ง านให้ เ กิ ด ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุด


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ผลที่เกิดกับตนเอง สามารถปฏิบัติงานได้สาเร็จลุล่วง และมีประสิทธิภาพ บริหารจัดการงาน เอกสารได้อย่างเป็นปัจจุบัน และเป็นระบบ พัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอและ ต่อเนื่อง การศึกษาหาความรูจ้ ากผู้อ่นื และการเรียนรูด้ ้วยตนเอง ผลที่เกิดกับสถานศึกษา โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนอย่างมีระบบ ง่ายต่อการปฏิบัติงาน มี ค วามโดดเด่ น ในด้ า นงานสารบรรณมี ค วามแข็ ง แกร่ ง ด้ า นบุ ค ลากร (เจ้าหน้าที่ธุรการ) ที่ช่วยแบ่งเบาภาระให้โรงเรียนอย่างเต็มความสามารถ มีการ พัฒนาด้านอินเตอร์เน็ต มีระบบสารสนเทศอย่างยั่งยืนและเป็นปัจจุบัน ง่าย ต่อการใช้ ผลที่เกิดกับชุมชน สร้างความเข้าใจสัมพันธ์อันดีต่อชุมชน และหน่วยงานภายนอก สามารถ ติดต่อสอบถามราชการได้โดยง่าย โดยมีจุดศูนย์รวมข้อมูลอยู่ที่ธุรการ ชุมชนให้ ความร่วมมือร่วมใจในกิจกรรมของโรงเรียนมากขึ้น จากข้อมูลข่าวสารที่ชัดเจน และมี ป ระโยชน์ ผู้ ป กครอง ชุ ม ชน มี ค วามพึ ง พอใจที่ ไ ด้ รั -บบริ ก ารจาก

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


ผลงานการปฏิบตั ทิ เี่ ป็นเลิศ (BEST PRACTICE)

ลูกจ้างในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.