BEST PRACTICE สถานศึกษายอดเยี่ยม โรงเรียนขยายโอกาส ด้าน : วิชาการยอดเยี่ยม ยกระดับ ผล O-NET ด้วยทฤษฎีการเรียนรู้ ตามกระบวนการ PDCA ของ
โรงเรียนบ้านพุเลียบ
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คานา รายงานฉบับนี้ เป็น BEST PRACTICE ยกระดับผล O - NET ด้วยทฤษฎีการเรียนรู้ ตาม กระบวนการ PDCA เพื่อรับรางวัลสถานศึกษายอดเยี่ยม ประเภท โรงเรียนขยายโอกาส ด้าน : วิชาการยอด เยี่ยม โดยจัดทาในรูปเอกสาร ซึ่ง โรงเรียนได้พัฒนานักเรียน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ของคะแนน O – NET ด้วยทฤษฎีการเรียนรู้ ทั้ง 4 ทฤษฎี ทาให้นักเรียนมี คะแนน O – NET ที่สูงขึ้น ตามจุดประสงค์ที่ตงั้ ไว้ ขอขอบคุณ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนบ้านพุเลียบทุกท่าน ที่ให้ความอนุเคราะห์ ข้อมูลในการจัดทารายงานฉบับนี้ได้เป็นอย่างดี
โรงเรี ยนบ้ านพุเลียบ
1. ชื่อผลงาน BEST PRACTICE ยกระดับ ผล O-NET ด้วยทฤษฎีการเรียนรู้ ตามกระบวนการ PDCA ด้าน วิชาการ 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BEST PRACTICE 2.1 ชื่อผู้พัฒนา โรงเรียนบ้านพุเลียบ 2.2 โทรศัพท์ 034 - 510709 , 089 - 2550414
E-mail Supines@hotmail.com
3. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP 1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ให้สูงขึ้น 2. เพื่อพัฒนานักเรียนให้มที ักษะทีจ่ าเป็นตามหลักสูตร 4. ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มต้นพัฒนา ปีการศึกษา 2555 ( ธันวาคม 2555 ) ถึง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 5. ความเชื่อมโยง / ความสัมพันธ์ BP กับเป้าหมาย / จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. / กลยุทธ์โรงเรียน จุดเน้นของ สพป. / สพฐ. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ยุทธศาสตร์ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตาม หลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตาม เขต 1 หลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ โรงเรียนบ้านพุเลียบ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา ใช้แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่สนับสนุนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ดังนี้
1
1. ทฤษฏีการสร้างความรู้ (Constructivism Theory) 2. ทฤษฏีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory ) 3. ทฤษฏีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) 4. ทฤษฏีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative Learning) 1. ทฤษฎีการสร้างความรู้ (Constructivism Theory)
2
2. ทฤษฏีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory )
3. ทฤษฏีพหุปัญญา (Howard Gardner)
3
แผนภาพปัญหาทั้ง 8 ด้าน ตามทฤษฎีพหุปัญญาของการ์ดเนอร์ (Spencer,1998) 4. ทฤษฏีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Slavin, Johnson&Johnson) การเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่งมีลักษณะสาคัญ 5 ประการ 1. มีการพึ่งพาอาศัยกัน (positive interdependence) 2. มีการปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิด (face-to-face-promotive interaction) 3. สมาชิกแต่ละคนมีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบทีส่ ามารถตรวจสอบได้ (individual accountability) 4. มีการใช้ทักษะการสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และทักษะการทางานกลุม่ (interpersonal and small group skills) 5. มีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (group processing) ลักษณะสาคัญของกระบวนการเรียนรู้ 1. การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญา หรือกระบวนการทางสมอง (a cognitive process) 2. การเรียนรู้เป็นงานเฉพาะตนหรือเป็นประสบการณ์ส่วนตัว (personal experience) 3. การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสังคม (a social process ) 4. การเรียนรู้เป็นกระบวนการทีเ่ กิดขึ้นได้ทั้งจากการคิดและการกระทารวมทั้งการแก้ปัญหา และ การศึกษาวิจัยต่างๆ (thinking process) 5. การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ตื่นตัว สนุก (active and enjoyable) 6. การเรียนรู้อาศัยสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสม (nurturing environment) 7. การเรียนรู้เป็นกระบวนการทีเ่ กิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ (anytime and anyplace) 8. การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลง (change) 9. การเรียนรู้เป็นกระบวนการต่อเนือ่ งตลอดชีวิต (a lifelong process)
4
หลักการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ได้ส่งเสริมให้ผู้เรียน ดังนี้ 1. สร้างความรู้ด้วยตนเอง (construction) ด้วยการใช้กระบวนการเรียนรู้ (learning process) 2. มีส่วนร่วม (participation) อย่างตื่นตัว (active) 3. มีปฏิสัมพันธ์ (interaction) และร่วมมือ ร่วมใจ (co-operation) ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (share and learning) 4. ทากิจกรรมเพื่อพัฒนาทัง้ สมองซีกซ้ายและขวา หรือพัฒนาพหุปญ ั ญา (multiple intelligences) 5. นาความรู้ไปใช้ และประยุกต์ใช้ (application) 7. กระบวนการพัฒนา 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BEST PRACTICE ไปใช้ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านพุเลียบ จานวน 19 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา
ผู้บริหาร และ หัวหน้างาน 4 ฝ่าย ประชุมร่วมกัน
กาหนดโครงการเพื่อพัฒนาความรู้ตามหลักสูตร 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
แจ้งจุดประสงค์ของโครงการให้ครูทุกคนทราบ
ครูผสู้ อนแต่ละกลุม่ สาระ สอนนักเรียนตามตัวชี้วัด
ทาตาราง ติว O-NET / ครูผู้สอน ติว ด้วยข้อสอบ O-NET 5
ผู้บริหาร และ วิชาการโรงเรียน นิเทศ ติดตาม
นักเรียนสอบ O-NET ด้วยข้อสอบของ สทศ. ตามเวลาทีก่ าหนด
ผลการสอบระดับชาติ
วิเคราะห์ผลการสอบ 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BEST PRACTICE 1. ผู้บริหาร และวิชาการ นิเทศ ติดตาม การสอนของครู 2. ผลการสอบ O-NET 3. ประเมินความพึงพอใจ ของผูเ้ กี่ยวข้อง นักเรียน ครูและผู้ปกครอง 7.4 แนวทางการนา BEST PRACTICE ไปใช้ประโยชน์ เมื่อจัดกิจกรรม BEST PRACTICE นี้ ทาให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการสอบ O-NET สูงขึ้น จึงได้นาวิธีการ ไปใช้กับนักเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษาต่อไป 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BEST PRACTICE 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ผลการสอบ O-NET ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 เมื่อเปรียบเทียบ กับ ผลการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2556 มีผลเฉลี่ย 8 กลุ่มสาระที่สงู ขึ้น ทุกกลุ่มสาระ เมื่อเปรียบเทียบ ในระดับ เขตพื้นที่ มีผลการสอบ เฉลี่ย 8 กลุ่มสาระ ทีส่ ูงขึ้น จากปีการศึกษา 2556 และเมือ่ เปรียบเทียบกับระดับประเทศ มีผลการสอบรวมเฉลี่ยทุกกลุ่มสาระ สูงกว่าระดับประเทศ 6
8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียน ได้พัฒนาความรู้ และทักษะ ตามคุณภาพผู้เรียนของหลักสูตร 8.3 ความพึงพอใจของผูเ้ กี่ยวข้อง 1. นักเรียนมีความพึงพอใจ กับ การติว O-NET ในระดับ มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 98.45 2. ผู้บริหาร และครูในโรงเรียน มีความพึงพอใจ กับ การติว O-NET ในระดับ มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 98.45 3. ผู้ปกครอง มีความพึงพอใจ กับ การติว O-NET ในระดับ มากทีส่ ุด คิดเป็น ร้อยละ 98.45 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา / ประสบการณ์เรียนรู้จากการปฏิบัติ 1. ครูผู้สอนมีทักษะการสอน และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนเข้าใจได้เป็นอย่างดี 2. นักเรียน มีความรู้ มีทกั ษะ การคิดวิเคราะห์ ที่หลากหลาย ทุกกลุ่มประสบการณ์ 3. ผู้บริหารโรงเรียน ให้การสนับสนุนกิจกรรม ครูทุกคนมีส่วนร่วมในการให้กาลังใจ 4. ผู้ปกครองให้ความร่วมมือ ในการสนับสนุน การเรียนของบุตร หลาน 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า ในปีการศึกษา 2558 ผู้บริหารโรงเรียน ได้ร่วมกับวิชาการโรงเรียน พิจารณาจัดตารางสอน เพื่อ ติว และยกระดับ O-NET ในวิชาหลัก 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และประชุมชี้แจงครู เพื่อร่วมกัน พัฒนาการเรียนการสอน นักเรียน 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง จากการใช้เทคนิค วิธีการสอน โดยจัดตารางสอนพิเศษ เพื่อยกระดับ O-NET ซึ่งทาให้ ผล การเรียน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 สูงกว่าปีการศึกษา 2557
7
10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จ และการเผยแพร่ 1. ประกาศผลการสอบ O-NET ให้นักเรียนทราบทั้งโรงเรียน 2. ประกาศ ประชาสัมพันธ์ ผลการสอบ O-NET ให้ผู้ปกครองนักเรียนทราบทุกคน อย่างทั่วถึง 3. ติดป้าย ประชาสัมพันธ์ ให้ผเู้ กี่ยวข้อง และผู้มาติดต่อกับทางโรงเรียน ทราบ 4. นาข้อมูลการสอบ ลงประชาสัมพันธ์ วารสารพุเลียบ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 แจกให้ผู้ปกครองทุก ครอบครัว และแจกให้ผู้เกี่ยวข้อง ตารางเปรียบเทียบผลการสอบ O-NET ปี 2556 – 2557
8
วารสารประชาสัมพันธ์
9
10
11
12