Best Practice นางสุจรรยา ประยูรมหิศร ครู ร.ร.วัดหนองเสือ

Page 1


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

คํานํา เอกสารเล ม นี้ จั ด ทํ า ขึ้ น เพื่ อ เสนอผลงานการปฏิ บั ติ ที่ เ ป น เลิ ศ ( Best Practice:BP) เรื่ อ ง "บริหารจัดการเรียนรู สรรคสรางผลงานคณิตศาสตร” กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ซึ่ง ผูร ายงานไดเสนอขอมูล ผลงานจากการปฏิ บัติห นาที่ สําหรับ ใชประกอบการพิจ ารณาของ คณะกรรมการ มีการนําเสนอขอมูลครอบคลุมตามหลักหลักเกณฑและวิธีการ ตอนที่ ๑ ประวัตสิ วนตัว ตอนที่ ๒ แบบสรุปผลงานการปฏิบัตทิ ี่เปนเลิศ Best Practice( BP ) ตอนที่ ๓ ความคิดเห็นของผูบังคับบัญชาชั้นตน ขอขอบคุณ นายปญญา เที่ยงธรรม ผูอํานวยการโรงเรียนวัดหนองเสือ คณะครู นักเรียน โรงเรียนวัดหนองเสือที่ใหความชวยเหลือ ใหคําปรึกษา แนะนําในการปฏิบัติงาน ขอขอบคุณทุกทาน ที่ใหการสนับสนุน ใหกําลังใจและใหความรวมมือในการปฏิบัติงานดวยดีตลอดมาจึงขอขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้

สุจรรยา ประยูรมหิศร

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

ตอนที่ ๑ ประวัตสิ วนตัวเพื่อเสนอผลงานขอรับรางวัล “ ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศ Best Practice(BP) ” ประวัติสวนตัว ๑. ชื่อ นางสุจรรยา นามสกุล ประยูรมหิศร ๒. เกิดวันที่ ๒๓ เดือน ตุลาคม พ .ศ.๒๕๑๕ อายุ ๔๒ ป ๓. ตําแหนงหนาที่ในปจจุบัน ครู วิทยฐานะ ชํานาญการพิเศษ สถานที่ทํางาน โรงเรียนวัดหนองเสือ ตั้งอยูเลขที่ ๙ ตําบลวังศาลา อําเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี รหัสไปรษณีย ๗๑๑๑๐ โทรศัพท ๐๓๔-๖๔๗๓๓๑ โทรสาร ๐๓๔-๖๔๗๓๓๑ ๔. ที่อยูปจจุบนั เลขที่ ๑๖๐/๒ ตําบล วังขนาย อําเภอ ทามวง จังหวัด กาญจนบุรี รหัสไปรษณีย ๗๑๑๑๐ โทรศัพท ๐๘๖-๑๖๐๒๖๐๘ ๕. ประวัติการศึกษา วุฒิการศึกษา ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก

ปที่สําเร็จการศึกษา ๒๕๓๘ -

สถาบัน สถาบันราชภัฎกาญจนบุรี -

๖.ประวัตกิ ารทํางานตัง้ แตเริ่มปฏิบัตงิ านจนถึงปจจุบัน วัน เดือน ป ๘ ม.ค.๓๘ ๑ต.ค.๔๑ ๑ มี.ค.๔๖

ตําแหนง อาจารย ๑ อาจารย ๑ อาจารย ๑

๑ต.ค.๔๖

อาจารย ๑

๑ เม.ย.๔๗

อาจารย ๒

สถานที่ทํางาน

ร.ร.บานทุงกระบ่ําสปอ.เลาขวัญ ร.ร.บานทุงกระบ่ําสปอ.เลาขวัญ ร.ร.จํารูญเนติศาสตรสปอ.ทามวง ร.ร.จํารูญเนติศาสตรสพท.กจ.๑ ร.ร.จํารูญเนติศาสตรสพท.กจ.๑

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๖.ประวัตกิ ารทํางานตัง้ แตเริ่มปฏิบัตงิ านจนถึงปจจุบัน(ตอ) วัน เดือน ป ๒๔ธ .ค.๔๗

ตําแหนง ครู

๒๕ ต.ค.๔๘

ครู

๑ เม.ย.๔๙

ครู /ชํานาญการ

๓๐ ก.ย. ๕๓

ครู /ชํานาญการพิเศษ

๓๐ ก.ย. ๕๔

ครู /ชํานาญการพิเศษ

๓๐ ก.ย. ๕๕

ครู /ชํานาญการพิเศษ

๓๐ ก.ย. ๕๖

ครู /ชํานาญการพิเศษ

๓๐ ก.ย. ๕๗

ครู /ชํานาญการพิเศษ

สถานที่ทํางาน ร.ร.จํารูญเนติศาสตรสพท.กจ.๑

ร.ร.วัดหนองเสือ สพท.กจ. เขต ๑ ร.ร.วัดหนองเสือ สพท.กจ. เขต ๑ ร.ร.วัดหนองเสือ สพป.กจ. เขต ๑ ร.ร.วัดหนองเสือ สพป.กจ. เขต ๑ ร.ร.วัดหนองเสือ สพป.กจ. เขต ๑ ร.ร.วัดหนองเสือ สพป.กจ. เขต ๑ ร.ร.วัดหนองเสือ สพป.กจ. เขต ๑

๗. รวมระยะเวลาปฏิบัตงิ าน ๑๙ ป ๙ เดือน ๘. รวมปฏิบัติงานในพื้นที่ที่ขอรับรางวัล ๘ ป ๑๐ เดือน

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

ตอนที่ ๒ แบบสรุปผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศ Best Practice (BP) ๑. ชื่อผลงาน BP “ บริหารจัดการเรียนรู สรรคสรางผลงานคณิตศาสตร ” กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ดานบริหารจัดการศึกษา ๒. ขอมูลทั่วไปของผูพัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผูพัฒนาBP นางสุจรรยา ประยูรมหิศร ๒.๒ โรงเรียนวัดหนองเสือ สํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๒.๓ โทรศัพท ๐๘๖-๑๖๐๒๖๐๘ e-mail : ppra๑๓@gmail.com ๓. เปาหมาย / วัตถุประสงคของการพัฒนา BP ๓.๑ เพื่อบริหารจัดการเรียนรู สรรคสรางผลงานคณิตศาสตร พัฒนาความสามารถดาน คณิตศาสตรของนักเรียน ๓.๒ เพื่อปลูกฝงใหนกั เรียนมีเจตคติที่ดตี อการเรียนคณิตศาสตร ๔.ระยะในการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนาตลอดปการศึกษา ดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยปรับและพัฒนา ตลอดเวลา ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธระหวาง BP กับเปาหมาย/จุดเนนของ สพป./สพฐ/สถานศึกษา การจัดการศึกษาตามแนวทางพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ได กําหนดใหจัด การศึกษาที่มุง เนน ความสําคัญทั้ง ดานความรู ความคิด และกระบวนการเรียนรู สง เสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติแ ละเต็มศัก ยภาพ อัน จะเห็น ไดจ ากการปฏิรูป หลักสูตรการศึกษาจากหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓) มาเปน หลัก สู ต รการศึก ษาขั้น พื้ น ฐาน พุทธศัก ราช ๒๕๔๔ และหลัก สูต รแกนกลางการศึก ษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซึ่งมีการกําหนดสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ใหอยูในกลุมแรกที่ สถานศึกษาตองใชเปนหลักในการจัดการเรียนการสอนเพื่อสรางพื้นฐานการคิดและเปนกลยุทธใน การแกปญหาและวิกฤตของชาติ โดยกําหนดสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๖ สาระ ประกอบดวย จํานวนและการดําเนินการ การวัด เรขาคณิต พีชคณิต การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปนและ ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร จุดเนนของ สพฐ.นักเรียนระดับกอนประถมศึกษามีพัฒนาการที่เหมาะสมตามชวงวัยและได สมดุลและ นักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุก คน มีพัฒนาการเหมาะสมตามชวงวัยและมี คุณภาพ จุดเนน ของ สพป. เพิ่มศัก ยภาพนักเรียนในดานภาษา คณิต ศาสตร วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาสูความเปนหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จุดเนนสถานศึกษา ผูเรียนทุกคนไดรับการศึกษาและการพัฒนาใหมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค มีคุณภาพ ตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน และการศึกษาปฐมวัยเต็มตามศักยภาพ จากจุดเนนดังกลาวสงผลใหการจัดการเรียนการสอน ครูจะตองใหความสําคัญกับนักเรียน คํานึงถึงความตองการของนักเรียนและพยายามสอนโดยใหนักเรียนมีสวนรวมในการแกปญหาตางๆ และไดทํากิจกรรมรวมกัน สงเสริมใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง เรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ไดรับการพัฒนาเหมาะสมตามชวงวัยและมีคุณภาพ เพิ่มศักยภาพนักเรียน การศึกษานับวาเปนรากฐานที่สําคัญที่สุดประการหนึ่ง ในการสรางความเจริญกาวหนาและ แกไขปญหาตางๆ ใหสังคม เนื่องจากการศึกษาเปนกระบวนการที่ชวยใหคนไดพัฒนาตนเองในดานตางๆ ดังนั้นการเรียนรูคณิตศาสตรจึงมีบทบาทสําคัญยิ่งตอการพัฒนาความคิดมนุษย ทําใหมีความคิด สรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบมีแบบแผนสามารถวิเคราะหปญหาหรือสถานการณไ ด อยางถี่ถวน รอบคอบชวยใหคาดการณวางแผนตัดสินใจแกปญหาและนําไปใชในชีวิตประจําวันได อยางถูกตองเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตรยังเปนเครื่องมือในการศึกษาทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและศาสตรอื่น ๆ คณิตศาสตรจึงมีประโยชนตอการดําเนินชีวิตชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตให ดีขึ้นและสามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นํามาใชในการพัฒนา BP ความหมายของการบริหารจัดการชั้นเรียน นักศึกษาหลายทานไดกําหนดความหมายของการจัดการชั้นเรียนไปในแนวเดียวกัน ดัง นี้ Moore (๒๐๐๑การบริหารจัดการชั้นเรียนเปนกระบวนการของการ ใหคําจํากัดความวา ( จัดระบบระเบียบ และนํากิจการของหองเรียนใหเกิดการเรียนรู การบริหารจัดการชั้นเรียนมักจะถูก รับรูวาเกี่ยวของกับการรักษาระเบียบวินัยและควบคุมชั้นอยางไรก็ตาม การเขาใจเชนนี้ เปนเรื่องงาย เกินไป ทั้งนี้เพราะ การบริหารจัดการชั้นเรียนมีหลายสิ่ง ที่มากไปกวานี้นั่นคือ การสรางและดูแลเอา ใจใสบรรยากาศแวดลอมของหองเรียนเพื่อใหการจัดการเรียนรูบรรลุตามเปาหมายทางการศึกษา โบรฟ Jere Brophy, (๑๙๙๖:๕)กลาวถึงการจัดการชั้นเรียนไววา หมายถึง การที่ครูสราง งแวดลอมในการเรียนรูที่นําไปสูการจัดการเรียนการสอนที่ประสบความสําเร็จทั้งในและคงสภาพสิ่ ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

ดานสิ่ง แวดลอมการสรางกฎระเบียบและการดําเนิน การที่ทําใหบทเรียนมีความนาสนใจอยาง ตอเนื่องรวมทั้งการมีสวนรวมในกิจกรรมทางวิชาการในชั้นเรียน เบอรเดน Paul Burden, (๑๙๙๓ :๓)ใหคําจํ ากัด ความของการจัด ชั้น เรียนไว วา เป น ยุทธศาสตรและการปฏิบัติที่ครูใชเพื่อคงสภาพความเปนระเบียบเรียบรอย สุรางค โควตระกูล (๒๕๔๘ : ๔๓๖) ไดอธิบายความหมายของการจัดการหองเรียนอยางมี ประสิทธิภาพ วา หมายภึงการสรางละการรักษาสิ่งแวดลอมของหองเรียนเพื่อเอื้อตอการเรียนรูของ นักเรียน หรือ หมายถึงกิจกรรมทุกอยางที่ครูทําเพื่อจะชวยใหการสอนมีประสิทธิภาพและนักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรูตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว เปาหมายของการบริหารจัดการชั้นเรียน เปนชวยใหนักเรียนพัฒนาในการควบคุมตนเองเพื่อใหมีชีวิตและทํางานรวมกับผูอื่นในสังคม อยางมีความสุข ความสัมพันธระหวางการบริหารจัดการชั้นเรียนและการเรียนการสอน การบริหารจัดการชั้นเรียน หมายถึง การจัดสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกหองเรียน เพื่อสนับสนุนใหเด็กเกิดการเรียนรูอยางมีความสุขการจัดสภาพแวดลอมจะตองคํานึงถึงสิง่ ตอไปนี้ ๑. ความสะอาด ความปลอดภัย ๒. ความมีอิสระอยางมีขอบเขตในการเลน ๓. ความสะดวกในการทํากิจกรรม ๔. ความพรอมของอาคารสถานที่ เชน หองเรียน หองน้าํ หองสวม สนามเด็กเลน ฯลฯ ๕. ความเพียงพอเหมาะสมในเรื่องขนาด น้ําหนัก จํานวน สีของสื่อและเครื่องเลน ๖. บรรยากาศในการเรียนรู การจัดที่เลนและมุมประสบการณตางๆ หลักการบริหารจัดชั้นเรียน เนื่องจากชั้นเรียนมีความสําคัญ เปรียบเสมือนบานที่สองของนักเรียน นักเรียนจะใชเวลา สวนใหญอยูในชั้นเรียนประมาณวันละ ๕-๖ ชั่วโมง บรรยากาศในชั้นเรียนจึงเปนสวนหนึ่งที่สงเสริม ใหนักเรียนเกิด ความสนใจและเกิดแรงจูงใจในการเรียนรูเพิ่มมากขึ้น การสรางบรรยากาศที่อบอุน ครูใหความเอื้ออาทรตอนักเรียน นัก เรียนกับนักเรียนมีความสัมพันธฉันทมิตรตอกันมีระเบียบ มี ความสะอาด สิ่งเหลานี้เปนบรรยากาศที่นักเรียนตองการ ทําใหมีความสุขที่ไดมาโรงเรียนและเรียน รวมกับเพื่อนๆ จึงควรคํานึงถึงหลักการจัดชั้นเรียน ดังตอไปนี้ ๑. การจัดชั้นเรียนควรใหยืดหยุนไดตามความเหมาะสม ชั้นเรียนควรเปนหองใหญหรือกวาง เพื่อสะดวกในการโยกยายโตะเกาอี้ จัดเปนรูปตางๆ เพื่อประโยชนในการเรียนการสอน ถาเปนหอง เล็ก ๆ หลาย ๆ หองติดกัน ควรทําฝาเลื่อน เพื่อเหมาะแกการทําใหหองกวางขึ้น ๒. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสรางเสริมความรูทุกดาน โดยจัดอุปกรณในการทํากิจกรรมหรือ ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

หนังสืออานประกอบที่หนาสนใจไวตามมุมหอง เพื่อนักเรียนจะไดคนควาทํากิจกรรมควรติด อุปกรณรูปภาพและผลงานไว เพื่อใหเกิดการเรียนรู ๓. ควรจัดชั้นเรียนใหมีสภาพแวดลอมที่ดี ไดแก สภาพแวดลอมทางกาย สติปญญา อารมณ และสั ง คม ซึ่ ง มี อิท ธิ ผ ลต อความเป น อยู แ ละการเรีย นของนัก เรี ย นเป น อั น มาก ครู มีส ว นช ว ย เสริมสรางสภาพแวดลอมใหดีได เชน ใหนักเรียนจัดหรือติดอุปกรณใหมีสีสวยงาม จัดกระถางตนไม ประดับชั้นเรียน จัดที่วางของชั้นเรียนใหนักเรียนทํากิจกรรม คอยใหคําแนะนําในการอานหนังสือ คนควาแกปญหา และครูควรสรางบรรยากาศในชั้นเรียน ไมใ หเครียด เปนกันเองกับนัก เรียน ให นักเรียนรูสึกมีความปลอดภัย สะดวกสบายเหมือนอยูที่บาน ๔. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อเสริมสรางลักษณะนิสัยที่ดีงาม ชั้นเรียนจะนาอยูก็ตรงที่นักเรียนรูจัก รักษาความสะอาด ตั้งแตพื้นชั้นเรียน โตะมานั่ง ขอบประตูหนาตาง ขอบกระดานชอลก แปลงลบ กระดาน ฝาผนังเพดาน ซอกมุมของหอง ถังขยะตองลางทุกวัน เพื่อไมใหมีกลิ่นเหม็น และบริเวณ ที่ตั้งถังขยะจะตองดูแลเปนพิเศษ เพราะเปนแหลงบอเกิดเชื้อโรค ๕. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสรางความเปนระเบียบ ทุกอยางจัดใหเปนระเบียบทั่งอุปกรณของใช ตางๆ เชนการจัดโตะ ชั้นวางของและหนังสือ แมแตการใชสิ่งของก็ใหนักเรียนไดรูจักหยิบใช เก็บในที่ เดิม จะใหนักเรียนเคยชินกับความเปนระเบียบ ๖. ควรจัดชั้นเรียนเพื่อสรางเสริมประชาธิปไตย โดยครูอาจจัดดังนี้ ๖.๑ จัดใหนักเรียนเขากลุมทํางาน โดยใหมีการหมุนเวียนกลุมกันไป เพื่อใหไดฝก การทํางานรวมกับผูอื่น ๖.๒ จัดที่นั่งของนักเรียนใหสลับที่กันเสมอ เพื่อใหทุกคนไดมีสิทธิที่จะนั่งในจุดตางๆ ของหองเรียน ๖.๓ จัด โอกาสใหนัก เรียนไดห มุนเวียนกัน เปน ผูนํากลุม เพื่อฝก การเปนผูนําและผู ตามที่ดี ๗. ควรจัดชั้นเรียนใหเอื้อตอหลักสูตร หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับปจจุบันเนน การจัดการเรียนการสอนโดยใหผูเรียนเปนศูนยกลาง และใหใชกระบวนการสอนตางๆ ดังนั้นครูจึง ควรจัดสภาพหองใหเอื้ออํานวยตอการเรียนรู เชน การจัดที่นั่งในรูปแบบตางๆ อาจเปนรูปตัวยู ตัวที หรือครึ่งวงกลม หรือจัด เปน แถวตอนลึก ใหเหมาะสมกับกิจ กรรมการเรียนการสอนและการจัด บรรยากาศทางดานจิตวิทยาใหผูเรียนรูสึกกลาถามกลาตอบ กลาแสดงความคิดเห็น เกิดความใครรู ใครเรียน ซึ่งจะเสริมใหผูเรียนเกิดการพัฒนาตน พัฒนาอาชีพ พัฒนาสังคม และเปนคนเกง ดี มี ความสุขไดในที่สุด

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

ความสําคัญของวิชาคณิตศาสตร คณิ ต ศาสตรใ นป จ จุ บั น มี ค วามสํ า คัญ มาก ดัง นั้ น หลั ก สู ต รการศึ ก ษาขั้ น พื้น ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ และหลักสูตรโรงเรียนวัดหนองเสือ ไดกําหนดใหคณิตศาสตรเปนสาระการ เรียนรูใหเรียนในทุกระดับชั้น โดยเนนหนักในชั้นประถมศึกษาปที่ ๑-๒อาจกลาวไดวา ความสามารถ ทางคณิตศาสตรมีความจําเปนอยางยิ่ง สําหรับการเปน พลเมืองที่มีคุณ ภาพของชาติ ( บุญทัน อยูชม ๒๕๒๙ : ๑ ) เพ็ญจันทร เงียบประเสริฐ ( ๒๕๔๒:๔-๕ ) ไดสรุปความสําคัญของวิชาคณิตศาสตรไว ๔ ดาน ดังนี้ ๑. ความสําคัญที่จะนําไปใชไดในชีวิตประจําวัน เราทุกคนตองใชคณิตศาสตรและ เกี่ยวของกับคณิตศาสตรอยูเสมอ บางครั้งเราอาจไมรูตัวกําลังใช คณิตศาสตรอยู เชน การดูเวลา การประมาณระยะทาง การซื้อขาย การกําหนดรายรับ การใชจายในครอบครัว เปนตน ๒. ความสําคัญที่นําไปใชในงานอาชีพ ในปจจุบันเปนที่ยอมรับกันแลววา ความรู ความสามารถทางคณิตศาสตรเปนสิ่งจําเปนสําหรับผูที่จะทํางานไมวาในสาขาวิชาชีพใดผูที่มีความรู ความสามารถทางคณิตศาสตรมักจะไดรับการพิจารณากอนเสมอ ๓. ความสําคัญที่เปนเครื่องปลูกฝงความคิดและฝกฝนทักษะ ใหเด็กมีคุณสมบัติ นิสัย เจตคติ และความสามารถทางสมอง ตามจุดประสงคทั่วไปของการศึกษา คือ การฝกเด็กให ใชความคิด หรือใหมีความสามารถสรางความรูและคิดเปน เชนความเปนคนชางสังเกต การรูจัก คิ ด อย า งมี เ หตุ ผ ล และแสดงความคิ ด เห็ น อย า งมี ร ะเบี ย บง า ย สั้ น และชั ด เจนตลอดจนมี ความสามารถในการวิเคราะหปญหาและมีทักษะในการแกปญหา ๔. ความสําคัญในแงที่เปน วัฒนธรรม คณิตศาสตรเปนมรดก ทางวัฒนธรรมจาก อดีตที่มีรูปแบบอันงดงาม ซึ่งคนรุนกอนไดคิดคน สรางสรรคไวและถายทอดมาใหคนรุนหลังไดชื่นชม ทั้งยังมีเรื่องใหคนควาศึกษาตอไปไดอีกมาก โดยอาจไมตองคํานึงถึงผลที่จะนําเอาไปใชไดตอไปไดอกี มาก ดังนั้นในการศึกษาวิชาคณิตศาสตรควรจะเปนการศึกษาเพื่อชื่นชม ในผลงานของคณิตศาสตร ที่มีตอวัฒนธรรม อารยธรรม และความกาวหนาของมนุษย และยังเปนการศึกษาคณิตศาสตรเพื่อ คณิตศาสตรไดอีกแงหนึ่งดวย ธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตร สิริพร ทิพยคง ( ๒๕๔๕ : ๑-๕ ) ไดกลาวเกี่ยวกับธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตรไววา คณิตศาสตรเปนวิชาที่มีมาแตโบราณกอนคริสตศักราช มนุษยไดนําความรูทางคณิตศาสตรมาใช คณิตศาสตรไมไดหมายถึงสัญลักษณหรือตัวเลขเทานั้น ใหเกิดประโยชนตอตนเองในชีวิตประจําวัน แตหมายถึงสิ่งตอไปนี้ ๑. คณิตศาสตรเปนวิชาที่วาดวยความคิด การใชกระบวนการคิด ตองอาศัยเหตุผล ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๑๐

และการเรียนคณิตศาสตรเปนการฝกแกปญหาตาง ๆ ๒. คณิตศาสตรเปนภาษาอยางหนึ่ง ๓. คณิตศาสตรเปนศิลปะอยางหนึ่ง ความงามของคณิตศาสตร เปนความมีระเบียบ ๔. คณิตศาสตรเปนวิชาที่สรางความมีระเบียบแบบแผน มีลําดับขั้นตอนในการคิด และตองอาศัยการคิดอยางมีเหตุผล ดังนั้นสรุปไดวา ธรรมชาติของคณิตศาสตรนั้นเปนวิชาที่วาดวยความคิด มีลําดับ ขั้นตอนในการคิด ตองอาศัยเหตุผล ทําใหคนมีระเบียบแบบแผน และชวยในการแกปญหาตาง ๆ ชวยใหเกิดประโยชนตอตนเองในชีวิตประจําวัน ทฤษฎีและปรัชญาในการสอนคณิตศาสตร โสภณ บํารุงสงฆและสมหวัง ไตรตนวงศ(๒๕๔๐, หนา๒๒-๒๓) ไดกลาวถึงทฤษฏีการสอน คณิตศาสตร ดังนี้ ๑) ทฤษฎีแหงการฝกฝน (Drill Theoryทฤษฎีนี้เนนการฝกฝนใหทําแบบฝกหัดมากๆ ซ้ําๆ ( จนกวาเด็กจะเคยชินกับวิธีการนั้นเพราะเชื่อวาวิธีการดังกลาวทําใหผูเรียนรูคณิตศาสตรไดฉะนั้น การสอนของครูจะเริ่มตนโดยครูใหตัวอยางบอกสูตรหรือกฎเกณฑแลวใหผูเรียนฝกฝนทําแบบฝกหัด มากๆ จนชํ า นาญ นั ก การศึ ก ษาป จ จุ บั น ยั ง ยอมรั บ ว า การฝ ก ฝนมี ค วามจํ า เป น ในการสอน คณิตศาสตร ซึ่งเปนวิชาทักษะ แตทฤษฎีนี้ยังมีขอบกพรองหลายประการ คือ ๑.๑ (นักเรียนตองจดจํา ทองกฎเกณฑ สูตร ซึ่งยุงยาก ๑.๒นักเรียนไมอาจจดจําขอเท็จจริงตางๆ ที่เรียนมาไดหมด ( ๑.๓นักเรียนไมไดเรียนอยางเขาใจ จึงเกิดความลําบากสับสนในการคํานวณ ( การแกปญหาและลืมสิ่งที่เรียนไดงาย ๒) ทฤษฎีก ารเรียนรูโดยเหตุบังเอิญ (Incidental Learningทฤษฎีนี้มีความเชื่อวาเด็กจะ ( เรียนรูไดดีก็ตอเมื่อมีความตองการหรือความอยากรูเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้น ฉะนั้น กิจกรรมการ เรียนตองจัดขึ้นจากเหตุการณที่เกิดขึ้นในโรงเรียนหรือชุมชน ซึ่งนักเรียนไดประสบกับตนเองสวน ขอบกพรองของทฤษฎีนี้คือ เหตุการณที่เหมาะสมในการจัดการเรียนรูไมไดเกิดขึ้นบอย ดังนั้นการ จัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีนี้จะใชไดเปนครั้งคราวถาไมมีเหตุการณดังกลาวเกิดขึ้นแลวทฤษฎีนี้ ก็จะไมเกิดผล ๓) ทฤษฎีแหงความหมาย (Meaning Theory ทฤษฎีนี้เนนตระหนักวาการคิดคํานวณกับ ( ความเปนอยูในสังคมของเด็กเปนหัวใจในการเรียนการสอนคณิตศาสตรและเชื่อวานักเรียนจะเรียนรู และเขาใจในสิ่งที่เรียนไดดี เมื่อไดเรียนสิ่งที่มีความหมายตอตนเองทฤษฎีนี้เปนที่ยอมรับวาเหมาะสม ในการนําไปสอนคณิตศาสตรอยางกวางขวางในปจจุบัน

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๑๑

ยุพิน พิพิธกุล) ๒๕๔๐, หนา ๔๘เสนอแนวคิดเกี่ยวกับปรัชญาทางการสอนคณิตศาสตรไว ( ดังนี้ ๑ควรสอนใหเด็กคิดเองและคนพบดวยตนเอง ผูสอนเปนเพียงผูแนะไมใชผูบอก ( ๒( ควรสอนโดยยึดโครงสรางมีระบบระเบียบ แตควรจะใชวิธีการสอนหลายๆ วิธีมีการ ยืดหยุนใหเหมาะสมตามเนื้อหา ๓ไมมุงเสนอแตเนื้อหาคณิตศาสตรอยางเดียว ควรจะสอดแทรกจริยธรรมฝกความมี ( ระเบียบวินัยและความมีเหตุผลดวย จากทฤษฎีขางตน ในการจัด การเรียนการสอนควรจัด ตามความพรอมในการเรียนและ เนื้อหาตองมีความเหมาะสมกับความรูความสามารถและพัฒนาการของผูเรียน ผูสอนควรสนใจ ผูเรียนตลอดเวลาและเนนใหผูเรียนคนพบขอความรูและแกปญหาดวยตนเอง จึงจะทําใหการเรียน การสอนประสบความสําเร็จ ลําดับขั้นตอนการสอนคณิตศาสตร ลําดับขั้นตอนการสอนคณิตศาสตร แบบสถาบันสถาบันการสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี (สสวท .) สถาบัน การสง เสริมวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (สสวท .) ซึ่ง เปน ผูรับผิดชอบทางเรื่องเนื้อหาและ วิธีการสอนคณิตศาสตรระดับประถมศึกษามัธยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย อยูในปจจุบัน ไดกําหนดแผนภูมิแสดงขั้นตอนการสอนคณิตศาสตร ซึ่ง อยูใ นคูมือครูคณิตศาสตรร ะดับประถมศึก ษาของ สสวท แผนภูมิจ ะแสดงใหเห็น วา การสอน คณิตศาสตรจัดเปนลําดับขั้นตอนดังนี้ (สถาบันการสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๒๕๓๙:๖) ๑ .ออางอิง สิ่งที่นกั เรียนเคยเรียนมาแลวขั้นทบทวนความรูเพิ่มเดิม เปนการกลาวหรื . และเกี่ยวของกับบทเรียนใหมทกี่ ําลังสอน ๒.ขั้นจัดกิจกรรมในชั้นเรียนเพอนําไปสูบทเรียน ๒.๑ ขั้นของจริง เปนที่พยายามนํารูปธรรมมาใช เพื่อใหนักเรียนสามารถสรุปไป สูนามธรรม ๒.๒ ขั้นรูปภาพ ครูเปลี่ยนเครื่องชวยคิดจากของจริงมาเปนรูปธรรม ๒.๓ ขั้นสัญลักษณ หลังจากที่นักเรียน เรียนรูขั้นที่ใชของจริง หรือรูปประกอบ การสอนแลวครูอธิบายโดยใชสัญลักษณ ๓. ขั้นสรุปไปสูวิธีลัด เพื่อความสะดวกในการนําไปใชครั้งตอไป ๔. ขั้นฝกทักษะ เมื่อเขาใจวิธีลัดแลวจึงใหนักเรียนฝกทักษะ ดวยการทําแบบฝกหัด จากบทเรียนหรือบัตรงาน ๕. ขั้นนําความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน และใชในวิชาอื่น ที่เกี่ยวของโดยให ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๑๒

นักเรียนนําโจทยปญหาหรือกิจกรรมที่มกั ประสบในชีวิตประจําวัน ๖. ขั้นประเมินผล เปนการประเมินเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน และตัดสินผลการ เรียน โดยจะตองนําผลการประเมินไปเก็บสะสม เพื่อประกอบการประเมินการผานจุดประสงคใน สมุดประจําชั้นดวย ดังภาพประกอบตอไปนี้ แผนภูมิการสอนคณิตศาสตรตามแนวทางการสอนของ สสวท. ๑

ทบทวนความรูเดิม

๒ สอนเนื้อหาใหม จัดกิจกรรมใชของจริง

จัดกิจกรรมโดยใชรูปภาพ

ใชสัญลักษณ

นักเรียนเขาใจหรือไม เขาใจ

ไมเขาใจ

ชวยกันสรุปเปนวิธีลดั

ฝกทักษะจาก หนังสือ บัตรงาน ฯลฯ

๕ ๖

นําความรูไปใช การประเมินผล ผานหรือไม

ไมผาน

สอนซอมเสริม

สอนเนื้อหาตอไป ที่มา : สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๒๕๓๙:๗ ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๑๓

๗.กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุม เปาหมายในการนํา BP ไปใช ประเภทของกลุมเปาหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ โรงเรียนวัดหนองเสือ ตําบลวังศาลา อําเภอทามวง สังกัดสํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ จํานวนกลุมเปาหมาย จํานวนนักเรียนทัง้ หมดในปการศึกษา ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP ๑ ศึกษาวิเคราะหหลักสูตร สาระการเรียนรู หนวยการเรียนรู ผลการเรียนรูที่คาดหวังคําอธิบาย รายวิชากิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลประเมินผล

๒ ศึกษาหลักการ ทฤษฎีการสอนที่เกี่ยวของ

๓ กําหนดวัตถุประสงค

๔ วางแผนบริหารจัดการชั้นเรียนในการจัดการเรียนรู

๕ จัดกิจกรรมการเรียนรู

๖ ประเมินผลงานบรรลุวัตถุประสงค

๗ ปรับปรุงผลงาน

๘ กํากับ ติดตาม ประเมินผล

๙ สรุปและรายงาน

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๑๔

กระบวนการพัฒนา BP

“ บริหารจัดการเรียนรู สรรคสรางผลงานคณิตศาสตร ” จัดชั้นเรียนใหยืดหยุนไดตามความเหมาะสม จัดชั้นเรียนเพื่อสรางเสริมความรูทุกดาน

บริหารจัดการ เรียนรู

จัดชั้นเรียนเพื่อมีสภาพแวดลอมที่ดี จัดชั้นเรียนเพื่อเสริมสรางลักษณะนิสัยที่ดีงาม จัดชั้นเรียนเพื่อสรางความเปนระเบียบ จัดชั้นเรียนเพื่อสรางเสริมประชาธิปไตย จัดชั้นเรียนเพื่อเอื้อตอหลักสูตร

ทบทวนความรูเดิม

การเรียนรู คณิตศาสตร

สอนเนื้อหาใหม จัดกิจกรรม

เขาใจ/ไมเขาใจ

ชวยกันสรุปเปนวิธีลัด ฝกทักษะจากหนังสือ ใบงาน ฯลฯ นําความรูไปใช การประเมินผล

สอนซอมเสริม ผาน/ไมผาน

สอนเนื้อหาตอไป

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๑๕

๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP วิธีการตรวจสอบคุณภาพ ใชแ บบประเมินผลการเรียน แบบสังเกตพฤติก รรมของนัก เรียนกลุมเปาหมายที่ สรางขึ้น แบบประเมินความพึงพอใจ นําผลการประเมินที่ไดมาวิเคราะห เปรียบเทียบ ปรับปรุง เพื่อ ดูคุณภาพ ของ BP ผลการตรวจสอบคุณภาพ องคความรูที่เกิด กับผูเรียนหลังจากที่ไดเรียนรูจ าก กระบวนการบริห ารจั ด การเรี ยนรู สรรค ส รา งผลงานคณิต ศาสตร พัฒ นาความสามารถดา น คณิตศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ ปรากฏวา ๑.นักเรียนไดรับการเรียนรู สรรคสรางผลงานคณิตศาสตร และพัฒนา ความสามารถดานคณิตศาสตร ๒. นักเรียนเกิดการเรียนรูไดตามศักยภาพและมีเจตคติทดี่ ีตอวิชาคณิตศาสตร ๗.๔ แนวทางการนํา BP ไปใชประโยชน ๗.๔.๑ ใชในการบริหารจัดการเรียนรู สรรคสรางผลงานคณิตศาสตร และพัฒนา ความสามารถดานคณิตศาสตร ๗.๔.๒ ใชในการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตรและปลูกฝงใหเกิดเจตคติที่ดตี อวิชา คณิตศาสตร ๘. ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงคของ BP) ๘.๑ ผลสําเร็จเชิงปริมาณ ๘.๑.๑ ครูมีความรูความสามารถบริหารจัดการเรียนรู สรรคสรางผลงานคณิตศาสตร คณิตศาสตร ๘.๑.๒ นักเรียนนําความรูด านทักษะทางคณิตศาสตร ประยุกตและบูรณาการความรู ในการเรียนรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นๆ ๘.๑.๓ นักเรียนเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูไ ดตามศักยภาพและมีเจตคติทดี่ ีตอวิชา คณิตศาสตร ๘.๒ ผลสําเร็จเชิงคุณภาพ ๘.๒.๑ ครูบริหารจัดการเรียนรูคณิตศาสตร สรรคสรางผลงานคณิตศาสตร พัฒนาความสามารถดานคณิตศาสตรของนักเรียนได คิดเปนรอยละ ๗๐ ๘.๒.๒ นักเรียนมีเจตคติทดี่ ีตอวิชาคณิตศาสตรคิดเปนรอยละ ๘๐ ๘.๓ ความพึงพอใจของผูเกี่ยวของตอ BP การตรวจสอบความพึงพอใจของนักเรียนไดมาจากการสังเกตพฤติกรรม ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๑๖

การสอบถาม การสัมภาษณ การประเมินผลงาน และแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ การสอน กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ โดยสอบถามความคิดเห็นของ นัก เรียน ดานกระบวนการเรียนการสอน ระดับความคิด เห็นในระดับพอใจมาก คิด เปน รอยละ ๘๑.๗๕ ดานการใชสื่อการสอนและการปกครองชั้นเรียน ระดับความคิดเห็นในระดับพอใจมาก คิด เปนรอยละ ๘๕.๕๕ ดานบุคลิกภาพของครูผูสอน ระดับความคิดเห็นในระดับพอใจมาก คิดเปนรอย ละ ๘๗.๕๐ ดานการเรียนวิชาคณิตศาสตร ระดับความคิดเห็นในระดับพอใจมาก คิดเปนรอยละ ๙๑.๒๕ ๘.๔ ปจจัยความสําเร็จของการพัฒนา BP / ประสบการณเรียนรูจากการนํา BP ไปใช ๘.๔.๑ นักเรียนมีทักษะพื้นฐาน มีความรูความสามารถ มีทักษะทางคณิตศาสตร มี ความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิดอยางสรางสรรค มีความสามารถในการสื่อสาร การแกปญหา และมีความสามารถในการใชเทคโนโลยี รวมทั้งมีความมุงมั่นตั้งใจในการทํางาน ๘.๔.๒ นักเรียนเกิดความพึงพอใจเปดใจเรียนรูสิ่งใหม และมีความมุงมั่นในการที่จะ รับการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร ๘.๔.๓ นั ก เรี ย นมุ ง มั่ น มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบและสนุ ก กั บ การสรรค ส ร า งผลงาน คณิตศาสตร ๘.๔.๔ ครูมีความตั้งใจ มีการเสียสละ มีความคิดริเริ่มสามารถสรางผลงาน คณิตศาสตร ๘.๔.๔ ผูบริหาร คณะครูใหความรวมมือในการทํางานและการบริหารจัดการเรียนรู สรรคสรางผลงานคณิตศาสตร ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้ําเพื่อพัฒนา ปรับปรุง BP ใหเกิดผลดีอยางตอเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้ํา BP ๙.๑.๑ สังเกตการทํางาน การสงงาน ตรวจสอบผลงาน ๙.๑.๒ ใชกระบวนการบริหารจัดการเรียนรู สรรคสรางผลงานคณิตศาสตร พัฒนา ความสามารถดานคณิตศาสตรของนักเรียน ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้ําเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนสามารถทํางาน สงงาน มีผลงานสรางสรรค มีพัฒนาการใชทกั ษะทาง คณิตศาสตรในการเรียนรูไดดีขึ้นและมีเจตคติที่ดตี อวิชาคณิตศาสตร ๑๐. การประชาสัมพันธผลสําเร็จของ BP และการเผยแพร ขยายผล ในวงกวาง (ระบุวัน เวลา และรูปแบบ/วิธกี ารประชาสัมพันธ เผยแพร และขยายผล) ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๑๗

๑๐.๑ ผลงาน/ผลการปฏิบัตงิ าน -นักเรียนมีความคิดริเริ่มสรางสรรค ผลงานชิ้นงาน ครบถวนตามที่ครูกําหนดที่ เกิดจากการปฏิบัติงานของนักเรียนตามหลักสูตร -ผลการปฏิบัตงิ านของนักเรียนมีคุณภาพตามเกณฑที่กําหนดในระดับดีขึ้นไป คิดเปนรอยละ ๘๐ ๑๐.๒ การไดรับรางวัลยกยองเชิดชูและการเผยแพรผลงานนักเรียน การไดรับรางวัลยกยองเชิดชู -ไดรางวัลครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษากลุมสาระการเรียนรูวิชา บูรณาการดานบริหารจัดการยอดเยี่ยม ระดับเหรียญทอง ในโครงการการประกาศเกียรติคุณ หนวยงานและผูมีผลงานดีเดนเปนที่ประสบผลสําเร็จเปนที่ประจักษ เพื่อรับรางวัลทรงคุณคา สพฐ. OBEC AWARDSประจําปพุทธศักราช ๒๕๕๔ -ไดรางวัลครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษากลุมสาระการเรียนรูวิชา บูรณาการ ดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ระดับเหรียญเงิน ในโครงการการประกาศ เกียรติคุณ หนวยงานและผู มีผลงานดีเดน เปน ที่ประสบผลสําเร็จ เปน ที่ ประจั ก ษ เพื่อ รับรางวั ล ทรงคุณคา สพฐ .OBEC AWARDS ประจําปพุทธศักราช๒๕๕๕ -ไดรางวัลครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษากลุมสาระการเรียนรูวิชา บูรณาการ ดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ระดับเหรียญเงิน ในโครงการการประกาศ เกียรติคุณ หนวยงานและผู มีผลงานดีเดน เปน ที่ประสบผลสําเร็จ เปน ที่ ประจั ก ษ เพื่อ รับรางวั ล ทรงคุณคา สพฐ .OBEC AWARDS ประจําปพุทธศักราช๒๕๕๖ -รางวัลผูทําประโยชนทางดานการศึกษา ประจําป ๒๕๕๕ -๒๕๕๖จาก สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา จังหวัด กาญจนบุรี ระดับจังหวัด -ไดรับเครื่องหมายเชิดชูเกียรติ ประจําป “หนึ่งแสนครูดี”๒๕๕๔โดย คุรุสภา การไดรับรางวัลของนักเรียน -นักเรียนไดรางวัล ระดับเหรียญ ทองแดง การแขงขันสรางสรรคผลงาน คณิตศาสตรโดยใชโปรแกรม GSP ป.๔-ป.๖ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษา ประจําป๒๕๕๖ -นักเรียนไดรางวัล ระดับเหรียญ เงิน การแขงขันประติมากรรมนูนต่ําป.๑ป.๓ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ประจําป ๒๕๕๖-๒๕๕๗ -นักเรียนไดรางวัล ระดับเหรียญ ทอง การแขงขันจัดสวนถาดแหง ป.๔ป.๖ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ประจําป ๒๕๕๕-๒๕๕๖ ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๑๘

-นักเรียนไดรางวัล ระดับเหรียญ เงิน การแขงขันอัจฉริยภาพคณิตศาสตร ป.๑-ป.๓ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับกลุมเครือขาย ประจําป ๒๕๕๖ -นักเรียนไดรางวัล ระดับเหรียญ ทองแดง การแขงขันอัจฉริยภาพ คณิตศาสตรป.๑-ป.๓ ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับกลุมเครือขาย ประจําป ๒๕๕๗ การเผยแพรผลงานนักเรียน -นําเสนอผลงานจัดแสดงในระดับชาติ ในโครงการการประกาศเกียรติคุณ หนวยงานและผูมีผลงานดีเดนเปนที่ประสบผลสําเร็จเปนที่ประจักษ เพื่อรับรางวัลทรงคุณคาสพฐ . OBEC AWARDSประจําปพุทธศักราช ๒๕๕๔ ณ หองจูปเตอรอิมแพค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี วันที่ ๒๕-๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ -นําเสนอผลงานจัดแสดงในระดับชาติ ในโครงการการประกาศเกียรติคุณ หนวยงานและผูมีผลงานดีเดนเปนที่ประสบผลสําเร็จเปนที่ประจักษ เพื่อรับรางวัลทรงคุณคาสพฐ . OBEC AWARDS ประจําปพุทธศักราช ๒๕๕๕ ณ อาคาร IMPACT FORUM HALL ๙ ชั้น ๑ หอง SAPPHILE อิมแพคเมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี วันที่ ๑๓ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๕ -นําเสนอผลงานจัดแสดงในระดับชาติ ในโครงการการประกาศเกียรติคุณ หนวยงานและผูมีผลงานดีเดนเปนที่ประสบผลสําเร็จเปนที่ประจักษ เพื่อรับรางวัลทรงคุณคาสพฐ . OBEC AWARDS ประจําปพุทธศักราช ๒๕๕๖ ณ อิมแพค อารีนา เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี วันที่ ๒๐ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๗ -นําเสนอผลงานจัดแสดงในโครงการประกวดการประเมินสถานศึกษา พอเพียงณ โรงเรียนวัดหนองเสือ ในวันที่ ๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ -นําเสนอผลงานจัดแสดงการประกวดนักเรียนดีเดนดานคุณธรรม จริยธรรมประจําป ๒๕๕๔ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมกับธนาคารออมสิน -การเผยแพรผลงาน งานประกวด Best Practice ณ โรงเรียนอนุบาล วัดไชยชุมพลชนะสงคราม วันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ -การเผยแพรผลงาน จากการศึกษาดูงานคณะครูกลุมสถานศึกษาที่ ๑๗ อําเภอพระยืน สพป.ขอนแกน เขต ๑ ณ โรงเรียนวัดหนองเสือ วันที่ ๘ ตุลาคมพ.ศ.๒๕๕๕ -การเผยแพรผลงาน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ณ โรงเรียน เทพศิรินทรลาดหญากาญจนบุรี วันที่ ๑๒-๑๓ พฤศจิกายนพ.ศ.๒๕๕๕ -การเผยแพรผลงานจากการศึกษาดูงานคณะครูโรงเรียนวัดบางกระเจา ณ โรงเรียนวัดหนองเสือ วันที่ ๑๘ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ -นําเสนอผลงานจัดแสดงในโครงการประกวดโรงเรียนดีเดนดานคุณธรรม จริยธรรมและนักเรียนดีเดนดานคุณธรรมจริยธรรมประจําป๒๕๕๖สํานักงานคณะกรรมการ ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๑๙

การศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมกับธนาคารออมสิน ณ โรงเรียนวัดหนองเสือในวันที่ ๒๖มิถุนายน ๒๕๕๖ -การเผยแพรผลงาน จากการศึกษาดูงานคณะครูเครือขายโรงเรียน ชุมพลบุรี ๓สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร ณ โรงเรียนวัดหนองเสือ วันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ - นําเสนอผลงานจัดแสดงในการประเมินสถานศึกษาพอเพียงประจําป ๒๕๕๗ โรงเรียนวัดหนองเสือในวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ -การเผยแพรผลงานเว็บไซด งานประชาสัมพันธ สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ -การเผยแพร ผ ลงานเว็ บ ไซด ค รู บ า นนอกเรื่ อ ง แบบฝ ก เสริ ม ทั ก ษะ คณิตศาสตรแบบบูรณาการ เรื่อง มหัศจรรยกับคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ -วารสารแผนพับเผยแพรประชาสัมพันธ

ลงชื่อ สุจรรยา ประยูรมหิศร ผูขอรับการประเมิน (นางสุจรรยา ประยูรมหิศร) วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ .ศ.๒๕๕๗

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๒๐

ตอนที่๓ ความคิดเห็นของผูบงั คับบัญชาชั้นตน คุณลักษณะ คุณสมบัติ และผลงานของผูขอรับการประเมิน ขาพเจาขอรับรองวา นางสุจรรยา ประยูรมหิศร ปฏิบัติหนาที่ดวยความมุงมั่น ตั้งใจอุทิศ เวลา เสียสละ ทุมเท ในการปฏิบัติหนาที่ อยางเต็มความสามารถ พรอมทั้งใหความรวมมือกับ โรงเรียนชุมชน และเพื่อนครูดวยความเต็มใจ ประพฤติปฏิบัติตนมีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติ ตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพหนาที่เปน ผูใ ฝศึ ก ษา คน ควา หาความรูที่จําเปน ตองใชใ นการ ปฏิบัติงานอยูเสมอมีความตั้งใจปฏิบัติงานใหไดรับความสําเร็จสนใจและเอาใจใสงานที่รับผิดชอบใช ระบบบริห าร เทคนิควิธีก ารตางๆ ที่ทําใหผลงานบรรลุเปาหมายระดับสูง สุด ปฏิบัติง านที่ไ ดรับ มอบหมายอยางมีประสิทธิภาพเปนผูมีคุณสมบัติเบื้องตนเหมาะสมกับการเขารับการประเมินผลงาน การปฏิบัติที่ดีเลิศ Best Practice

ลงชื่อ ปญญา เที่ยงธรรม ผูบังคับบัญชา ( นายปญญา เที่ยงธรรม) ตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียนวัดหนองเสือ วันที่ ๒๐ พฤศจิกายน พ .ศ.๒๕๕๗

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๒๑

ภาคผนวก ภาคผนวก

รางวัลครูผูสอนยอดเยี่ยม เหรียญทอง ระดับชาติ ดานบริหารจัดการยอดเยี่ยม กลุมวิชาบูรณาการ รางวัลทรงคุณคา สพฐ .OBEC AWARDS ประจําป ๒๕๕๔

รางวัลครูผูสอนยอดเยี่ยม เหรียญเงิน ระดับชาติ ดานบริหารจัดการยอดเยี่ยม กลุมวิชาบูรณาการ รางวัลทรงคุณคา สพฐ .OBEC AWARDS ประจําป ๒๕๕๖

รางวัลผูทําประโยชนทางดานการศึกษา ประจําป ๒๕๕๖ จากสํานักงาน สกสค.จังหวัดกาญจนบุรี ระดับจังหวัด

รางวัลครูผูสอนยอดเยี่ยม เหรียญเงิน ระดับชาติ ดานนวัตกรรมฯ ยอดเยี่ยม กลุมวิชาบูรณาการ รางวัลทรงคุณคา สพฐ .OBEC AWARDS ประจําป ๒๕๕๕

รางวัลผูทําประโยชนทางดานการศึกษา ประจําป ๒๕๕๕ จากสํานักงาน สกสค.จังหวัดกาญจนบุรี ระดับจังหวัด

รางวัลครูผูสอนยอดเยี่ยม เหรียญทอง ระดับภาค ดานบริหารจัดการยอดเยี่ยม กลุมวิชาบูรณาการ รางวัลทรงคุณคา สพฐ .OBEC AWARDS ประจําป ๒๕๕๔

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๒๒

เกียรติบัตร

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๒๓

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๒๔

ตัวอยางผลงาน

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๒๕

กิจกรรม

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


“ผลงานการปฏิบัติที่เปนเลิศBest Practice(BP)”

๒๖

ครูผูสอนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.