Best Practice เรียนรู้รูปสี่เหลี่ยมกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
นางราริน นันทพานิช ครูชานาญการ
โรงเรียนวัดทุ่งลาดหญ้า “ลาดหญ้าวิทยา” สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
คานา เอกสารฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อเสนอผลงานวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ที่ผู้ขอเข้า รับการประเมินได้รวบรวมข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนาเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice ระยะเวลาในการพัฒนาความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ระหว่าง Best Practice กับ เป้าหมายแนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในกระบวนการพัฒนาBest Practice ให้เกิดผลดีอย่าง ต่อเนื่องขอขอบพระคุณนายไกรพจน์ บุญประเสริฐ ผู้อานวยการโรงเรียนวัด ทุ่งลาดหญ้า “ลาด หญ้าวิทยา”คณะครูผู้ปกครองนักเรียนและศิษย์ทุกรุ่นที่มีส่วนเกี่ยวข้องทาให้การปฏิบัติงานใน หน้าที่ของครูประสบผลสาเร็จด้วยดี
ราริน นันทพานิช
~2~
สารบัญ ชื่อเรื่อง คานา สารบัญ ปกใน ชื่อผลงาน ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนา BP ความเชื่อมโยง/ ความสัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/ จุดเน้นของสพป./ สพม. / สพฐ. แนวคิดหลักการทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP กระบวนการพัฒนา BP ขั้นตอนการพัฒนา BP การตรวจสอบคุณภาพ BP แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา BP ( เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง ภาพการจัดกิจกรรม รางวัล-เกียรติบัตร
~3~
หน้า 1 2 2 2 2 2 3 4 4 4 5 5 6 8-9 10
รายงานผลงานที่ประสบความสาเร็จ (Best Practice) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา ------------------------------------------------------------------------------------------------1. ชื่อผลงาน เรียนรู้รูปสี่เหลี่ยมกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา ด้าน ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยม 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา(Best Practice) 2.1 ชื่อผู้พัฒนา(Best Practice) นางราริน นันทพานิช ตาแหน่ง ครู.คศ 2 2.2 โรงเรียน วัดทุ่งลาดหญ้า “ลาดหญ้าวิทยา” อาเภอเมือง จังหวัด กาญจนบุรี เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับ ประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 2.3 โทรศัพท์ 081-7367688 e-mail rarin1798@hotmail.com 3. วัตถุประสงค์ 3.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึ้น 3.2 เพื่อพัฒนาผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ให้สูงขึ้น 3.3 เพื่อพัฒนาสื่อเรียนการสอนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ให้น่าสนใจ 4. ระยะเวลาในการพัฒนา ช่วงเริ่มต้นการพัฒนา เดือนตุลาคม 2555 - เดือนมีนาคม 2556 ระยะเวลาที่พัฒนา ปีการศึกษา 2556 ความเชื่อมโยง /ความสัมพันธ์ระหว่าง BPกับเป้าหมาย /จุดเน้นของสพป./สพฐ/สถานศึกษา นวัตกรรมการเรียนการสอนเป็นการผลิตสื่อ นวัตกรรม กระบวนการพัฒนาการเปลี่ยนแปลง การเรียนการสอนขึ้นใหม่ ไม่ว่าการเปลี่ยนนั้นจะเกิดขึ้นจากการการพัฒนาต่อยอด การเปลี่ยนแปลง การประยุกต์หรือกระบวนการเรียนการสอน เชื่อตรงกันว่าการที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งจะเป็นนวัตกรรมได้นั้น จะต้องมีความใหม่อย่างเห็นได้ชัด และความใหม่นั้นจะต้องเพิ่มมูลค่าสิ่งต่าง ๆ ได้อีกด้วย โดยเป้าหมาย ของนวัตกรรมคือการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวก เพื่อทาให้สิ่งต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น นวัตกรรม การเรียนการสอนก่อให้ได้ผลผลิตทางการศึกษาเพิ่มขึ้น เนื่องจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของผู้เรียนต่า อีกทั้งมีผลการ ประเมินผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด ดังนั้นจึงมีความ ~4~
จาเป็นที่จะต้องพัฒนาการเรียนการสอน วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) โดยเน้นกระบวนการ เรียนการสอนและสื่อนวัตกรรมการสอน เพื่อให้ได้มาซึ่งผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนให้เกิดของระดับที่สูงขึ้น ข้าพเจ้าจึงนารูปสี่เหลี่ยมกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ด้วยทฤษฏีของธอร์นไดค์ (Thorndike) ใน การเรียนการสอน ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์สูงขึ้น คิดเป็น คะแนนเฉลี่ย 4.26 ซึ่งเปรียบเทียบจากรายงานผลการทดสอบระดับชั้นขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปี การศึกษา 2555 -2556 (สถานบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ) แนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา เทคนิควิธีการการจัดการเรียนรู้ ของข้าพเจ้า มีหลักการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิดและแก้ปัญหาด้วยตนเอง ได้ศึกษา ค้นคว้าจากสื่อและเทคโนโลยีต่าง ๆ อย่างอิสระ ข้าพเจ้าได้จัดเนื้อหาและกิจกรรมให้สอดคล้องกับ ความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึงความแตกต่างระดับบุคคล โดยใช้นักเรียนทดลองบ่อย ๆ จะผิดจะถูกไม่ว่ากัน ซึ่งครูจะค่อยแนะนาและชี้แนะในข้อบกพร่องของนักเรียน โดยมีความเชื่อที่ว่า การสอนนักเรียนควรมีพื้นฐานความเชื่อว่า นักเรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ได้มีกระบวนการ ทฤษฎีการ เรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike) ดังนี้ 1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) หมายถึง สภาพความพร้อมหรือวุฒิภาวะของ ผู้เรียนทั้งทางร่างกาย อวัยวะต่างๆ ในการเรียนรู้และจิตใจ รวมทั้งพื้นฐานและประสบการณ์เดิม สภาพ ความพร้อมของหู ตา ประสาทสมองกล้ามเนื้อ ประสบการณ์เดิมที่จะเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่หรือสิ่งใหม่ ตลอดจนความสนใจ ความเข้าใจต่อสิ่งที่เห็น ถ้าผู้เรียนมีความพร้อมตามองค์ประกอบต่างๆ ดังกล่าว ก็ จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ 2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) หมายถึงการที่ผู้เรียนได้ฝึกหัดหรือกระทาซ้า ๆ บ่อยๆทาทุกวัน ย่อมจะทาให้เกิดความสมบูรณ์ถูกต้อง ซึ่งเป็นการเน้นความแม่นย่าด้านเนื้อหาในกลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หากนักเรียนไม่มั่นใจให้นักเรียนฝึกทาซ้า ๆ ในเรื่องเดิมเพราะเป็นการ สร้างเสริมความชานาญ จากแบบฝึกหัดที่ง่าย และเป็นการปลูกฝังความเพียรพยายามในการทา แบบฝึกหัดให้ถูกต้อง ในการทาซ้าแต่ละครั้งนักเรียนจะพบข้อผิดพลาดของตนเอง และค้นพบวิธี แก้ปัญหาเพี่อนาไปสู่ความสาเร็จในครั้งต่อไป ทาให้เขามีกาลังใจที่จาทาต่อไป และไม่ต้องกลัวครูดุว่า เครื่องคอมพิวเตอร์จะเสียหายถ้าเสียหากก็จะซ่อมได้ 3. กฎแห่งความพอใจ (Law of Effect) กฎนี้เป็นผลทาให้เกิดความพอใจ กล่าวคือ เมื่อ นักเรียนมีความพึงพอใจที่ดีต่อครูผู้สอนไม่กลัวครูกล้าถามและสงสัยในเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ แล้วครูผู้สอนยังสร้างบรรยากาศในการเรียนอย่างเป็นกันเองมากขึ้น จึงทาให้นักเรียนมี ความสุขเวลาเรียนเนื่องจากสามารถเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี
~5~
กระบวนการพัฒนา กลุ่มเป้าหมายในการนาสื่อรูปสี่เหลี่ยมกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ไปใช้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2555 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนวัดทุ่งลาดหญ้า “ลาดหญ้าวิทยา” จานวน 64 คน ขั้นตอนการพัฒนา
ขั ้นร่วมรับรู้
สูก่ ารวิเคราะห์
เผยแพร่ผลงาน
ผลิตสื่อ
นาไปใช้ พฒ ั นา
การตรวจสอบคุณภาพ จากการทดสอบก่ อ นเรี ย นและให้ นั ก เรี ย นเรี ย นรู้ ใ นกระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ โ ดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ทาให้นักเรียนมีความเข้าใจละเรียนรู้ได้เร็วทาให้ผลทดสอบหลังเรียนสูงขึ้น และเมื่อนาไปไปใช้ในการเรียนการสอน พบว่านักเรียนตั้งใจเรียนและอยากเรียนรู้ทาให้มี ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น
~6~
แนวทางการเรียนรู้รูปสี่เหลี่ยมกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ไปใช้ประโยชน์ การนารูปสี่เหลี่ยมกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ประกอบด้วย เนื้อหา ตัวอย่าง และ แบบฝึกหัด และตรวจสอบผลคะแนนที่ได้ มีการนาเสนอ ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย มีตัวอย่างประกอบ ชัดเจน และแบบทดสอบระหว่างเรียนในแต่ละหน่วย ไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอนแล้ว ทาให้ นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับครู และนักเรียนด้วยกัน ได้รู้จักกระบวนการกลุ่มเรียนรู้การทางานร่วมกัน มี ความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนที่ได้รับมอบหมายภายในกลุ่ม กล้าแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟัง ความคิดเห็นของบุคคลอื่น สามารถตอบสนองการเรียนรู้ได้ดี อธิบายเรื่องราวที่เป็นนามธรรมให้เป็น รูปธรรมได้ ได้นาเสนอเนื้อหาจากง่ายไปหายาก ให้ผู้เรียนค่อย ๆ เรียนรู้ไปทีละน้อย โดยการใช้รูปภาพ ประกอบ ผู้เรียนใช้เวลาในการศึกษาได้ตามความต้องการและความสามารถของผู้เรียน เรียนได้ด้วย ตนเองจนกว่าจะเข้าใจในบทเรียน และทาแบบฝึกหัดได้หลายครั้งจนกว่าจะผ่านเกณฑ์ ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา เรียนรู้รูปสี่เหลี่ยมกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ผลสาเร็จเชิงปริมาณ หลังจากการใช้สื่อนวัตกรรมแล้วนักเรียนเข้าใจในเรื่อง รูปสี่เหลี่ยม มากขึ้นผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนสูงขึ้นผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ให้ สูงขึ้น มีสื่อเรียนการสอนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ให้น่าสนใจ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรี ย นชั้น ประถมศึกษา โรงเรียนวัด ทุ่งลาดหญ้า “ลาดหญ้า วิทยา” ส านักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ที่ใช้สื่ อนวัตกรรมการเรียนการสอนแล้ว มีผ ลสั มฤทธิ์ทาง กาเรียนในสาระการเรียนคณิตศาสตร์ที่สูงขึ้น และผลสอบ O-NET ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงขึ้น ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อการเรียนรู้รูปสี่เหลี่ยมกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) จากการทดสอบก่อนเรี ย นและให้ นักเรียนเรียนรู้ในกระบวนการทางคณิตศาสตร์โ ดยใช้ รูป สี่เหลี่ยมกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ทาให้นักเรียนมีความเข้าใจเรียนรู้ได้เร็วทาให้ผลทดสอบหลัง เรียนสูงขึ้นและเมื่อนาไปไปใช้ในการเรียนในระดับชั้นอื่น ๆ พบว่านักเรียนตั้งใจเรียนและอยากเรียนรู้ทา ให้มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
~7~
ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา จากประสบการณ์การสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 – 6 เรื่อง รูปสี่เหลี่ยม ได้พบปัญหา มาตรฐานการเรียนรู้ ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเน ขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด และมาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด มีความบกพร่องมากที่สุด เพราะดู จ ากผลการประเมิน ผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยน (LAS) ของนัก เรีย นชั้น ประถมศึ กษาปีที่ 5 ปี การศึกษา 2555 ดังนั้นผู้วิจัยจึงนาเรื่องรูปสี่เหลี่ยมกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) มาจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2555 และ สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556 ผลปรากฏว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์สูงขึ้น กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุงรูปสี่เหลี่ยมกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ให้เกิดผล ดีอย่างไร วิธีการตรวจสอบซ้า นาสื่อที่ผลิตครั้งแรกไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2555 พบว่า เสียงบรรยายเบาเกินไป แล้วตัวหนังสืออ่านไม่ค่อยชัดเจน ความดึงดูดน้อยเกินไป จึงไม่เป็นที่สนใจ ของนักเรียนเท่าที่ควร จึงทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(LAS)ต่า โดยเฉพาะมาตรฐาน ค 2.1 – ค 2.2 ได้ค่าเฉลี่ย 10.17 และ 16.71 ตามลาดับ ซึ่งต่ากว่ามาตรฐานอื่น ๆ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง จากผลการตรวจสอบซ้าจึงได้นาจุดอ่อนมาวิเคราะห์และปรับปรุงในเรื่อง รูปแบบเทคนิคการ ทานวัตกรรมของด้านคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ได้ปรับให้มีความน่าสนใจ ดึงดูดกระตุ้นให้นักเรียนยากที่ เรียนมากยิ่งขึ้น จึงได้ใช้นักเรียนกลุ่มเดิมแต่จะขึ้นชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556 พบว่า ผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สูงขึ้นคิด เป็นร้อยละ 4.26 และมาตรฐาน ค 2.1 – ค 2.2 สูงขึ้นเป็นที่น่าพอใจ การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ เผยแพร่บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง รูปสี่เหลี่ยม ได้แก่โรงเรียนต่าง ๆ ภายในจังหวัดกาญจนบุรีและทางอินเทอร์เนต ดังนี้ 1. โรงเรี ย นบ้ านช่อ งสะเดา (การไฟฟ้า ฝ่ ายผลิ ตอุ ปถัมภ์) อ าเภอเมือ งกาญจนบุ รี จังหวัดกาญจนบุรี 2. โรงเรียนบ้านท่าโป่ง อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 3. โรงเรียนบ้านตะเคียนงาม อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 4. โรงเรียนบ้านท่ามะนาว อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 5. โรงเรียนบ้านหนองสามพราน อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ~8~
6. โรงเรียนหนองสองตอน อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 7. โรงเรียนบ้านจันอุย อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 8. โรงเรียนบ้านทุ่งมังกะหร่า อาเภอเมืองห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี เว็ปไซต์ที่เผยแพร่โปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ดังนี้ ที่ 1 2 3
ชื่อเว็บไซต์ ครูบ้านนอก.คอม ครูวันดีดอทคอม วิชาการ.คอม
เว็บไซต์ http://www.kroobannok.com http://www.kruwandee.com http://www.vcharkarn.com
รางวัลที่ได้ - รางวัลที่ 2 การประกวดสื่อการสอนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ ประเภทบุคคลทั่วไป ในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติประจาปี 2556 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
~9~
ประมวลภาพกิจกรรมพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
~ 10 ~
รางวัลที่ 2 การประกวดสื่อการสอนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ คอมพิวเตอร์ ประเภทบุคคลทั่วไป ในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติประจาปี 2556 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
~ 11 ~
รางวัล – เกียรติบัตร
~ 12 ~