BEST PRACTICE นายประสาร จันทร์เพียร ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดชุกพี้ สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

Page 1

1

ผลงานนวัตกรรม Best Practice 1. ชื่อผลงาน Best Practice นวัตกรรม

“การพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน ด้วยลิเกไทยโดยน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”

2.ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา Best Practice 2.1 ชื่อผู้พัฒนา Best Practice

นายประสาร จันทร์เพียร

2.2 โรงเรียนวัดชุกพี้ เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาบ้านใหม่ระดับขยายโอกาส 2.3 โทรศัพท์ 086-1609267 E-mail prasan7007@hotmail.com Facebook ลิเกโรงเรียนวัดชุกพี้ ผอ.ประสาร จันทร์เพียร 3. หลักการและเหตุผล เนื่องจากปัจจุบันนี้กระแสวัฒนธรรมจากต่างชาติและความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีได้แทรกซึม เข้าสู่ในสังคมไทยอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างในกลุ่มเยาวชนและวัยรุ่นไทยได้มีการยอมรับวัฒนธรรมของ ชาติอื่นและและสื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ดังกล่าวจนลืมความเป็นไทยทาให้คนในสังคมขาดคุณธรรมและจริยธรรม มีสภาพจิตใจและพฤติกรรมเสี่ยงไปในทางที่ไม่ดี ก่อให้เกิดปัญหายาเสพติด ปัญหาเด็กติดเกมส์ พฤติกรรม ก้าวร้าวรุนแรง ขาดสัมมาคารวะและความสัมพันธ์ระบบเครือญาติลดลง และปัญหาอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งเป็น ปัญหาสังคมตามที่ปรากฏในข่าวหน้ าหนังสือพิมพ์และสื่อต่าง ๆ ซึ่งทุกหน่วยงานทุกองค์กรควรร่วมมือกัน แก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน โรงเรียนวัดชุกพี้เห็นว่า นาฏดนตรีหรือลิเกก็เป็นศาสตร์ทางดนตรีนาฏศิลป์ไทยแขนงหนึ่ง ที่ถือได้ว่า เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของไทยที่มีมาแต่โบราณ เยาวชนคนไทยจึงควรอนุรักษ์สืบทอดเจตนารมณ์ของบรรพ บุรุษไทย ผู้ใดที่เข้าถึงดนตรีจะเป็นผู้มีสมาธิ ละเอียดอ่อน นุ่มนวล ละมุนละไม สุภาพอ่อนโยน เป็นคนดีมี คุณธรรมจริยธรรม จึงได้ส่งเสริมนักเรียนทั้งในและนอกสังกัดทุกระดับให้ได้มีกิจกรรมทางวัฒนธรรมได้ทา ร่วมกันเพื่อลดเวลาว่าง ทั้งนักเรียนปกติแ ละนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ให้สามารถแสดงศักยภาพและ สร้างสรรค์และเผยแพร่ผลงานด้านคุณธรรมจริยธรรม วัฒนธรรม ภาษาผ่านการแสดงวัฒนธรรมทางดนตรีและ นาฏศิลป์พื้นบ้านภาคกลางประเภทนาฏดนตรีหรือลิเก ส่งเสริมให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ฝึกซ้อม การแสดงดนตรีไทยและนาฏศิลป์ประเภทนาฏดนตรีหรือลิเก โดยจัดตั้งเป็นชุมนุมและชมรม “นาฏดนตรี (ลิเก)” ใช้ชื่อคณะว่า “ลิเกโรงเรียนวัดชุกพี้คอนแวนต์ ” เพื่อเยาวชนได้สัมผัสแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใกล้ชิด วัฒนธรรมชุมชนอีกทั้งยังช่วยแก้ปัญหาวัยรุ่นและสร้างชื่อเสียงให้ท้องถิ่นอีกด้วย


2

4. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา Best Practice เชิงปริมาณ ๑. นักเรียนโรงเรียนวัดชุกพี้ โรงเรียน ในระดับชัน้ มัธยมศศึกษาตอนต้นได้เรียนนาฏศิลป์พื้นบ้าน ( ลิเก) จานวน ๑๓๓ คน เชิงคุณภาพ ๑. นักเรียนในระดับชั้นมัธยมจานวน ๑๓๓ คน มีพัฒนาการและสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปวัฒนธรรม พื้นบ้าน(ลิเก)

ทางด้าน

๒. เยาวชนทุก ๆ คน ร่วมกิจกรรมใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ห่างไกล อบายมุข ๓. นักเรียนมีความสนใจ และร่วมมือกันในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย ๔. นักเรียนกล้าแสดงออกในทางสร้างสรรค์ ในด้านนาฏศิลป์ไทย ๕. นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ๖. นักเรียนสามารถน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการดาเนินชีวิตควบคู่กับลิเกไทย วัตถุประสงค์ ๑. นกเรียนมีคุณลักษะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตที่ต้องการทั้ง ๘ ข้อเพื่อให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองดีของสังคม และ ประเทศ อันได้แก่ ๑.๑ เป็นผู้มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๑.๒. เป็นผู้มีความซื่อสัตย์ สุจริต ๑.๓ เป็นผู้มีระเบียบ วินัย ๑.๔ เป็นผู้มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ๑.๕ เป็นผู้อยู่อย่างพอเพียง ๑.๖ เป็นผู้มีความมุ่งมั่นในการทางาน ๑.๗ เป็นผู้มีความรักความเป็นไทย ๑.๗ เป็นผู้มีจิตสาธารณะ


3

๒. เพื่อจัดกิจกรรมให้เยาวชนได้ทาร่วมกัน ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๓.

เพื่อสร้างชื่อเสียงให้แก่โรงเรียนและชุมชน

๔. เพื่อสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการในการส่งเสริมเยาวชนให้มีคุณธรรมจริยธรรมโดยผ่านกิจกรรมการแสดงทาง วัฒนธรรมของไทย ๕. เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงคุณค่าทางวัฒนธรรมของการแสดงดนตรีนาฏศิลป์ประเภทนาฏดนตรีหรือลิเกอย่างทั่วถึง และนาหลักธรรมคาสอนที่ได้จากบทละครในการแสดงไปใช้ในการดาเนินชีวิตทั้งในฐานะผู้แสดงและผู้ชม ๖.

เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนได้มีกิจกรรมทางวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ

๗.

เพื่อให้เยาวชนกล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้อง มีความสามารถพิเศษและเสริมสร้างบุคลิกภาพ

๘.

เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับโรงเรียนให้มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากขึ้น

๙.

เพื่อให้เยาวชนอนุรักษ์และสืบสานศิลปวัฒนธรรมให้คงอยู่ในสังคมไทย

๑๐. เป็นผู้ห่างไกลยาเสพติด และอบายมุขทั้งปวง ๑๑. นักเรียนสามารถมีรายรายระหว่างเรียน ลดภาระของผู้ปกครอง ๑๒.นักเรียนสามารถนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดานินวิถีชีวิต และ สามารถดาเนิน ชีวิตในสังคมได้อย่างเป็นสุข ๕. ระยะเวลา เป็นโครงการต่อเนื่องเริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ถึง ปีการศึกษา ๒๕๕๘ สถานที่ดาเนินการ ณ โรงเรียนวัด ชุกพี้ รายละเอียดตามปฏิทินปฏิบัติงาน


4

ปฏิทินการปฏิบัติงานในแต่ละช่วงปีการศึกษา ตั้งแต่ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘ ระยะเวลา กิจกรรม ๑. เสนอขออนุมัติ โครงการ ๒. ประสานงานที่ปรึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการ ดาเนินงาน/ประชุม ๓. ประสานงานวิทยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ความรู้ ๔. ประชาสัมพันธ์ โครงการ ประสานงาน โรงเรียนและชุมชนต่าง ๆ ๕. ดาเนินการฝึกสอน ฝึกซ้อมดนตรีไทยและการ แสดงนาฏดนตรีหรือลิเก ๖. เสนอจัดแสดงนาฏ ดนตรีหรือลิเกสัญจรตาม โรงเรียนและหน่วยงานต่าง ๆ ๗. จัดพิธีครอบครู ไหว้ครู ตามวัฒนธรรมประเพณี ๘. สรุป/ประเมินผล นาเสนอและรายงาน

ปีการศึกษา ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘ เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค.


5

6. ความเชื่อมโยง สนองกลยุทธ์สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 2 14 15 สนองกลยุทธ์สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ที่ 2 ข้อ 3 ละ 5 สนองกลยุทธ์ของโรงเรียน ข้อ 5.2 5.3 และ จุดเน้นข้อที่ 1 และ 2 7. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีนามาในการพัฒนา Best Practice แนวคิดในการนานวัตกรรม มาใช้ในการ การพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน โดยเฉพาะการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม และการการพัฒนาสมองซีกซ้าย เพื่อให้นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม หลักสูตร

8. กระบวนการพัฒนา Best Practice 8.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา Best Practice ไปใช้ ปีการศึกษา 2555

นักเรียน จานวน

133 คน

ปีการศึกษา 2556

นักเรียน จานวน

123 คน

8.2 ขั้นตอนในการพัฒนา Best Practice 8.2.1 ขั้นออกแบบนวัตกรรม - ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการของชุมชนตามบริบทของโรงเรียน - ศึกษาหลักการ แนวคิด ที่เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนนามาประยุกต์ใช้ - ออกแบบนวัตกรรม โดยนาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ที่เหมาะกับบริบทของโรงเรียนโดย ดาเนินการดังนี้ ๑. เสนอขออนุมตั ิโครงการ ๒. ประชาสัมพันธ์โครงการ ประสานงานโรงเรี ยนและชุมชนต่าง ๆ ทั้งในและนอกเขตพื้นที่


6

การศึกษาที่สนใจร่ วมชมกิจกรรมการแสดงภูมิปัญญานาฏดนตรี สัญจรฯ ๓. ดาเนินการฝึ กสอนฝึ กซ้อมดนตรี ไทยและการแสดงนาฏดนตรี หรื อลิเกตามบริ บททางวัฒนธรรม ใน โรงเรี ยน ๔. ประสานงานวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ความรู ้และฝึ กปฏิบตั ิศิลปวัฒนธรรมด้านการดนตรี ไทย เพลงพื้นบ้าน พิธีกรรม เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกายที่ใช้ในการแสดงนาฏดนตรี หรื อลิเก ๕. จัดแสดงนาฏดนตรี หรื อลิเกในโรงเรี ยนและชุมชน บันทึกเทปโทรทัศน์เผยแพร่ ออกอากาศทางเคเบิ้ล ทีวที วั่ โลกโดยมีนกั เรี ยนและชุมชนร่ วมชมการแสดง ๖. จัดแสดงนาฏดนตรี หรื อลิเกในชุมชน องค์กร หน่วยงานต่าง ๆ ที่สนใจและมีความประสงค์ให้ทาการ แสดงตามเวลา โอกาส ความสะดวกและสถานที่ ที่เหมาะสม ๗. จัดแสดงนาฏดนตรี หรื อลิเกสัญจรตามโรงเรี ยนและหน่วยงานต่าง ๆ ที่สนใจร่ วมกิจกรรมและสามารถ รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการแสดงได้ ๘.

จัดพิธีครอบครู ไหว้ครู ตามวัฒนธรรมประเพณี การแสดงในโรงเรี ยน

๙.

สรุ ป/ประเมินผล นาเสนอโครงงานและรายงานผล

9. ผลของความสาเร็จ ที่เกิดจากการพัฒนา Best Practice 9.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ในปีการศึกษา 2555 ผลสาเร็จต่อนักเรียน 9.1.1 รางวัลประกวดการสวดมนต์ สรภัญญะ ของสภาวัฒนธรรม อาเภอท่าม่วง 9.1.2 ผลของการประเมินคุณภาพภายนอก ได้ในระดับ ดี 9.1.3 ผลของการเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้นทุกวิชา 9.1.4 ชนะเลิศการประกวดนาฏศิลป์พื้นบ้านจังหวัดกาญจนบุรี 9.1.5 เข้าร่วมการแข่งขันการประกวดลิเกระดับประเทศ ณ กระทรวงวัฒนธรรม 9.1.6 นักเรียนมีความประพฤติเรียบร้อย มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร


7

ทั้ง ๘ ประการ 9.1.7 เหรียญทองการแข่งขันศิลปหัตถกรรม ราวงมาตรฐาน 9.1.8 เหรียญทองการแข่งขันเครื่องร่อน 9.1.9 เหรียญทองการแข่งขันร้องเพลงไทยลูกทุ่งทั้ง ชาย หญิง 9.1.10 นักเรียนได้รับคัดเลือกจากกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นตัวแทนของภาคกลาง 9.1.11 เป็นตัวแทนเขตพื้นที่การศึกษาในการนาเสนอทางด้านทั้งดนตรี และ นาฏศิลป์ในงานพิธี ต่างๆ ผลสาเร็จต่อโรงเรียน 9.1.12 โรงเรียนได้คัดเลือกเป็นโรงเรียนดี ศรีตาบล 9.1.13โรงเรียนได้ผ่านการประเมินการประกันคุณภาพภาพนอก โดย สมศ. 9.1.14 โรงเรียนได้รับคัดเลือกเป็นสถานศึกษางานเฝ้าระวังวัฒนธรรม 9.1.15 โรงเรียนได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนต้นแบบปฏิรูปการศึกษา 9.1.16 โรงเรียนได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนคุณธรรมชั้นนา 9.1.17 โรงเรียนได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนวิถีพุทธบ้านกัลยาณมิตร 9.1.18 ได้รับคัดเลือกเป็นศูนย์วัฒนธรรมประจาตาบล

การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ รูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) 10.1 ทาง Web size www. Chukkapee.com 10.2 ทาง Face book. “ ลิเกโรงเรียนวัดชุกพี้”ผอ. ประสาร จันทร์เพียร 10.3 ทางFace book “ โรงเรียนวัดชุกพี้” 10.4 ทาง หนังสือ ราชาวดี ของสานักงานเขตตรวจราชการที่ 6 10.5 ทางสถานีโทรทัศน์ ช่อง 11 กาญจนบุรี


8

10.6 จากสถานีโทรทัศน์ เคเบิลทีวี กาญจนบุรี รายการ ที่นี่บ้านเรา 10.7 ทาง YOUTUBE “โรงเรียนวัดชุกพี้ 10.8 ทาง youtube

“ ลิเกโรงเรียนวัดชุกพี้ “

10.9 ทางหนังสือพิมพ์ ท้องถิ่นของจังหวัดกาญจนบุรี และหนังสือพิมพ์ เดลินิวส์


9

ภาคผนวก


10

ประวัติลิเก โรงเรียนวัดชุกพี้

โรงเรียนวัดชุกพี้ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรีเขต 1

กระทรวงศึกษาธิการ


11

ประวัติความเป็นมา ที่ตั้ง

โรงเรียนวัดชุกพี้ตั้งอยู่ หมู่ที่1 ตาบลม่วงชุม อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

ลักษณะภูมิประเทศ มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม น้าขังตลอดปี อยู่บริเวณเขื่อนแม่กลองพื้นที่เหมาะต่อการทา นา เนื่องจากมีความอุดมสมบูรณ์ ด้วยแหล่งน้า

สภาพแวดล้อม เนื่องจากสภาพเป็นพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม ประชากรจึงตั้งบ้านเรือนเป็น หมู่ 7 บริเวณริม ถนน. ซึ่งไม่ไกลจากโรงเรียนนัก. การคมนาคม ไปมาสะดวกตลอดปี


12

การประกอบอาชีพ ส่วนใหญ่ทานา า70 % ที่รับจ้างและทางานโรงงานในหมู่บ้านไกล่เคียงส่วนใหญ่มี ฐานะปานกลาง ถึง ยากจน จึงเป็นปัญหาในการส่งบุตรหลานเข้าโรงเรียน โรงเรียนวัดชุกพี้ มีจานวนนักเรียน ทั้งสิ้น 230 คน มีครูทาการสอน 17 คน เปิด สอน 3 ระดับ คือ ระดับอนุบาล . ระดับประถมศึกษา. และมัธยมศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน

นาย ประสาร จันทร์เพียร

การก่อตังคณะลิเกโรงเรียนวัดชุกพี้ เดิมที่เดียวรงเรียน วัดชุกพี้ เปิดสอน 2 ระดับคือ อนุบาล และประถมศึกษาเมื่อผู้ อานวยการ ประสาร จันทร์เพียร ย้ายมาดารงตาแหน่ง ในปี พ.ศ.2546

ได้ขอหมายขึ้นเลื่อนขั้น มัธยม ปีที่3. ซึง้ สภาพที่เศรษฐกิจของผู้ปกครอง ไม่สามารถจะส่งบุตรหลาน เรียน ต่อไปในระดับมัธยมได้จึ้งได้คิดริเริ่ม ในการก่อตั้งวงดนตรีไทย


13

โดยขอยืมอุปกรณ์ฝึกจากโรงเรียนต่างๆพร้อมทั้งขอบริจาคจากวงปี่พาทย์ที่ยุบวง มาฝึกซ้อม นักเรียน โดยได้อาจารย์ นิมิต ยาจันทร์ ซึ้งเป็นบุคคลที่มีความรู้และความชานาญมาช่วย ฝึกซ้อมหลังเลิกเรียนการเรียนดนตรีไทยของนักเรียน เกิดทักษะได้รวดเร็วมาก ประกอบ กับ ชุมชนและผู้ปกครองให้ความสนับสนุน จนมีชอ่ื เสียงระบือไกล มีผตู้ ดิ ต่อไป แสดงงาน ต่างๆ เช่น งานศพ งานจ้าวงานพิธีทางศาสนา มากมาย นักเรียนสามารถมีรายได้ระหว่างเรียนได้ เป็นอย่างดี

ต่อมาโรงเรียนได้วิวัฒนาการ โดยการ ฝึกซ้อมราในงานพิธีต่างๆ เป็นชุดๆ เช่นรา พรายชุมพล ราทะแยมอญ ราเพลงช้าเพลงเร็ว ไปพร้อมกับการออกงานของวงปี่พาทย์


14

โรงเรียน ก็อีกเช่นกัน มีผู้นิยมติดต่อไปแสดงตามงานต่างๆ มากอีกเช่นเคย จนมีชอ่ื เสียงไปไกล พร้อมกับวงปี่พาทย์ของโรงเรียน

การฝึกวงดนตรีไทยโรงเรียนวัดชุกพี้


15

การฝึกท่าราในระยะแรก ยังไม่อ่อนช้อยเท่าที่ควร

เนื่องจากการแต่งกายของผู้แสดงคล้ายกับผู้แสดงลิเก จึงมีผู้เข้าใจผิด คิดว่าวงลิเก มีผู้ติดต่อไป แสดงลิเกตามงานต่างๆ บ่อยครั้ง โรงเรียนจึงได้คิดดัดแปลง โดยฝึกลิเกให้กับนักเรียน โดยได้เชิญ ผู้รู้ และวิทยากรมาให้ความรู้แก่นักเรียนได้แก่ 1.คูณครูเกตแก้ว ดาขา (ครูลิเกจังหวัดกาญจนบุรี) 2.คุณครูสาราญ

สุขารมย์

(ครูลิเกบ้านโป่ง)

3.คุณครูสุรชัย

พรเพชร

(ครูลิเกกระต่ายขาว)

4.คุณครูวาสนา

เหลืองประเสริฐ

5. คุณครูเพิ่มพูน

(ครูลิเกจังหวัดกาญจนบุรี)

พึ่งพระเดช (ครูลิเกจังหวัดกาญจนบุรี)

6. คุณครูชยากร น้าแข็งใส

ครูลิเกจังหวัดนครสวรรค์

7. ลิเกคณะ ประทานพร วัยรุ่น จังหวัดกาญจนบุรี 8. นายธนากร พรจาเนียร ลิเกจาก อ. บ้านโป่ง จ. ราชบุรี


16

ได้รับเชิญไปรา ณ สถานที่ต่างๆ


17

เริ่มออกแสดงครั้งแรก แสดงกับพื้นดิน การแต่งกายยังไม่ดีเท่าที่ควร


18

แสดงกลางตลาดโดยยังไม่มีฉากและเวที คุณครูเกตุแก้ว ดาขา คุมการแสดง


19

ต่อมาพัฒนาการแสดงโดยแสดงมีฉาก ผู้แสดงะระเอกคนแรกของคณะคือ เด็กชายวรุต ภัคดีกลุ

ถ่ายร่วมกับคณะครูหลังจากแสดงเสร็จ


20

ต่อมาพัฒนารูปแบบแสดงบนเวทีและเวทีลอยฟ้า


21

ต่อมาปรับปรุงเครือ่ งแต่งกายให้ทันรูปแบบ มีเพชรประดับ


22

ปัจจุบันบรรจุไว้ในหลักสูตรเป็นวิชาเพิ่มเดิม 1.5 หน่วยการเรียน


23

คุณครูลิเกที่โรงเรียนได้เชิญมาให้ความรู้ แก่นักเรียน ล้วนแต่เป็นผู้มีความรู้มากด้วยประสบการณ์ จึงทา ให้ ลิเกโรงเรียนวัดชุกพี้ได้รับความนิยม มีผู้ติดต่อไปแสดงมาก เท่ากับที่ลิเกดังๆ โดยเฉพาได้ไปแสดง ต่างจังหวัดในถิ่นลิเกเช่น อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี. หลายครั้งอีกทั้งสามารถชนะเลิศการประกวดการ แสดง ศิลป์ ท้องถิ่น จังหวัดกาญจนบุรี. ได้รับรางวัล โล่ห์ อันดับ ๑ เมื่อปี 2552 ซึ้งเป็นเกียรติประวัติ.


24

ส่งเข้าแข่งขันในระดับประเทศ


25

ผลงานการก่อตั้งลิเก

โรงเรียนวัดชุกพี้ จังหวัดกาญจนบุรี ผลที่ได้รับ

1. นักเรียน เยาวชนและประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 90 มีพัฒนาการทาง วัฒนธรรมด้านดนตรีนาฏศิลป์ ได้บาเพ็ญตนเป็นพลเมืองดี กระทาความดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี มี คุณธรรมจริยธรรมมากยิ่งขึ้น ได้รับการยอมรับจากสถานศึกษา สังคมและชุมชน 2. นักเรียน เยาวชนและประชาชนได้ตระหนักถึงคุณค่าทางวัฒนธรรมและนา หลักธรรมคาสอนที่ได้จากบทละครในการแสดงนาฏดนตรีไปใช้ในการดาเนินชีวิตทั้งในฐานะผู้ แสดงและผู้ชม 3. นักเรียนแสดงออกในทางที่ถูกต้อง มีความสามารถพิเศษและเสริมสร้าง บุคลิกภาพที่ดี ห่างไกลอบายมุขและสิ่งยั่วยุต่าง ๆ 4. นักเรียนและเยาวชนมีกิจกรรมทางวัฒนธรรมและนาไปพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ 5. ชุมชนและโรงเรียนมีร่วมมือกันและมีความสัมพันธ์อันดีใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น 6. นักเรียนและเยาวชนมีใจรักในความเป็นไทยและร่วมสืบสานศิลปวัฒนธรรม 7. โรงเรียนและชุมชนได้รับชื่อเสียงคายกย่องชมเชย 8. นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูร ทั้ง 8 ประการ 9..นักเรียนสามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องโดยเฉพาะการแต่งกลอนสดการใช้คา ราชาศัพท์ 10.นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียนเป็นการให้เด็กได้เรียนจนจบ 11.นักเรียนห่างไกลยาเสพติด 12..นักเรียนอนุรักษ์และห่วงแหนมรดกทางศิลป์และวัฒนธรรมไทย. 13 ..นักเรียนเข้าสู่สังคมด้วยวิถีไทย 14. นักเรียนมีสมาธิในการเรียน โดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น


26

นายประสาร จันทร์เพียร ผู้อานวยการชานาญการพิเศษโรงเรียนวัดชุกพี้ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต 1

“ผู้ก่อตั้งลิเกชุกพีค้ อนแวนต์”


27

การเสนอโครงการขอความอนุเคราะห์ จากภาครัฐ และ เอกชน และหน่วยงานต่างๆ


28

โครงการ “ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนรอบด้านด้วยลิเกไทยโดยน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” หลักการและเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันนี้กระแสวัฒนธรรมจากต่างชาติและความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีได้แทรกซึม เข้าสู่ในสังคมไทยอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างในกลุ่มเยาวชนและวัยรุ่นไทยได้มีการยอมรับวัฒนธรรมของ ชาติอื่นและและสื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ดังกล่าวจนลืมความเป็นไทยทาให้คนในสังคมขาดคุณธรรมและจริยธรรม มีสภาพจิตใจและพฤติกรรมเสี่ยงไปในทางที่ไม่ดี ก่อให้เกิดปัญหายาเสพติด ปัญหาเด็กติดเกมส์ พฤติกรรม ก้าวร้าวรุนแรง ขาดสัมมาคารวะและความสัมพันธ์ระบบเครือญาติลดลง และปัญหาอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งเป็น ปัญหาสังคมตามที่ปรากฏในข่าวหน้าหนังสือพิมพ์และสื่อต่าง ๆ ซึ่งทุกหน่วยงานทุกองค์กรควรร่วมมือกัน แก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน โรงเรียนวัดชุกพี้เห็นว่า นาฏดนตรีหรือลิเกก็เป็นศาสตร์ทางดนตรีนาฏศิลป์ไทยแขนงหนึ่ง ที่ถือได้ว่า เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของไทยที่มีมาแต่โบราณ เยาวชนคนไทยจึงควรอนุรักษ์สืบทอดเจตนารมณ์ของบรรพ บุรุษไทย ผู้ใดที่เข้าถึงดนตรีจะเป็นผู้มีสมาธิ ละเอียดอ่อน นุ่มนวล ละมุ นละไม สุภาพอ่อนโยน เป็นคนดีมี คุณธรรมจริยธรรม จึงได้ส่งเสริมนักเรียนทั้งในและนอกสังกัดทุกระดับให้ได้มีกิจกรรมทางวัฒนธรรมได้ทา ร่วมกันเพื่อลดเวลาว่าง ทั้งนักเรียนปกติและนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ให้สามารถแสดงศักยภาพและ สร้างสรรค์และเผยแพร่ผลงานด้านคุณธรรมจริยธรรม วัฒนธรรม ภาษาผ่านการแสดงวัฒนธรรมทางดนตรีและ นาฏศิลป์พื้นบ้านภาคกลางประเภทนาฏดนตรีหรือลิเก ส่งเสริมให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ฝึกซ้อม การแสดงดนตรีไทยและนาฏศิลป์ประเภทนาฏดนตรีหรือลิเก โดยจัดตั้งเป็นชุมนุมและชมรม “นาฏดนตรี (ลิเก)” ใช้ชื่อคณะว่า “ลิเกโรงเรียนวัดชุกพี้คอนแวนต์ ” เพื่อเยาวชนได้สัมผัสแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใกล้ชิด วัฒนธรรมชุมชนอีกทั้งยังช่วยแก้ปัญหาวัยรุ่นและสร้างชื่อเสียงให้ท้องถิ่นอีกด้วย วัตถุประสงค์ ๑.

เพื่อแก้ปัญหาเยาวชน ให้ห่างไกลจากอบายมุข

๒. เพื่อจัดกิจกรรมให้เยาวชนได้ทาร่วมกัน ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ๓.

เพื่อสร้างชื่อเสียงให้แก่โรงเรียนและชุมชน

๔. เพื่อสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการในการส่งเสริมเยาวชนให้มีคุณธรรมจริยธรรมโดยผ่านกิจกรรมการแสดงทาง วัฒนธรรมของไทย ๕. เพื่อให้เยาวชนตระหนักถึงคุณค่าทางวัฒนธรรมของการแสดงดนตรีนาฏศิลป์ประเภทนาฏดนตรีหรือลิเกอย่างทั่วถึง และนาหลักธรรมคาสอนที่ได้จากบทละครในการแสดงไปใช้ในการดาเนินชีวิตทั้งในฐานะผู้แสดงและผู้ชม


29

๖.

เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนได้มีกิจกรรมทางวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ

๗.

เพื่อให้เยาวชนกล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้อง มีความสามารถพิเศษและเสริมสร้างบุคลิกภาพ

๘.

เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนกับโรงเรียนให้มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากขึ้น

๙.

เพื่อให้เยาวชนอนุรักษ์และสืบสานศิลปวัฒนธรรมให้คงอยู่ในสังคมไทย

วิธีการดาเนินงาน ๑. เสนอขออนุมัติโครงการ ๒. ประชาสัมพันธ์โครงการ ประสานงานโรงเรียนและชุมชนต่าง ๆ ทั้งในและนอกเขตพื้นที่การศึกษาที่สนใจ ร่วมชมกิจกรรมการแสดงภูมิปัญญานาฏดนตรีสัญจรฯ ๓. ดาเนินการฝึกสอนฝึกซ้อมดนตรีไทยและการแสดงนาฏดนตรีหรือลิเกตามบริบททางวัฒนธรรม ใน โรงเรียน ๔. ประสานงานวิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ความรู้และฝึกปฏิบัติศิลปวัฒนธรรมด้านการดนตรีไทย เพลง พื้นบ้าน พิธีกรรม เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกายที่ใช้ในการแสดงนาฏดนตรีหรือลิเก ๕. จัดแสดงนาฏดนตรีหรือลิเกในโรงเรียนและชุมชน บันทึกเทปโทรทัศน์เผยแพร่ออกอากาศทางเคเบิ้ลทีวี ทั่วโลกโดยมีนักเรียนและชุมชนร่วมชมการแสดง ๖. จัดแสดงนาฏดนตรีหรือลิเกในชุมชน องค์กร หน่วยงานต่าง ๆ ที่สนใจและมีความประสงค์ให้ทาการแสดง ตามเวลา โอกาส ความสะดวกและสถานที่ ที่เหมาะสม ๗. จัดแสดงนาฏดนตรีหรือลิเกสัญจรตามโรงเรียนและหน่วยงานต่าง ๆ ที่สนใจร่วมกิจกรรมและสามารถ รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการแสดงได้ ๘.

จัดพิธีครอบครู ไหว้ครู ตามวัฒนธรรมประเพณีการแสดงในโรงเรียน

๙.

สรุป/ประเมินผล นาเสนอโครงงานและรายงานผล

ระยะเวลาและสถานที่ดาเนินงาน เป็นโครงการต่อเนื่องเริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๖ ถึง ปีการศึกษา ๒๕๕๗ สถานที่ดาเนินการ ณ โรงเรียนวัด ชุกพี้ รายละเอียดตามปฏิทินปฏิบัติงาน


30

ปฏิทินการปฏิบัติงานในแต่ละช่วงปีการศึกษา ตั้งแต่ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ ระยะเวลา กิจกรรม ๑. เสนอขออนุมัติ โครงการ ๒. ประสานงานที่ปรึกษา แต่งตั้งคณะกรรมการ ดาเนินงาน/ประชุม ๓. ประสานงานวิทยากร ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้ความรู้ ๔. ประชาสัมพันธ์ โครงการ ประสานงาน โรงเรียนและชุมชนต่าง ๆ ๕. ดาเนินการฝึกสอน ฝึกซ้อมดนตรีไทยและการ แสดงนาฏดนตรีหรือลิเก ๖. เสนอจัดแสดงนาฏ ดนตรีหรือลิเกสัญจรตาม โรงเรียนและหน่วยงานต่าง ๆ ๗. จัดพิธีครอบครู ไหว้ครู ตามวัฒนธรรมประเพณี ๘. สรุป/ประเมินผล นาเสนอและรายงาน

งบประมาณและแหล่งที่มา

ปีการศึกษา ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘ เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค.


31

งบประมาณ ๗๒,๐๐๐ บาท (เจ็ดหมื่นสองพันบาทถ้วน) ซึ่งมีรายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ ๑. เป็นค่าวิทยากรท้องถิ่น เหมาจ่ายเดือนละ ๖,๐๐๐ บาท จานวน ๑๒ เดือน รวมเป็นเงิน ๗๒,๐๐๐ บาท แหล่งที่มา จากงบประมาณ เรียนฟรี ๑๕ ปี แผนงานพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กลุ่มเป้าหมาย เชิงปริมาณ ๑. นักเรียนโรงเรียนวัดชุกพี้ โรงเรียนอื่น ๆ ชุมชนรวมทั้งเด็กและเยาวชนอื่นที่อยู่นอกสถานศึกษา ผู้สนใจนาฏดนตรีจานวน ๑๓๓ คน ๒. นักเรียนโรงเรียนวัดชุกพี้และเยาวชนในชุมชนแสดงนาฏดนตรีหรือลิเกได้

๑๓๓ คน

เชิงคุณภาพ ๑. นักเรียน เยาวชนและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ ๘๐ มีพัฒนาการและสร้างสรรค์ผลงาน ทางด้านศิลปวัฒนธรรม และเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม ๒. นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร่วมกิจกรรมใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ห่างไกล อบายมุข ๓. นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่สนใจให้ความร่วมมือในกิจกรรม ๔. นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ให้ความสนใจและเห็นความสาคัญของนาฏดนตรี (ลิเก) ๕. หน่วยงานและห้างร้านต่าง ๆ ให้การสนับสนุน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. นักเรียน เยาวชนและประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ ๙๐ มีพัฒนาการทางวัฒนธรรมด้าน ดนตรีนาฏศิลป์ ได้บาเพ็ญตนเป็นพลเมืองดี กระทาความดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรมมากยิ่งขึ้น ได้รับการยอมรับจากสถานศึกษา สังคมและชุมชน ๒. นักเรียน เยาวชนและประชาชนได้ตระหนักถึงคุณค่าทางวัฒนธรรมและนาหลักธรรมคาสอนที่ได้ จากบทละครในการแสดงนาฏดนตรีไปใช้ในการดาเนินชีวิตทั้งในฐานะผู้แสดงและผู้ชม


32

๓. นักเรียนแสดงออกในทางที่ถูกต้อง มีความสามารถพิเศษและเสริมสร้างบุคลิกภาพที่ดี ห่างไกล อบายมุขและสิ่งยั่วยุต่าง ๆ ๔. นักเรียนและเยาวชนมีกิจกรรมทางวัฒนธรรมและนาไปพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ๕. ชุมชนและโรงเรียนมีร่วมมือกันและมีความสัมพันธ์อันดีใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น ๖. นักเรียนและเยาวชนมีใจรักในความเป็นไทยและร่วมสืบสานศิลปวัฒนธรรม ๗. โรงเรียนและชุมชนได้รับชื่อเสียงคายกย่องชมเชย ๘. นักเรียนมีรายได้ระหว่างเรียน

กลุ่มเยาวชนและผู้ที่รับผิดชอบโครงการ นักเรียนในชมรม ชุมนุมนาฏดนตรี (ลิเก) สมาชิกชมรม เยาวชนเข้าในชุมชน คณะครูโรงเรียน วัดชุกพี้ และผู้ประสานงานโครงการ นายนิมิตร ยาจันทร์ ที่ปรึกษาโครงการ คณะผู้บริหาร ครู อาจารย์โรงเรียนวัดชุกพี้ และวิทยากรภูมิปัญญาชุมชน ครูผู้ประสานงานและรับผิดชอบโครงการ

........................................... (นายประสาร จันทร์เพียร) ผู้อานวยการโรงเรียนวัดชุกพี้ ผู้อนุมัติโครงการ


33

ผลของการใช้ นวัตกรรม การพัฒนาผู้เรี ยนรอบด้ านด้ วยลิเกไทย


34

ผลการประเมิน รอบที่ 3 โดย สมศ.

ตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพนอกจาแนกตามกลุ่มตัวบ่งชี้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย

น้าหนัก

คะแนน

ระดับ

คะแนน

ที่ได้

คุณภาพ

ตัวบ่งชี้ที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย

๕.00

๔.๕0

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย

๕.00

๔.๕0

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ ๓ เด็กมีพัฒนาด้านสังคมสมวัย

๕.00

๔.๕0

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย

๑0.00

๙.00

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ ๕ เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป

๑0.00

๘.00

ดี

ตัวบ่งชี้ที่ ๖ ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู่ ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ

๓๕.00

๓0.00

ดี

ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการ พัฒนาสถานศึกษา

๑๕.00

๑๒.00

ดี

ตัวบ่งชี้ที่ ๘ ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพ ภายใน

๕.00

๓.๗๕

ดี

กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน

กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์


35

ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/ วิสัยทัศน์ พันกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา

๒.๕๐

๑.๕๐

ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผล สะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา

๒.๕๐

๑.๕๐

พอใช้

ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อ ส่งเสริมบทบาทของ สถานศึกษา

๒.๕๐

๒.๐๐

ดี

ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อ ยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความ เป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

๒.๕๐

๒.๐๐

ดี

คะแนนรวม

๑๐๐.๐๐

๘๓.๒๕

ดี

พอใช้

กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม

การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา ระดับการศึกษาปฐมวัย ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้น ไป ไม่ใช่  มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไปอย่างน้อย ๑๐ ตัวบ่งชี้ จาก ๑๒ ตัว บ่งชี้ ไม่ใช่  ไม่ใช่ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุง เร่งด่วน ไม่ใช่ ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย 

สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

ใช่ ใช่ ใช่


36

ตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพระดับดีขึ้นไป ได้แก่ ลาดับ

ตัวบ่งชี้ที่

ชื่อตัวบ่งชี้

ระดับคุณภาพ

ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

ดีมาก

ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึง ประสงค์

ดีมาก

ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/ วิสัยทัศน์

ดีมาก

พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ๔

๑๐

ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน เป็น

ดีมาก

เอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๕

๑๑

ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท

ดีมาก

ของสถานศึกษา ๖

๑๒

ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตร

ดีมาก

ฐานรักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่ สอดคล้องกับแนวทางการปฎิรูปการศึกษา ๗ ๘ ๙

ผู้เรียนมีความใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง

ดี

ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น

ดี

ประสิทธิผลของการจักการเรียนการสอนที่เน้นผุ้เรียน

ดี

เป็นสาคัญ ๑๐

ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศักษา

ดี


37

ตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพต่ากว่าระดับดี ได้แก่ ลาดับ

ตัวบ่งชี้ที่

ชื่อตัวบ่งชี้

ระดับคุณภาพ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผุ้เรียน

พอใช้

พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดย

พอใช้

สถานศักษา จุดเด่น ๑. ผู้เรียนมีสมรรถภาพทางกายแข็งแรง สมบุรณ์ รุ้จักดุแลตนเองให้มีความปลอดภัย มีอารมณ์สุนทรีย์ชื่น ชอบและปฏิบัติด้านดนตรี นาฏศิลป์ได้อย่งมืออาชีพ มีคุณธรรม ความกตัยญญูต่อผู้ปกครอง เชื่อฟัง ปฏิบัติ ตามระเบียบวินัยของโรงเรียน รุ้จักบาเพ็ญประโยชน์ เพื่อสังคมมีความใฝ่รุ้เรียนผ่านประสบการณ์ตรงร่วมกัผู้ อื่น ๒. สถานศักษาพัฒนาผู้เรียนได้ตามวิสัยทัศน์ทุกประการที่กาหนดในอัตลักษณ์และสะท้อนเอกลัฏษณ์ด้าน การอุนรักษ์ศิลปวัฒนธรรมไทย ด้านดนตรี นาฏศิลปะ ราไทย ลิเก และโขน เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง ๓. ผู้บริหารประสบสาเร็จในการบริหารแบบบูรณาการมีส่วนร่มของผู้เกี่ยวข้องทุกฝายพัฒนางานวิชาการ ด้านหลักสูตรท้องถิ่นได้โดดเด่น บริหารงบประมาณและการจัดการทั่วไปได้มีประสิทธิภาพ ๔.

ตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกจาแนกเป็นรายมาตรฐานตามกฎกระทรวงฯ

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

น้าหนัก

คะแนน

ระดับ

(ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา)

(คะแนน)

ที่ได้

คุณภาพ

ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีคุณภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

10.00

9.58

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึง ประสงค์

10.00

9.56

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

10.00

8.69

ดี

ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น

10.00

8.86

ดี

ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน

20.00

8.86

พอใช้

มาตรฐานที่ 1 ผลการจัดการศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน


38

กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/ วิสัยทัศน์ พันธกิจ

5.00

5.00

ดีมาก

5.00

5.00

ดีมาก

5.00

5.00

ดีมาก

5.00

4.30

ดี

5.00

5.00

ดีมาก

10.00

8.00

ดี

5.00

3.65

พอใช้

100.00

81.50

ดี

และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผล สะท้อนเป็นเอกลักษณ์ กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อ ส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 2 การบริหารจัดการศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการ พัฒนาสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อ ยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการ ปฏิรูปการศึกษา มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มาตรฐานที่ 4 ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายใน โดยสถานศึกษาและต้นสังกัด รวมคะแนนทั้งหมด


39

ประมวลภาพการนานวัตกรรม “ การพัฒนาผู้เรียนรอบด้านด้วย ลิเกไทย” มาใช้ในโรงเรียนวัดชุกพี้


40

นาฬิกา เข้ าร่ วมการประกวดลิเกระดับประเทศ หอประชุมกระทรวงวัฒนธรรม


41

เข้ าร่วมการประกวดลิเกระดับประเทศ หอประชุมกระทรวงวัฒนธรรม


42

การเผยแพร่ ทางวัฒนธรรม ตัวแทนสถาบันทางการศึกษาของจังหวัดกาญจนบุรี


43

แสดงให้ สานักงานขนส่ งจังหวัดกาญจนบุรีชม เพื่อขอบคุณที่จัดการอบรมการขับขี่ปลอดภัย


44

บรรยายเรื่ องสถานศึกษาที่จัดเป็ นศูนย์ วัฒนธรรม ที่หอสมุดราชมัคลาภิเษก


45

การบรรยายการอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมไทย


46

ไปเผยแพร่ ผลงานทางด้ านลิเก ที่องค์ การบริหารส่ วนจังหวัดสมุทรปราการ


47

เผยแพร่ สัมภาษณ์ ออกรายการต้ นกล้ า ที่จังหวัดสมุทรปราการ


48

กรมส่ งเริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม มาประเมินการจัดการเรียนการสอนลิเก และประเมินเป็ นตัวแทนการแสดงของภาคกลาง


49

กรมส่ งเริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม มาประเมินการจัดการเรียนการสอนลิเก และประเมินเป็ นตัวแทนการแสดงของภาคกลาง


50

รับมอบหมายจากกระทรวงวัฒนธรรมเป็ นตัวแทนการแสดงผลงานทางวัฒนธรรมของภาคกลาง


51

รับมอบหมายจากกระทรวงวัฒนธรรมเป็ นตัวแทนการแสดงผลงานทางวัฒนธรรมของภาคกลาง


52

การเยี่ยมชมการจัดการเรี ยนการสอนลิเก โดยจัดไว้ ในวิชาเพิ่มเติม 1.5 หน่ วยกิต


53

ไปแสดงผลงานที่เทศบาลบางพลี(งานโยนบัว)


54

เผยแพร่ ผลงานที่ศุกร์ นีท้ ่ เี มืองกาญจน์


55

กิจกรรมทางวัดและชุมชน

การจัดการเรียนวิชานาฏศิลป์พืน้ บ้ าน ( ลิเก )


56

การจัดการเรียนวิชานาฏศิลป์พืน้ บ้ าน ( ลิเก )


57

การจัดการเรียนการสอนวิชานาฏศิลป์พืน้ บ้ าน(ลิเก) บรรจุลงในวิชาเพิ่มเติม 1.5 หน่ วยกิต


58

การฝึ กซ้ อมทุกเช้ าก่ อนเข้ าเรียน


59

การฝึ กซ้ อมทุกเช้ าก่ อนเข้ าเรียน


60

การจัดการเรียนวิชานาฏศิลป์พืน้ บ้ าน ( ลิเก )


61

การจัดการเรียนวิชานาฏศิลป์พืน้ บ้ าน ( ลิเก )


62

ออกรายการ ดารา แชนแนล ของนก จันทนา


63

ออกรายการ ดารา แชนแนล ของนก จันทนา


64

ผลงานออกสู่สายตาประชาชน


65

ผลงานออกสู่สายตาประชาชน


66

ผลงานออกสู่สายตาประชาชน


67

ผลงานออกสู่สายตาประชาชน


68

ผลงานออกสู่สายตาประชาชน


69

ผลงานออกสู่สายตาประชาชน

ผลงานออกสู่สายตาประชาชน


70

ผลงานออกสู่สายตาประชาชน


71

ผลงานออกสู่สายตาประชาชน


72

ผลงานออกสู่สายตาประชาชน


73


74

การเผยแพร่ 1. ทาง เว็บไซต์ โรงเรียนวัดชุกพี้ www.chukkapee.com


75

2.

ทาง Facebook โรงเรียนวัดชุกพี้ ลิเกโรงเรียนวัดชุกพี้ ผอ.ประสาร จันทร์เพียร


76


77

3.

ทาง www.youtube.com


78


79

4. ทางสถานีวิทยุชุมชน บ้านใหม่ คลื่นสถานี 94.25 Mhz


80

เอกสารหลักฐานผลงาน เกียรติบัตรต่างๆ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.