Best Practice น.ส.เสมอใจ บุญศิริ รร.บ้านแแก่งหลวง

Page 1

รายงาน Best Practice

เพื่อขอรับการประเมินรางวัลทรงคุณคา สพฐ. (OBEC AWORD) ปการศึกษา ๒๕๕๗ ดานครูผูสอนยอดเยี่ยมวิชาการ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูคณิตศาสตรโดย การใชกิจกรรมการเรียนรูแบบซิปปา (CIPPA MODEL)

นางสาวเสมอใจ

บุญศิริ

ครู คศ.๑ โรงเรียนบานแกงหลวง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑


๑. ชื่อผลงาน : การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรโดยการใชกิจกรรมการเรียนรู แบบซิปปา (CIPPA MODEL) กลุมสาระการเรียนรู : คณิตศาสตร ดาน : วิชาการ ๒. ขอมูลทั่วไปของผูพัฒนา BP ชื่อผูพัฒนา BP : นางสาวเสมอใจ บุญศิริ โรงเรียนบานแกงหลวง หมู ๓ ต.เกาะสําโรง อ.เมือง จ.กาญจนบุรี ๗๑๐๐๐ เครือขายสงเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับ...ศูนยพัฒนาคุณภาพการศึกษาเครือขายเกาะสําโรง โทรศัพท ๐๘๗-๑๗๑๘๑๔๒ e-mail : pang-tong2010@hotmail.com ๓. วัตถุประสงคของการพัฒนา BP ๓.๑ เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหพัฒนาความสามารถดานคณิตศาสตรของผูเรียนใหเต็ม ศักยภาพ ๓.๒ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน(LAS) และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน(O-NET) ใหสูงขึ้น ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ระยะเริ่มตนการพัฒนาผูเรียนคือคือภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๖ ๕. ความเชื่อมโยงสัมพันธระหวาง BP กับเปาหมายจุดเนนของ สพป. และสถานศึกษา เปาหมายของสถานศึกษา ขอที่ ๔ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวาเปาหมายที่กําหนดไวทุกคนใน กลุมสาระการเรียนรู ขอที่ ๑๐ นักเรียนมีคุณภาพมาตรฐานการเรียนรู ตามเกณฑที่กําหนด


จุดเนนของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ กลยุทธที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและสงเสริม และความสามารถดานเทคโนโลยีเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรู ขอที่ ๓ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู ๕ กลุมสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นอยางนอยรอยละ ๕ ขอที่ ๕ นักเรียน ครู ผูบ ริหารและบุคลากรทางการศึกษา ไดรับการพัฒนาเตรียมความพรอมสู ประชาคมอาเซียน มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม ๖. แนวคิด/ความเปนมา จากสภาพปจจุบันในการจัดการเรียนรูในวิชาคณิตศาสตรในภาพรวมระดับประเทศยังไมบรรลุจุดมุงหมาย ของหลักสูตร โดยพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรคอนขางต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ซึ่งจากผลการ ประเมินคุณภาพนักเรียนระดับประเทศพบวา ความรูความสามารถในวิชาคณิตศาสตรยังอยูในเกณฑตองปรับปรุง และจากผูที่ศึกษาคนควาไดรับมอบหมายจากทางโรงเรียนใหทําหนาที่จัดการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร พื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒-๓ โรงเรียนบานแกงหลวง พบวาคะแนนเฉลี่ยรายจุดประสงคภายหลังเรียน ของนักเรียนมีคารอยละของระดับผลการเรียนของนักเรียนอยูในเกณฑไมนาพึงพอใจ จากความสําคัญและปญหาดังกลาว ผูศึกษาคนความีความเห็นวาควรมีการศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบ การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู และความสนใจในการเรียน เพราะผลการเรียนรู และความสนใจในการเรียน จะสงผลตอการเรียนรูที่ยั่งยืนของนักเรียนอันเปนพื้นฐานในการเรียนรูตลอดชีวิต ซึ่ง สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา ๒๒ กลาว วา การจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดและถือวาผูเรียนมี ความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ ซึ่งเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ตองการใหผูเรียนไดมีโอกาสในการ สรางองคความรูดวยตนเองไดเรียนรูโดยการลงมือปฏิบัติจริง เนนในเรื่องบทบาทของผูเรียนเปนผูที่สําคัญที่สุดใน การจัดการเรียนการสอนและใหความสําคัญกับการสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิต ผูศึกษาคนควาในฐานะเปนครูสอนคณิตศาสตร ไดตระหนักและเห็นความสําคัญของปญหาดังกลาวที่เกิด ขึ้นกับนักเรียนจึงการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบซิปปา (CIPPA MODEL) มาใชในการจัดการเรียนการสอนวิชา คณิตศาสตร สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒-๓ ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุมเปาหมายในการนําไปใช นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒-๓ โรงเรียนบานแกงหลวง ปการศึกษา ๒๕๕๖


๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา รูปแบบการเรียนการสอนยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง : โมเดล ซิปปา(CIPPA Model) C (Construction) คือ สรางความรูดวยตนเอง I (Interaction) คือ ปฏิสัมพันธบุคคล/แหลงเรียนรู ความหมายของ CIPPA

P (Physical Participation) คือ การเคลื่อนไหว P (Process Learning) คือ เรียนรูกระบวนการ A (Application) คือ นําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน

๑..ขั้นทบทวนความรูเดิม ๒.ขั้นแสวงหาความรูใหม ๓.ขั้นการศึกษาทําความเขาใจขอมูล/ความรู ใหม และเชื่อมโยงความรูใหมกับความรูเดิม ขั้นตอนสําคัญ CIPPA

๔.ขั้นการแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจกับ ๕.ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู ๖.ขั้นการแสดงผลงาน ๗.ขั้นประยุกตใชความรู


การใชรูปแบบการสอนแบบซิปปา (CIPPA MODEL) ศึกษาสภาพปจจุบันปญหา

ศึกษาขอมูลรายบุคคล

แบงนักเรียนออกเปนกลุมเกง ปานกลาง ออน

จัดทําแผนการดําเนินงาน

ดําเนินงานตามแผน

บรรลุวัตถุประสงค

ไม

พัฒนาแกไขปรับปรุง ใช

ประเมินผลการเรียนรู

สรุปรายงาน

จากการที่ผูสอนไดรับการมอบหมายใหจัดการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน ภาคที่ ๑ ป การศึกษา ๒๕๕๖ โดยมีจํานวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒-๓ จํานวน ๒๖ คน มีขั้นตอนการดําเนินงานตามนี้ ๑. ขั้นการทบทวนความรูเดิม เปนการสนทนาซักถามถึงกิจกรรมที่เคยเรียนรู หรือพื้นความรูของนักเรียนในเรื่องที่จะ ดําเนินการสอน


๒.ขั้นการแสวงหาความรูใหม ใหนักเรียนไดรูจักแหลงที่จะคนหาความรู เชน แหลงเรียนรูในโรงเรียนไมวาจะเปนหองสมุด สื่อเอกสาร มุมประสบการณตาง ๆ หรือแหลงเรียนรูในทองถิ่น เชน ภูมิปญญา สถานที่สําคัญในชุมชน เปนตน ๓.ขั้นการศึกษาทําความเขาใจขอมูล/ความรูใหมและเชื่อมโยงความรูใหมกับความรูเดิม เปนกิจกรรมที่จัดใหผูเรียนไดนําความรูที่ไดจากการศึกษาคนความาทําความเขาใจแลวใชกระบวนการ คิดในการประมวลขอมูลที่รับเขามาใหมกับขอมูลเดิมทําใหเกิดองคความรูใหม หรือสิ่งใหม ๔.ขั้นการแลกเปลี่ยนความรูความเขาใจกับกลุม เปนกิจกรรมที่ผูเรียนเมื่อไดเรียนรูแลว นําองคความรูนั้นมาแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อสะทอนความคิดของ ตน ๕.ขั้นการสรุปและการจัดระเบียบความรู เพื่อใหผูเรียนจดจําสิ่งที่เรียนไดงาย เปนกิจกรรมสรุปรวมกัน โดยสังเคราะหสิ่งที่ไดเรียนรู ๖.ขั้นการแสดงผลงาน เปนกิจกรรมเสนอสิ่งที่เรียนรูในรูปของการจัดกิจกรรม ๗.ขั้นการประยุกตใชความรู นําความรูไปใชใหเกิดประโยชน หรือเพื่อแกปญหาในสิ่งที่ตองการคําตอบตอไป ๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP ๗.๓.๑ ตรวจใบงาน/แบบฝก ๗.๓.๒ ประเมินการนําเสนอผลงาน ๗.๓.๓ ประเมินพฤติกรรมการทํางานรายบุคคล ๗.๓.๓ สังเกตความมีวินัย ใฝเรียนรู และมุงมั่นในการทํางาน ๘. ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชรูปแบบการสอนแบบซิปปา เปนกิจกรรมที่มีความสอดคลอง กับความตองการของผูเรียน ทําใหผูเรียนมีความสนใจและกระตือรือรนในการรวมกิจกรรม ไดลงมือปฏิบัติจริง ทําใหเกิดการสรางองคความรูและแกปญหาโดยใชกระบวนการกลุมเปนเครื่องมือ สวนดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร จากแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร หลังจากที่ไดดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดวยรูปแบบการสอนแบบซิปปา แลวพบวา คาเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรสูงขึ้น


๘.๑ ผลสําเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนมีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ประจําปการศึกษา ๒๕๕๖ จากรอยละ ๒๒.๘๙ เพิ่มขึ้นเปนรอยละ ๒๘.๕๖ เมื่อเทียบกับปการศึกษา ๒๕๕๕ ซึ่งพัฒนาขึ้นมาจากเดิม ๕.๖๗ และอยูในลําดับที่ ๒ จากจํานวนโรงเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ทั้งหมด ๓๘ โรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ และคะแนนเฉลี่ยสูง กวาระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับจังหวัด และระดับประเทศอีกดวย ๘.๒ ผลสําเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนเขารวมการแขงขันโครงงานคณิตศาสตร ประเภท 2 ระดับชั้น ม.๑-๓ ในงานศิลปหัตถกรรม นักเรียนของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ไดรับรางวัลระดับเหรียญทอง รองชนะ เลิศอันดับ ๑ ๘.๓ ความพึงพอใจของผูเกี่ยวของตอ BP ทําการสํารวจความพึงพอใจ และเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรของผูเรียน ผูบริหาร และ ผูปกครอง ๘.๔ ประสบการณที่เกิดขึ้นจากการนําวิธีการไปใช ๘.๔.๑ นักเรียนมีเจตคติที่ดี และมีความกระตือรือรนในการเรียนวิชาคณิตศาสตร ๘.๔.๒ นักเรียนมีความรูความสามารถ มีทักษะในการคิดวิเคราะห และมีความมุงมั่นในการทํางาน ๘.๔.๓ นักเรียนประสบความสําเร็จไดรับรางวัลในการเขาแขงขันทางวิชาการในระดับกลุมโรงเรียน และระดับเขตพื้นที่การศึกษา ๘.๔.๔ ผูปกครองใหความรวมมือและสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการพัฒนาความสามรถดาน คณิตศาสตรของผูเรียนใหเต็มศักยภาพ ๙. ขบวนการทบทวน กลั่นกรอง ตรวจสอบ ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้ํา BP สํารวจความพึงพอใจ และมีเจตคติที่ดีในวิชาคณิตศาสตรของผูเรียนและผูปกครอง ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้ําเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP ผูสอนออกแบบการจัดการเรียนรูแบบซิปปา (CIPPA MODEL) แลวนําเสนอตอผูเชี่ยวชาญให ทําการตรวจสอบกระบวนการและทดลองใชจนเกิดผล


๙.๓ นํามาใชและพัฒนาขั้นตอนกระบวนการใหเหมาะสมกับผูเรียน ๑๐. รูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ/เผยแพร และการขยายผล การเผยแพร โดยเอกสารในกลุมเครือขายและในระดับเขตพื้นที่การศึกษา การขยายผล ผูบริหารสถานศึกษาและครูผูสอนในโรงเรียนบานแกงหลวง นําแนวคิดและหลักการไปจัดการเรียนการ สอนกลุมสาระการเรียนรูตางๆ เพื่อใหผูเรียนไดรับการพัฒนาเต็มศักยภาพอยางตอเนื่องและมีความสุข นําไปสู การเรียนรูอยางยั่งยืนตอไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.