ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice)
การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพือ่ การเรียนรูท้ ยี่ งั่ ยืน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice)
ผลงานการปฏิบัตงิ านที่เป็นเลิศ ( Best Practice : BP )
๑. ชื่อผลงาน BP การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพื่อการเรียนรู้ที่ยั่งยืน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ด้าน บริหารจัดการยอดเยี่ยม ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชือ่ ผู้พัฒนา BP นายวรรณชัย นิลผึ้ง ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ ๒.๒ โรงเรียน
วัดหนองเสือ ตาบลวังศาลา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาต้อนต้น
๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘๖ – ๐๖๙๘๘๑๙ ๒.๔ ความเป็นมาเพื่อการพัฒนา BP
E– mail : nillwan2504@gmail.com
คณิตศาสตร์มบี ทบาทอย่างยิ่ง ต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทาให้มนุษย์มีความคิดอย่าง มีเหตุผล เป็นระบบระเบียบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน รอบคอบ คณิตศาสตร์ยังช่วยพัฒนาคนให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความสมดุล ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญาและอารมณ์ สามารถคิดเป็นทาเป็นแก้ปัญหาเป็น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข ปัจจุบั นการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ย่ อมจะต้องมีปัญหาผู้เรี ยนขาดทัก ษะ ความรู้ ความเข้าใจในการคิดคานวณ และไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้หรือตัวชี้วัดการเรียนรู้ เนื่องจาก ความแตกต่างระหว่างบุคคล สภาพท้องถิ่น และโอกาสในการศึกษาเล่าเรียน ครูผู้สอนจึงต้องหา แนวทางแก้ไข/พัฒนา เพื่อช่วยให้นักเรียนได้มโี อกาสเรียนรู้ตามความสามารถของตน การพัฒนาทักษะด้านการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ช่วยให้นักเรียนมีเจตคติที่ดี ต่อคณิตศาสตร์ และทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึ้น โดยครูต้องมีการบริหาร จัดการชั้นเรียนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รู้จักผู้เรียน การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ซึ่งการดาเนินการดังกล่าวสามารถเชื่อมโยง/สัมพันธ์กับเป้าหมาย จุดเน้นของสพป./สพฐ. และ หลั ก สู ต รสถานศึ กษา ที่ ว่า คณิ ต ศาสตร์ ท าให้ ม นุ ษ ย์มี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ คิ ด อย่ า งมี เ หตุ ผ ล คิดอย่างเป็นระบบ มีระเบียบแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบ ถี่ถ้ วน สามารถคาดการณ์ วางแผน ตั ดสิ นใจแก้ ปัญ หาได้ เพื่อ จะนาไปใช้ พัฒ นาคุณ ภาพชี วิ ต รวมทั้งใช้เป็นพืน้ ฐานและเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ต่อไปในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์
การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพือ่ การเรียนรูท้ ยี่ งั่ ยืน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) ตามแนวการจัดการเรียนรู้ ตาม พ.ร.บ. ๒๕๔๒ โดยเน้นความสาคัญ ๓ ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านทักษะ/กระบวนการ ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม และแนวการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้สอนควรคานึงถึงความสนใจ ความถนัดของผู้ เรียน และความแตกต่างของ ผู้เรียน การจัดสาระการเรียนรู้จงึ ควรจัดให้มหี ลากหลาย ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความ สนใจ รูปแบบของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรมีหลากหลายไม่ว่าจะเรียนรวมกันทั้งชั้น เรียนเป็นกลุม่ ย่อย เรียนเป็นรายบุคคล สถานที่จัดก็ควรมีทั้งในห้องเรียน นอกห้องเรียน บริเวณ สถานศึกษา มีการจัดให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาในแหล่งวิทยาการต่าง ๆ ที่อยู่ในชุมชนหรือในท้องถิ่น จัด ให้ สอดคล้ องกับ เนื้อ หาวิช าและความเหมาะสมกับ ผู้เ รี ยนเพื่ อ ให้ ผู้เ รีย นมีผ ลการเรีย นรู้ ได้ มาตรฐานตามที่หลักสูตรกาหนดในการจัดกิจกรรมการเรียนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองได้ลงมือ ปฏิบัติจริง ผู้สอนควรฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็ น รู้จักบูรณาการความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดองค์ ความรู้ใหม่ รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ฝึกให้ผู้เรียนรู้ จัก ประเมินผลงานและปรับปรุงงาน ตลอดจนสามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตและอยู่ ในสังคมได้อย่างมีความสุข เพื่อให้การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ประสบความสาเร็จ จึงได้จัดกิจกรรมบริหาร จัด การชั้ นเรีย นคณิต ศาสตร์เ พื่อ การเรีย นรู้ ที่ยั่ งยื นให้บ รรลุวั ตถุ ประสงค์ และเป้า หมายตามที่ กาหนด ๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๓.๑ เพื่อพัฒนาทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางคณิตศาสตร์ให้หลากหลาย ๓.๒ เพื่อให้มเี จตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ ๓.๓ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึน้ ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเวลาเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลา ที่ใช้ในการพัฒนา BP) ระยะเวลาในการพัฒนาจะพัฒนาตลอดปีการศึกษา ดาเนินการต่อเนื่องทุกปีการศึกษา โดยมี การปรับและพัฒนาตลอดเวลา
การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพือ่ การเรียนรูท้ ยี่ งั่ ยืน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice)
๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้น ของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา การพัฒนาทักษะด้านการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ช่วยให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อ คณิตศาสตร์ และทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึน้ โดยครูต้องมีการบริหารจัดการ ชั้นเรียนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รู้จักผู้เรียน การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เ รียน ซึ่งการ ดาเนินการดังกล่าวสามารถเชื่อมโยง/สัมพันธ์ กับเป้าหมาย จุดเน้นของสพป./สพฐ.และหลักสูตร สถานศึกษา ที่ว่า คณิตศาสตร์ ทาให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผลคิดอย่างเป็น ระบบ มีร ะเบีย บแบบแผน สามารถวิเคราะห์ ปัญหาและสถานการณ์ได้ อย่างรอบคอบ ถี่ถ้ว น สามารถคาดการณ์วางแผน ตัดสินใจแก้ปัญหาได้ เพื่อจะนาไปใช้พัฒนาคุณภาพชีวิต รวมทั้งใช้ เป็นพืน้ ฐานและเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ต่อไป ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP การพัฒนา BP ใช้แนวคิด หลักการ และทฤษฏี ในการจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ ตาม แนวการจัดการเรียนรู้ตาม พ.ร.บ. ๒๕๔๒ โดยเน้นความสาคัญ ๓ ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้าน ทักษะ/กระบวนการ ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม และแนวการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพือ่ การเรียนรูท้ ยี่ งั่ ยืน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) เป็นสาคัญ ผู้สอนควรคานึงถึงความสนใจ ความถนัดของผู้เรี ยน และความแตกต่างของผู้เรียน การจัดสาระการเรียนรู้จงึ ควรจัดให้มหี ลากหลาย ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจ รูปแบบของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรมีหลากหลายไม่ว่าจะเรียนรวมกันทั้งชั้นเรียน เป็ น กลุ่ม ย่ อ ย เรี ยนเป็ น รายบุ คคล สถานที่จั ด ก็ ค วรมี ทั้ งในห้ องเรี ยน นอกห้ อ งเรี ย น บริ เ วณ สถานศึกษา มีการจัด ให้ผู้เรียนได้ไปศึกษาในแหล่งวิทยาการต่าง ๆ ที่อยู่ในชุมชนหรือในท้องถิ่น จัดให้ สอดคล้องกั บเนื้อ หาวิช าและความเหมาะสมกับผู้เ รียนเพื่อให้ผู้เรี ยนมีผ ล การเรีย นรู้ไ ด้ มาตรฐานตามที่หลักสูตรกาหนด ในการจัดกิจกรรมการเรียนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ได้ลง มือปฏิบัติจริง ผู้สอนควรฝึกให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น รู้จักบูรณาการความรูต้ ่าง ๆ เพื่อให้เกิดองค์ ความรู้ใหม่ รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ฝึกให้ผู้เรียนรู้จัก ประเมินผลงานและปรับปรุงงาน ตลอดจนสามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตและ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพือ่ การเรียนรูท้ ยี่ งั่ ยืน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวน กลุ่มเป้าหมาย) ประเภทของกลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนวัดหนองเสือ จานวนกลุ่มเป้าหมาย ๑๖ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) ศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาในหลักสูตร กาหนดแผนการเรียนรู้ตามหลักสูตร วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ดาเนินการพัฒนา สรุปผลและประเมินผล ๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) วิธีการ ตรวจสอบคุณภาพ BP ใช้แบบประเมินผล แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน กลุ่ ม เป้ า หมายที่ ส ร้ า งขึ้ น แบบประเมิ น ความพึ ง พอใจน าผลการประเมิ น ที่ ไ ด้ ม าวิ เ คราะห์ เปรียบเทียบ ปรับปรุง เพื่อดูคุณภาพ ของ BP ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ นักเรียนมีเจตคติ ที่ดีต่อคณิตศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ ทาง การเรียนคณิตศาสตร์สูงขึน้ ดูจากแบบสังเกตพฤติกรรมและความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย
การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพือ่ การเรียนรูท้ ยี่ งั่ ยืน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์และนักเรียนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวันได้ ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ ๙๐ มีความสาเร็จในการเรียนคณิตศาสตร์และมีเจตคติ ที่ดี ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนคณิตศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์สูงขึน้ ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้ที่ เกี่ยวข้องและวิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) นักเรียนร้อยละ ๙๐ มีความพึงพอใจในระดับมาก – มากที่สุด ได้มาจากแบบสังเกตความ พึงพอใจโดยให้ผู้เรียนเป็นผูป้ ระเมิน ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุข้อบกพร่องแต่ละขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุงแก้ไข และหา รูปแบบใหม่ ๆ ที่น่าสนใจมาเสนอ ให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนแล้วดาเนินการซ้า ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนสามารพัฒนาการเรียนคณิตศาสตร์ได้ดีขึ้น และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ และนาไปใช้ได้อย่างยั่งยืน ๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวัน เวลาและรูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) นักเรียนที่สนใจคณิตศาสตร์ เข้าร่วมแข่งขันตอบปัญหาทักษะทางคณิตศาสตร์ในหลาย ๆ โครงการ ประสบผลสาเร็จบ้างในบางโครงการ และได้เผลแพร่ผลงานให้แก่ครู ผู้สอนคณิตศาสตร์ ในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาชาววัง และโรงเรียนในเขตอาเภอท่าม่วงที่สนใจ เวปไซด์
การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพือ่ การเรียนรูท้ ยี่ งั่ ยืน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice)
ประมวลภาพการดาเนินการพัฒนา BP การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพือ่ การเรียนรูท้ ยี่ งั่ ยืน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice)
ใบประกาศเกียรติคุณ
การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพือ่ การเรียนรูท้ ยี่ งั่ ยืน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice)
ใบประกาศเกียรติคุณ การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพือ่ การเรียนรูท้ ยี่ งั่ ยืน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice)
ผลงานความสาเร็จ การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพือ่ การเรียนรูท้ ยี่ งั่ ยืน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ผลงานการปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice)
การบริหารจัดการคณิตศาสตร์เพือ่ การเรียนรูท้ ยี่ งั่ ยืน กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์