BEST PRACTICE นายรัชช์สิทธิ์ ทิพยาลัย ผู้อำนวยการโรงเรียนดิศกุล สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

Page 1

วิธีปฏิบัติสู่ความเป็นเลิศ ( Best Practice ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมการบริหารโรงเรียนสู่มาตรฐานด้วย “DISSAKUL MODEL”

นายรัชช์สิทธิ์ ทิพยาลัย ผู้อานวยการโรงเรียนดิศกุล

โรงเรียนดิศกุล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต๑ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


๒ วิธีปฏิบัติทเี่ ป็ นเลิศ (Best Practice) ด้ านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน นวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้ วย “DISSAKUL MODEL” โรงเรียนดิศกุล สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ........................................................ ๑.ชื่อผลงาน Best Practice นวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย “DISSAKUL MODEL” ด้าน ( )วิชาการ ( )บริ หารจัดการศึกษา ( /) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน ๒. ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้พฒ ั นา BP ๒.๑ นายรัชช์สิทธิ์ ทิพยาลัย ๒.๒ ตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรี ยนดิศกุล วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๒.๓โทรศัพท์ ๐๓๔-๖๔๔๑๓๔ โทรสาร๐๓๔-๖๔๔๒๔๐ โทรศัพท์มือถือ ๐๘๑-๘๕๗๙๗๖๙ E-mail rutsit@hotmail.co.th ๓. เป้าหมาย / วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา BP เป้ าหมาย คือ พัฒนาโรงเรี ยนดิศกุลมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อเป็ นเครื่ องมือในการบริ หารจัดการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรี ยนดิศกุล ๒) เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของเด็กนักเรี ยนโรงเรี ยนดิศกุล ๓) เพื่อปลุกฝังคุณธรรม จริ ยธรรม วัฒนธรรมไทยและวีถีชีวติ ที่พอเพียงและห่างไกลยาเสพติด ให้กบั เด็กนักเรี ยน ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ปี การศึกษา ๒๕๕๖ ถึงปี การศึกษา ๒๕๕๘ ๕. ความเชื่อมโยง/ความสั มพันธ์ ระหว่าง BPกับเป้าหมาย/จุดเน้ นของสพป./สพฐ./สถานศึกษา BP มี ค วามเชื่ อมโยงกับ เป้ าหมายของโรงเรี ย นดิ ศ กุ ล สพป.กจ ๑ และสพฐ.คื อ ผูเ้ รี ย นทุ ก คนได้รั บ การศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและปลูกฝังคุณธรรมความสานึก ความในความเป็ นไทย มี วิถีชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและห่างไกลยาเสพติด ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ ในการพัฒนา BP การพัฒนา Best Practice(BP) ในครั้งนี้ ได้นาแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนาBPคือ ๑) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย ๕ ส่ วน ดังนี้


๓ ส่ วนที่ ๑. กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาที่ช้ ี แนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบตั ิตนในทางที่ควรจะเป็ น โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถี ชี วิตดั้งเดิ ม ของสั งคมไทย สามารถนามาประยุก ต์ใ ช้ได้ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิ งระบบที่ มีก าร เปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อความมัน่ คง และความยัง่ ยืนของการพัฒนา ส่ วนที่ ๒. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนามาประยุกต์ใช้กบั การปฏิบตั ิตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบตั ิบน ทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอน ส่ วนที่ ๓. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ ดังนี้ ความพอประมาณ หมายถึ ง ความพอดีที่ไม่น้อยเกิ นไป และไม่มากเกิ นไปโดยไม่เบียดเบียน ตนเอง และผูอ้ ื่น เช่นการผลิต และการบริ โภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึ งถึ งผลที่คาดว่าจะเกิ ดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่าง รอบคอบ การมีภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และ ไกล ส่ วนที่ ๔. เงื่อนไข การตัดสิ นใจและการดาเนิ นกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูใ่ นระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู ้ และ คุณธรรมเป็ นพื้นฐาน ๒ เงื่อนไข ดังนี้ เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนาความรู ้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่ อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้น ปฏิบตั ิ เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ สุ จริ ต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวติ ส่ วนที่ ๕. แนวทางปฏิบตั ิ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุล และยัง่ ยืน พร้อมรับ ต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่ งแวดล้อม ความรู ้ และเทคโนโลยี ๒) หลักสู ตร D.A.R.E. เป็ นหลักสู ตรการสร้างภูมิคุม้ กันต้านยาเสพติดในสถานศึกษาสาหรับนักเรี ยนชั้น ประถมศึกษาปี ที่ ๕ และปี ที่ ๖


๔ D.A.R.E. หมายถึง Drug = ยาเสพติด Abuse = การใช้ในทางที่ผดิ Resistance = การต่อต้าน Education = การศึกษา เป็ นหลักสู ตรที่มุ่งมัน่ พัฒนาผูเ้ รี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๕ และปี ที่ ๖ ให้มีความรู้ความสามารถและ ทักษะชี วิตตลอดจนคุณลักษณะที่จะช่ วยส่ งเสริ มภูมิคุม้ กันและป้ องกันปั ญหายาเสพติด มีการดาเนิ นชี วิต สามารถ ปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงโดยมีกระบวนการคิดและการตัดสิ นใจเหมาะสมสามารถดาเนิ น ชีวติ อยูใ่ นสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุ ข หลักการสาคัญของ D.A.R.E.คือการให้ขอ้ มูลและทักษะที่จาเป็ นแก่เด็กนักเรี ยนเพื่อให้สามารถใช้ชีวิติได้ โดยไม่ตอ้ ง ยุ่งเกี่ ยวกับ ยาเสพติ ด หรื อการใช้ความรุ นแรงสร้ างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างตารวจ เด็กนักเรี ยน ครู ผูป้ กครอง และสมาชิกในชุมชน D.A.R.E.มีวตั ถุประสงค์สาคัญ ๓ ประการ คือ ประการแรก คือ การให้พ้นื ฐานความรู ้ กับนักเรี ยนเกี่ยวกับผลกระทบของการใช้สิ่งเสพติด ซึ่ งนอกจาก ผลกระทบ ที่มีต่อร่ างกายแล้ว ยังมีผลกระทบไปถึงด้านอื่นๆ ในชีวติ ของ นักเรี ยน ได้แก่ดา้ นอารมณ์ สังคม และ เศรษฐกิจอีกด้วย ประการที่สอง โครงการ D.A.R.E. มุ่ง ที่จะสร้ างทักษะและวิธีการในการตัดสิ นใจและการแก้ไขปั ญหา เพื่อให้นกั เรี ยน สามารถตัดสิ นใจได้ บนพื้นฐานของข้อมูลที่ถูกต้องและสามารถต่อต้านการใช้สิ่งเสพติด ตลอดจน แรงกดดันจากเพื่อนร่ วมวัย และการใช้ความรุ นแรงในการแก้ไขปั ญหา ประการสุ ดท้าย ซึ่ งเป็ นส่ วนสาคัญยิง่ ของโครงการ คือ การเสนอทางเลือกให้กบั นักเรี ยนนอกเหนือจากการที่ นักเรี ยนจะหันไปใช้สิ่งเสพติด D.A.R.E. เป็ น โครงการที่มีลกั ษณะเป็ นสากล ถูกออกแบบมาสาหรับใช้กบั นักเรี ยนส่ วนใหญ่ ซึ่ ง แตกต่าง ไปจาก โครงการที่ถูกออกแบบมา เพื่อใช้กบั นักเรี ยนที่จดั อยูใ่ นประเภท “กลุ่มเสี่ ยง” โดยเฉพาะโครงการนี้ มุ่งไปที่ เด็กนักเรี ยนชั้นประถมปี ที่ ๕ และปี ที่ ๖ เป็ นหลัก เนื่ องจากผลการวิจยั จานวนมากชี้ ให้ เห็นว่า เด็กในวัยนี้ เป็ นวัยที่ เปิ ดรับต่อข้อมูล ในการต่อต้านการใช้สิ่งเสพติดได้ดีที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิง่ เด็กในวัยนี้ เป็ นวัยที่ใกล้จะเข้าสู่ ช่วง ของการ ใคร่ รู้ใคร่ ลอง หลักสู ตร D.A.R.E. มุ่งพัฒนาความรู ้และทักษะ ในด้านต่างๆ ๗ ด้าน ได้แก่ ๑) การรับรู ้ขอ้ มูลต่างๆ ๒) การตระหนักถึงแรงกดดัน ๓) ทักษะการปฏิเสธ ๔) การใคร่ ครวญถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทาสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งและความเสี่ ยง ๕) ทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการติดต่อสื่ อสาร ๖) การตัดสิ นใจ ๗) ทางเลือกที่เป็ นประโยชน์


๕ ๓) หลักการแนวการดาเนินงานโครงการสถานศึกษาสี ขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข สถานศึกษาสี ขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข หมายถึง สถานศึกษาที่ปลอดยาเสพติดและปั จจัยเสี่ ยง ทุกชนิดมีการดาเนิ นงานตามนโยบายด้านการป้ องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดและพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ของ กระทรวงศึกษาธิการ แนวทางการดาเนินงาน ๕ มาตรการ กลยุทธ์ ๔ ต้ อง ๒ ไม่ มาตรการ ๕ มาตรการ ๑. มาตรการป้ องกัน สถานศึกษาจัดกิ จกรรมสร้ างสรรค์ตามกลุ่มสนใจ เพื่อเสริ มสร้างความตระหนักและปลุก จิตสานึกไม่ให้นกั เรี ยน นักศึกษาไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ๒. มาตรการค้นหา สถานศึกษาจัดระบบการคัดกรอง จาแนกกลุ่มนักเรี ยน นักศึกษา ออกเป็ น ๕ กลุ่ม คือ กลุ่มปลอด กลุ่มเสี่ ยง กลุ่มเสพ กลุ่มติด และกลุ่มค้า ๓. มาตรการรักษา สถานศึกษาจัดระบบการส่ งต่อกลุ่มเสพ กลุ่มติดเข้าสู่ การบาบัดรักษา ตามระบบสมัคร ใจการนาเข้าสู่ กระบวนการจิตสังคมบาบัดในสถานศึกษาและค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๔. มาตรการเฝ้ าระวัง สถานศึ กษาดาเนิ นการจัดให้มี นัก เรี ย น นักศึ กษาแกนนา ระบบดู แลช่ วยเหลื อ นักเรี ยน นักศึกษา เพื่อเฝ้ าระวังไม่มีการแพร่ ระบาดของยาเสพติด จัดระเบียบพื้นที่เสี่ ยงและ มีการขจัดปั จจัยเสี่ ยง พื้นที่อบั โดยจัดสภาพสิ่ งแวดล้อมที่ไม่ให้เอื้อต่อการไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ๕. มาตรการบริ หารจัดการ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนิ นงานกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ การ ดาเนิ นงาน มีแผนปฏิ บตั ิการ และการอานวยการ กากับ ติดตาม ประเมินผล สรุ ปรายงานแจ้งต้นสังกัด และการ ประสานงานกับทุกภาคส่ วน กลยุทธ์ ๔ ต้ อง ๒ ไม่ สถานศึกษาดาเนินการ ๔ ต้ อง ๑. สถานศึกษาต้องมียุทธศาสตร์ การป้ องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดที่สอดคล้องกับสภาพของปั ญหา และสถานการณ์ในพื้นที่ ๒. สถานศึกษาต้องมีแผนงานป้ องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดในสถานศึกษาที่ตลอดปี การศึกษา ๓. สถานศึกษาต้องมีระบบข้อมูลการดาเนิ นงาน ๔ ด้าน ได้แก่ ระบบด้านการป้ องกัน ระบบด้านการเฝ้ าระวัง ระบบด้านการดูแลช่วยเหลือ และระบบด้านการบริ หารจัดการ ๔. สถานศึกษาต้องมีเครื อข่ายการทางานระหว่างนักเรี ยน นักศึกษา ครู อาจารย์ ผูป้ กครอง ผูน้ าท้องถิ่ น และผูน้ าชุมชน สถานศึกษาดาเนินการ ๒ ไม่ ๑. สถานศึกษาไม่ปกปิ ดข้อมูล กลุ่มเสพ กลุ่มติด และกลุ่มค้ายาเสพติด ๒. สถานศึกษาไม่ผลักปั ญหา ไม่ไล่นกั เรี ยน นักศึกษาออกจากสถานศึกษาให้นาไปบาบัดรักษาเมื่อหาย แล้วให้กลับมาเรี ยนได้ตามปกติ


๖ ๔) ทฤษฎีการเรี ยนรู้การเรี ยนรู้คือกระบวนการที่ทาให้คนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ความคิด คนสามารถ เรี ยนได้จากการได้ยนิ การสัมผัส การอ่าน การใช้เทคโนโลยีการบริ หารแบบมีส่วนร่ วม ความหมายของการเรี ยนรู้ การเรี ยนรู้ (Learning) คือ กระบวนการของประสบการณ์ที่ทาให้เกิดการเปลี่ ยนแปลงพฤติกรรม อย่างค่อนข้างถาวร ซึ่ งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนี้ไม่ได้มาจากภาวะชัว่ คราว วุฒิภาวะ หรื อสัญชาตญาณ การเรี ยนรู ้เป็ นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวร โดยเป็ นผลจากการฝึ กฝนเมื่อได้รับการ เสริ มแรง มิใช่ เป็ นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติที่เรี ยกว่า ปฏิกิริยาสะท้อน (Kimble and Garmezy) การ เรี ยนรู้เป็ นกระบวนการที่ทาให้พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม อันเป็ นผลจากการฝึ กฝนและประสบการณ์ แต่ มิใช่ ผลจากการตอบสนองที่เกิ ดขึ้นตามธรรมชาติ (Hilgard and Bower) การเรี ยนรู้เป็ นการแสดงให้เห็ นถึ ง พฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อันเป็ นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละคนได้ประสบมา (Cronbach) การเรี ยนรู้ เป็ นกระบวนการที่บุคคลได้พยายามปรับพฤติกรรมของตน เพื่อเข้ากับสภาพแวดล้อมตามสถานการณ์ต่าง ๆ จน สามารถบรรลุถึงเป้ าหมายตามที่แต่ละบุคคลได้ต้ งั ไว้ ๕) การบริ หารแบบมีส่วนร่ วมหมายถึงการที่บุคคลในองค์กรหรื อต่างองค์กรได้ร่วมกันเพื่อจัดการงาน ให้บรรลุเป้ าหมายที่ตอ้ งการร่ วมกันอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและสาเร็ จทั้งนี้การมีส่วนร่ วมนั้น ๆจะอยูใ่ นขั้นตอนใด ๆก็ ตามโดยขึ้นอยูก่ บั ความรู ้ ความสามารถประสบการณ์ขอ้ จากัดขององค์กรในแต่ละกระบวนการของการดาเนิ นการ บริ หารเป็ นเกณฑ์ สถานศึ ก ษาเป็ นองค์ก รหนึ่ ง ที่ มี บ ทบาทส าคัญในการหล่ อหลอม สร้ า งคนออกไปรั บ ใช้สั ง คม ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาเป็ นผูท้ ี่มีความสาคัญอย่างยิ่ง โดยมีบทบาทเป็ นผูน้ า ที่จะสามารถนาผูอ้ ื่นให้สามารถทางาน บรรลุ เป้ าหมาย ของการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษาในฐานะเป็ นสัญลักษณ์ขององค์กร จึงเป็ นผูม้ ีบทบาทสาคัญในการ ผลัก ดันการปฏิ รูป การศึก ษา ให้ประสบความสาเร็ จ โดยการยึดการบริ หารโดยใช้ โรงเรี ยนเป็ นฐาน ผูบ้ ริ หาร สถานศึกษาในยุคนี้ตอ้ งมีคุณลักษณะ ในการใช้ทกั ษะ การบริ หารแบบมีส่วนร่ วม มีความรู้ในหลักการบริ หาร หลัก ธรรมาภิบาล การสร้ างทีมงาน จิตวิทยาชุ มชน ความเป็ นผูน้ าทางวิชาการ มีความรอบรู ้ มีวิสัยทัศน์ มีความมุ่งมัน่ ตั้งใจ ที่จะพัฒนาสถานศึกษาสู่ ความเป็ นเลิศ การจัดการศึกษา การบริ หารงานใดๆ จะเกิ ดประสิ ทธิ ผลได้ก็ต่อเมื่อ ผูบ้ ริ หารมี ภาวะผูน้ า กระจายความรั บ ผิดชอบ อย่า งเป็ นธรรมไปสู่ ผูใ้ ต้บ งั คับ บัญชา โดยต้องใช้ภาวะผูน้ าให้ เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ เพื่อให้งานเกิดประสิ ทธิ ผล รู ปแบบการบริ หารแบบมีส่วนร่ วม การบริ หารแบบมี ส่ วนร่ ว ม สามารถสร้ า งความรู ้ สึ ก ที่ ดี ใ นการปฏิ บ ัติ ง าน และการเปิ ดโอกาสให้ ผูร้ ่ วมงานทุกระดับได้ใช้ความรู ้ ความสามารถของตนเองให้เกิ ดประโยชน์ต่อ การปฏิ บตั ิงานและต่อองค์การได้ อย่างเต็มที่ แบบแผนของการมีส่วนร่ วมแบบเหลื่อมล้ า (Inequity participatory pattern) มี ๓ แบบ ๑. แบบชายขอบ (Marginal participatory pattern) ได้แก่ ร่ วมงาน ร่ วมมือ สนับสนุน ร่ วมแสดง ความคิดเห็น แต่ไม่มีอานาจตัดสิ นใจ


๗ ๒. แบบบางส่ วน (Partial participatory pattern) ได้แก่ ริ เริ่ มงาน ร่ วมงาน สนับสนุ น ดาเนินงาน แสดงความคิดเห็น และมีอานาจตัดสิ นใจบ้าง ๓. แบบเต็มที่ (Full participatory pattern) ได้แก่ ริ เริ่ มงาน ดาเนินการ สนับสนุน แสดงความคิดเห็น ร่ วมงานและกิจกรรมและมีอานาจตัดสิ นใจเต็มที่ ๖) การวางแผนระบบการวางแผนหมายความถึ ง กระบวนการบริ หารเชิ งกลยุทธ์ ซึ่ งจะต้องมีก าร กาหนดพันธกิจ ภารกิจหลักของหน่วยงาน และผลลัพธ์ที่คาดหวังจะให้เกิดขึ้นจากผลผลิตที่ได้วางแผนไว้ท้ งั ในแง่ ปริ มาณงาน เวลา คุณภาพ และต้นทุน พร้อมทั้งกาหนดวัตถุประสงค์และวิธีการในการบรรลุถึงวัตถุประสงค์อย่าง ชัดเจนในขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์ เพื่อจะเป็ นกรอบในการกาหนดพันธสัญญาระหว่างหน่วยปฏิบตั ิ การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกาหนดทิศทาง เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการ ให้เกิดขึ้นในอนาคตขององค์การหรื อหน่วยงานโดยเลือกวิธีทางานที่ดีที่สุด มีประสิ ทธิ ภาพมากที่สุด ให้บรรลุผล ตามที่ตอ้ งการภายในเวลาที่กาหนด และการวางแผนนั้นจะพิจารณาในประเด็นที่สาคัญ ๓ ประการ คือ ๑) จุดหมาย ปลายทาง (คืออะไร) ๒) วิธีการดาเนินงาน (ทาอย่างไร) และ ๓) ระยะเวลา (เสร็ จสิ้ นเมื่อไร) ความสาคัญของการวางแผน การวางแผนเป็ นงานหลักและสาคัญในการบริ หารของหน่ วยงานในทุกระดับ เนื่ องจากเป็ นตัวกาหนด ทิศทาง เป้ าหมาย วิธีดาเนิ นการ ที่จะทาให้หน่ วยงานดาเนิ นงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ บรรลุ ตามวัตถุ ประสงค์ที่ ต้องการภายในเวลาที่กาหนด การดาเนิ นงานจะประสบผลสาเร็ จมากหรื อน้อยเพียงใดขึ้นอยูก่ บั การวางแผน หาก วางแผนดีก็เท่ากับดาเนินงานสาเร็ จไปแล้วกว่าครึ่ ง ดังนั้นการวางแผนจึงมีความสาคัญต่อการดาเนินงาน ดังนี้ ๑. การวางแผนเป็ นหน้าที่อนั ดับแรกของผูบ้ ริ หาร ๒. การวางแผนเป็ นแนวทางปฏิบตั ิที่สาคัญ ผูป้ ฏิบตั ิตามแผนสามารถศึกษาเรี ยนรู ้วธิ ี การ ขั้นตอน และกระบวนการทางานได้จากแผนก่อนที่จะลงมือปฏิบตั ิ ๓. แผนและการวางแผนเป็ นตัวกาหนดทิศทางและความรู ้สึกในเรื่ องของความมุ่งหมายสาหรับ องค์การให้ผปู้ ฏิบตั ิงานทุกคนได้รู้ แผนเป็ นกรอบสาหรับการตัดสิ นใจให้ผปู้ ฏิบตั ิได้เป็ นอย่างดี จึงสามารถป้ องกัน มิให้มีการตัดสิ นใจเพื่อแก้ปัญหาแต่ละครั้งไปเท่านั้นด้วย ๔. แผนและการวางแผนจะช่วยให้ผบู ้ ริ หารและผูป้ ฏิบตั ิงาน มองไปในอนาคต และเห็นโอกาสที่ จะแสวงหาประโยชน์หรื อกระทาการต่างๆ ให้สาเร็ จตามความมุ่งหมายได้ ทั้งยังมองเห็ นปั ญหาอุปสรรคและภัย คุกคามต่างๆ เพื่อจะหาทางป้ องกัน ตลอดจนลดภาวะความเสี่ ยงต่างๆ ได้ดว้ ย ๕. การตัดสิ นใจที่มีเหตุผลในการวางแผนนั้น จะมีการตัดสิ นใจเรื่ องต่างๆ ไว้ล่วงหน้า ซึ่ งมีเวลา พอที่จะใช้ท้ งั หลักทฤษฎี แนวความคิด และหลักการ ประกอบกับตัวเลขสถิติและข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมา พิจารณาตัดสิ นใจ จึงทาให้การตัดสิ นใจเป็ นไปอย่างถูกต้องเหมาะสมมีเหตุผลและเป็ นประโยชน์ตามต้องการ ๖. การวางแผนในเรื่ องของการเตรี ยมการไว้ล่วงหน้า เมื่อมีการกาหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ตามความต้องการ กิ จกรรมต่างๆ ที่ จะต้องกระทาให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ และบังเกิ ดผลตามเป้ าหมายนั้นๆ จะต้องได้รับการพิจารณา การตัดสิ นใจในเรื่ องต่างๆ ทั้งวิธีการกระบวนการ ขั้นตอนของการกระทา ทรัพยากรที่ ต้องใช้ เวลา สถานที่และการควบคุมดูแลการทางาน


๘ ๗. การวางแผนมีส่วนช่วยให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงสิ่ งต่างๆ ได้มาก ๘. การวางแผนเป็ นตัวนาในการพัฒนา ประโยชน์ของการวางแผน การวางแผนมีประโยชน์สาคัญหลายประการทั้งต่อผูบ้ ริ หาร ผูป้ ฏิบตั ิ รวมทั้งผูท้ ี่เกี่ยวข้อง ซึ่ งพอสรุ ป ได้ดงั นี้ ๑. ป้ องกันมิให้เกิดปั ญหาและความผิดพลาด หรื อลดความเสี่ ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในการปฏิบตั ิงาน ในอนาคต ๒. ทาให้หน่วยงานมีกรอบหรื อทิศทางในการปฏิบตั ิงานที่ชดั เจนว่าจะทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และใครทา ทาให้นกั บริ หารมีความมัน่ ใจในการปฏิบตั ิงานให้บรรลุผลสาเร็ จได้ง่าย ๓. ช่วยให้เกิดการประหยัดทรัพยากรทางการบริ หาร เช่น คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ เวลา ฯลฯ ๔. ช่วยให้การปฏิบตั ิงานรวดเร็ ว มีประสิ ทธิ ภาพ เพราะมีแผนเป็ นแนวทาง “เปรี ยบเสมือนเรื อที่มี หางเสื อ” ๕. ช่วยให้การปฏิบตั ิงานเป็ นระบบ นักบริ หารสามารถควบคุม ติดตามการปฏิบตั ิงานได้ง่าย ๗) กระบวนการ PDCA หรื อที่เรี ยกว่าวงจรเดมมิ่ง คือวงจรการควบคุมคุณภาพ Plan (วางแผน)Do (ปฏิบตั ิตามแผน)Check (ตรวจสอบการปฏิบตั ิตามแผน)และ Act (ปรับปรุ งแก้ไข) การนา PDCA cycle มาใช้ในกระบวนการปฏิบตั ิงานจะทาอย่างไรเพื่อให้ได้ผลและมีประสิ ทธิ ภาพ ทาอย่างไรให้บุคลากรในองค์กรมีความเข้าใจและตระหนักในการนา PDCA cycle มาใช้ขบั เคลื่อนสาหรับการ ปฏิบตั ิงานของตน ดังนั้นจึงขออธิ บายนิยามของ PDCA cycle ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ๑. P คือ การวางแผน (Plan) การทางาน ซึ่ งเราต้องรู ้วา่ เราจะให้ใครทา (Who) ทาอะไร (What) ทา ที่ไหน (Where) ทาเมื่อไหร่ & มีเวลาเท่าไหร่ (When) ทาอย่างไร (How) ภายใต้งบประมาณเท่าไหร่ (How much) ให้ได้ตามเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ (Purpose) ๒. D คือ การลงมือทา (Do) ปั ญหา มันเริ่ มต้นจากความไม่ชดั เจนของหลายสิ่ งหลายอย่าง เช่ น แม้วา่ ตอนวางแผน จะบอกว่า ให้ใครทา ให้ฝ่ายไหนทาบ้าง แต่ไม่ได้ระบุไปว่าใครเป็ นเจ้าภาพหลัก ทาให้ทีมงาน เกี่ ยงงานกันได้ง่าย ยิ่งหากไม่ชอบขี้ หน้ากันด้วยแล้ว งานยิ่งไม่เดิ นเลย หรื อ ในตอนวางแผนบอกว่า จะต้องใช้ อุปกรณ์แบบนี้ เท่านี้ แต่พอทาจริ ง ปริ มาณไม่พอใช้ เพราะตอนวางแผน มองว่างบประมาณไม่พอเลยตัดโน่น ตัดนี่ จนความเป็ นจริ ง เกิ ดความไม่เพี ยงพอต่อการท างาน ดัง นั้น การแก้ปัญหาเหล่ า นี้ สิ่ ง ที่ ตอ้ งทาในฐานะหัวหน้า ทีมงาน ก็คือ การระมัดระวังในการนาทีม (Directing) ซึ่ งจะเกี่ยวข้อง กับเรื่ อง วิธีการสื่ อสาร (Communication) การ จูงใจให้ทีมงานอยากทางาน (Motivation) และหัวหน้าทีมยังต้องทาหน้าที่เป็ นที่ปรึ กษา (Consulting) ให้กบั ทีมงาน ด้วย รวมถึง ต้องมีการจัดกาลังคน และจัดเตรี ยมทรัพยากรให้เพียงพอต่อการดาเนิ นงาน (Organizing) ให้ดี ก่อนที่ จะดาเนินการลงมือทา (Do) ๓. C คือ การตรวจสอบ งาน (Check) ปั ญหา มันเริ่ มต้นจาก การตรวจสอบนั้นทาได้ง่าย แต่การนา ข้อมูลที่ตรวจสอบไปใช้ ควบคุม การทางานของส่ วนงานนั้นๆ มักเป็ นไปอย่างเชื่ องช้า หรื อ ไม่ได้นาไปใช้เลย และ เมื่อเวลาผ่านไป พนักงานจะมองว่า การตรวจสอบของเขานั้น ไม่เห็นมีความจาเป็ นต้องทาเลย ไม่นานพวกเขาก็จะ


๙ เลิ กทาการตรวจสอบงาน ดังนั้นแนวทางแก้ไข คื อ หัวหน้าที มงาน จะต้องเป็ นผูร้ ับรู้ ผลของการตรวจสอบงาน (Check) ของส่ วนงานในสังกัดทั้งหมด เพื่อจะได้ทาการ เป็ นผูป้ ระสานงาน (Coordinator) นาข้อมูล ไปใช้ในการ ควบคุม ( Control ) ให้ผลงานเป็ นตามแผน และหัวหน้างานยังจาเป็ นต้องดาเนิ นการ ติดตาม การตรวจสอบงาน และควบคุมผลงาน อย่าง ต่อเนื่อง (Continue) สม่าเสมอ เพื่อทาให้ทีมงาน เห็นถึงความสาคัญของงาน ๔. A คือ การปรับปรุ ง แก้ไข งานให้ดีข้ ึน (Act) ปั ญหา คือ ในกรณี ที่ผลงานออกมาไม่ได้ตาม เป้ าหมาย ก็ไม่มีใครทาอะไรต่อ และยิง่ งานได้ตามเป้ าหมายที่วางไว้ พนักงานก็จะทาเหมือนเดิม ซึ่ งทาให้องค์กรไม่ พัฒนา ดังนั้นแนวทางแก้ไข คือ กรณี ที่ทางานไม่ได้เป้ าหมาย หัวหน้าทีมงาน จะต้องทาการปรับแผนงาน (Adjust plan) โดยเน้นในประเด็นวิธีการ (How) และในกรณี ที่ทาได้ตามแผนที่กาหนดไว้ หัวหน้าทีมงาน จาเป็ นที่จะต้องทา การ สั่งการ (Command) ให้ทุกฝ่ าย ตั้งเป้ าหมายให้สูงขึ้น เพื่อที่องค์กรจะได้พฒั นาต่อไปไม่สิ้นสุ ด (Action to improvement) ๗) กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BPไปใช้ คือ ผูบ้ ริ หาร ครู นักเรี ยน และโรงเรี ยนดิศกุล ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP ๗.๒.๑ การออกแบบนวัตกรรม การออกแบบนวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย “DISSAKUL MODEL”กระบวนการ บริ หารงานโรงเรี ยนดิศกุล รุ กด้วยแผนกลยุทธ์ วางแผนการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน โดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สร้ า งภู มิ คุ ้ม กันต้า นยาเสพติ ด พัฒนาการเรี ย นรู ้ ร่ วมกัน ด้ว ยนวัตกรรมใหม่ มี ร ะบบข้อมู ล สารสนเทศที่ทนั สมัย โดยอาศัยทีมงานที่มีคุณภาพ มีตวั ชี้ วดั ที่ชดั เจนและประชาสัมพันธ์ข่าวสารของโรงเรี ยนสู่ สังคมภายนอก ๑. ให้ คากาจัดความของคาว่า “DISSAKUL MODEL” ดังนี้ D = Drug (ยาเสพติด) I = Informantion (ข้อมูลสารสนเทศ) S = Sufficiency Economy (ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง) S = Show (แสดงผลการเผยแพร่ สู่ สาธารณะ) A = Activity (แผนกิจกรรม) K = Know ledge workere (ตัวชี้วดั ความสาเร็ จ) U = Unity (ความสามัคคี)นาทีมร่ วมใจ L = Learning (เรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง)


๑๐ ๗.๒.๒ นานวัตกรรม “DISSAKUL MODEL” มาจัดเรียงลาดับตามกระบวนการบริหารจัดการดังนี้

D

I

S

S

A

K

U

L

Drug

Informantion (ข้อมูล สารสนเทศ)

Sufficiency Economy

Show

Activity

Know ledge workere

Unity

Learning

(ความสามัคคี) นาทีมร่ วมใจ

(เรี ยนรู ้อย่าง ต่อเนื่อง)

(ยาเสพติด)

(ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง)

(แสดงผลการ เผยแพร่ สู่สาธารณะ)

( แผน กิจกรรม)

(ตัวชี้วดั ความสาเร็ จ)

๗.๒.๓ ใช้ กระบวนการ PDCA ในการบริหารจัดการนวัตกรรม “DISSAKUL MODEL” ๑) การวางแผน Plan A (Activity) วางแผนการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการสร้างภูมิคุม้ กันต้านยาเสพติดตามแนวทางการดาเนินงาน ๕ มาตรการ และกลยุทธ์ ๔ ต้อง ๒ ไม่ โดยการ มีส่วนร่ วมของทุกฝ่ าย คือ ครู และบุคลากรทางการศึกษา นักเรี ยน ผูป้ กครองนักเรี ยน คณะกรรมการสถานศึกษา และชุมชน จากการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของสถานศึกษา และความต้องการของชุมชนมา จัดทาแผน กลยุทธ์ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบตั ิการประจาของโรงเรี ยน ๒) ปฏิบตั ิตามแผน Do ปฏิ บ ัติ ง านตามแผน โดยยึ ด หลัก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สร้ า งภู มิ คุ ้ม กัน ต้า นยาเสพติ ด พัฒนาการเรี ยนรู ้ร่วมกันด้วยนวัตกรรมใหม่ มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่ทนั สมัย ด้วยทีมงานที่มีคุณภาพ ดังนี้ S = Sufficiency Economy (ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง) D = Drug (ยาเสพติด) L = Learning (เรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง) I = Informantion (ข้อมูลสารสนเทศ) U = Unity (ความสามัคคี)นาทีมร่ วมใจ ๓) ตรวจสอบ Check ตรวจสอบคุณภาพตามตัวชี้ วดั ที่ K = Know ledge workere (ตัวชี้วดั ความสาเร็ จ) ๔) ปรับปรุ งแก้ไข Action นาผลที่ได้ประชาสัมพันธ์ให้ผมู ้ ีส่วนเกี่ยวข้องทราบและนาที่ได้ไปพัฒนาอย่างยัง่ ยืน S = Show (แสดงผลการเผยแพร่ สู่ สาธารณะ)


๑๑ Flow Chartนวัตกรรมการบริหารโรงเรียนสู่ มาตรฐานด้ วย DISSAKUL MODEL การวิเคราะห์ สภาพ ปัญหาของโรงเรียน Swot Analysis

Plan

(๑) A= Activity ( แผนกิจกรรม) (๒) S = Sufficiency Economy (ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง) (๓) D = Drug (ยาเสพติด)

DO

๑. นักเรี ยนมี ผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรี ยนที่ดีข้ ึน ๒. โรงเรี ยนมีคุณภาพ ตามมาตรฐาน

Feedback

(๔) L = Learning (เรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง) (๕) I = Informantion (ข้อมูลสารสนเทศ)

(๖) U = Unity (ความสามัคคี)นาทีมร่ วมใจ

No

Check (๗) K = Know ledge workere (ตัวชี้ วดั ความสาเร็ จ)

Yes Action

(๘) S = Show (แสดงผลการเผยแพร่ สู่ สาธารณะ)


๑๒ ๗.๒.๔ ขั้นตอนการดาเนินการพัฒนานวัตกรรมโดยใช้ วงจร PDCA วิธีปฏิบตั ินวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย DISSAKUL MODELในการดาเนินการโดยใช้ วงจร PDCA ดังนี้ ๑. การวางแผนPlan(วางแผน) A (Activity) วางแผนการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง และการสร้างภูมิคุม้ กันต้านยาเสพติดตามแนวทางการดาเนินงาน ๕ มาตรการ และกลยุทธ์ ๔ ต้อง ๒ ไม่ โดยการ มีส่วนร่ วมของทุกฝ่ าย คือ ครู และบุคลากรทางการศึกษา นักเรี ยน ผูป้ กครองนักเรี ยน คณะกรรมการสถานศึกษา และชุมชน จากการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกของสถานศึกษา และความต้องการของชุมชนมา จัดทาแผน กลยุทธ์ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบตั ิการประจาของโรงเรี ยน ๑.๑ ศึกษาทาความเข้าใจกระบวนการและสร้างความตระหนักให้แก่ครู และบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง นักเรี ยน ชุมชนและผูม้ ีส่วนได้เสี ยรับทราบแนวคิดของทางโรงเรี ยน ๑.๒ ครู และบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง นักเรี ยน ชุ มชนร่ วมกัน วิเคราะห์ สภาพปั ญหาของโรงเรี ยนดิศกุลจากอดีตถึงปัจจุบนั โดยการจัดทา SWOT Analysis เพื่อค้นหาจุดแข็ง จุดเด่น จุดด้อย ของหน่วยงาน ๑.๓ ครู และบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง นักเรี ยน ชุมชนร่ วมกัน กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้ าหมายของโรงเรี ยน ๑.๔ จัดทาแผนกลยุทธ์ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบตั ิการ เพื่อพัฒนาโรงเรี ยนให้มี มาตรฐาน โดยคานึงถึง “DISSAKUL MODEL” ๒. ปฏิบตั ิตามแผนDo ปฏิ บ ัติ ง านตามแผน โดยยึ ด หลัก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง สร้ า งภู มิ คุ ้ม กัน ต้า นยาเสพติ ด พัฒนาการเรี ยนรู ้ร่วมกันด้วยนวัตกรรมใหม่ มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่ทนั สมัย ด้วยทีมงานที่มีคุณภาพ ดังนี้ S = Sufficiency Economy (ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง) D = Drug (ยาเสพติด) L = Learning (เรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง) I = Informantion (ข้อมูลสารสนเทศ) U = Unity (ความสามัคคี)นาทีมร่ วมใจ ๒.๑ ครู และบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง นักเรี ยนดาเนินงานตาม นวัตกรรม “DISSAKUL MODEL” ๒.๒ จัดตั้งคณะกรรมการดาเนินการภายในโรงเรี ยนและแลกเปลี่ยนการเรี ยนรู ้ซ่ ึ งกันและกัน ๒.๓ ปรับปรุ งและพัฒนาระบบการบริ หาร ๒.๔ พัฒนาครู ตามความต้องการจาเป็ นในการยกระดับคุ ณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรี ยน เพื่อ เพิ่มผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและเพื่อปลุกฝังคุณธรรม จริ ยธรรม วัฒนธรรมไทยและวีถีชีวิตที่พอเพียงและห่ างไกล ยาเสพติดให้กบั เด็กนักเรี ยน


๑๓ ๒.๕ พัฒนาสิ่ งแวดล้อม แหล่งเรี ยนรู ้ ภายในโรงเรี ยน สื่ อให้เอื้อต่อการพัฒนาการเรี ยนการสอน โดยใช้ ICT สนับสนุนการเรี ยนรู้ ๓. ตรวจสอบCheck กากับ ติดตาม และประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพตามตัวชี้วดั ที่ K = Know ledge workere (ตัวชี้วดั ความสาเร็ จ) ๔.ปรับปรุ งแก้ไขAction น าผลที่ ไ ด้ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ผู ้ มี ส่ วนเกี่ ย วข้ อ งทราบ และน าที่ ไ ด้ ไ ปพั ฒ นาอย่ า งยั่ง ยื น S =Show (แสดงผลการเผยแพร่ สู่ สาธารณะ)ประชุ มครู และบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครอง นักเรี ยน ชุ มชนและผูม้ ีส่วนได้เสี ย เพื่อชี้ แจงการพัฒนาคุ ณภาพการศึ กษาและการใช้นวัตกรรมและ นาเสนอผลงานและรายงานผลต่อชุมชน หน่วยงานต้นสังกัดและผูม้ ีส่วนได้เสี ยรับทราบ ๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP นิเทศ กากับ ติดตามโดยผูบ้ ริ หาร และสารวจความพึงพอใจของชุมชน โดยการสังเกตและสัมภาษณ์ ๗.๔ แนวทางนา BP ไปใช้ ประโยชน์ ๑. ผูบ้ ริ หารสามารถนาไปพัฒนาไปพัฒนา ครู และบุคลากรทางการศึกษา นักเรี ยน และโรงเรี ยนได้ตาม จุดประสงค์และเป้ าหมายของโรงเรี ยนได้อย่างครบถ้วน ๒. ครู และบุคลากรทางการศึกษา ดาเนินงานตามแผนงานที่วางไว้ ๓. ผูบ้ ริ หาร กากับ ติดตาม และประเมินผลการทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ๘) ผลสาเร็จทีเ่ กิดจากการพัฒนา BP ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ สถานศึกษา ผูบ้ ริ หาร ครู นักเรี ยน และโรงเรี ยนได้รับการยกย่องเป็ นประกาศเกียรติคุณในระดับ ต่าง ๆ อย่างน้อย ๑ รางวัลต่อปี การศึกษา จนเกิดขวัญและกาลังใจในการปฏิบตั ิงาน ๘.๒ ผลสาเร็จเชิ งคุณภาพ นักเรี ยนได้รับความรู้ มีความสามรถ และอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่างมีความสุ ข ผูเ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเพิ่มขึ้น มีคุณธรรม จริ ยธรรม วัฒนธรรมไทยและวีถีชีวิตที่พอเพียงและห่ างไกลยาเสพติด บุคลากร ทางานได้อย่างสร้ างสรรค์ ตรงตามศักยภาพ ความสามารถ ให้ความร่ วมมือในการปฏิ บตั ิหน้าที่ ทั้งงานการสอน และงานพิเศษอย่างเต็มความสามารถ โรงเรี ยนมีความพร้อมด้วยอาคารสถานที่มีหอ้ งเรี ยน และ ห้องปฏิบตั ิการเพียง พอที่จะใช้เป็ นห้องเรี ยน ได้นาความรู ้ หลัก ปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพี ยงมาใช้ในสถานศึ กษาชุ มชนเกิ ดความ ภาคภูมิใจ ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกีย่ วข้ อง ความพึงพอใจของผูป้ กครองนักเรี ยนต่อการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย DISSAKUL MODEL อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ พบว่า ๑) ด้านวิชาการ ผูป้ กครองนักเรี ยนมีความพึงพอใจในระดับมาก( x =๔.๒๑, S.D.=๐.๕๐) ๒) ด้านบุคลากร ผูป้ กครองนักเรี ยนมีความพึงพอใจในระดับมาก( x =๔.๑๗, S.D.=๐.๔๖)


๑๔ ๓) ด้านอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมในโรงเรี ยนผูป้ กครองนักเรี ยนมีความพึงพอใจ ในระดับมาก( x =๔.๑๑, S.D.=๐.๔๒) ๔) ด้านความสัมพันธ์กบั ชุมชนผูป้ กครองนักเรี ยนมีความพึงพอใจในระดับมาก ( x =๔.๐๑, S.D.=๐.๖๒) ซึ่ งในภาพรวมทั้ง ๔ ด้านผูป้ กครองนักเรี ยนมีความพึงพอใจในระดับมาก ( x =๔.๑๒, S.D.=๐.๕๐) ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์ เรียนรู้ จากการนา BP ไปใช้ การบริ หารโรงเรี ยนตามหลัก DISSAKUL MODEL สาเร็ จเพราะครู ให้ความร่ วมมือ โดยมีปัจจัยแห่ ง ความสาเร็ จดังนี้ ๑) ผูบ้ ริ หาร เป็ นผูน้ าการเปลี่ยนแปลง กล้าคิดกล้าทา กล้าตัดสิ นใจ กล้าเปลี่ยนแปลง มีภาวะผูน้ า มี คุณธรรม และประพฤติเป็ นแบบอย่างที่ดี ๒) ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีการทางานแบบเป็ นที ม ร่ วมคิด ร่ วมประสาน ร่ วมทาจนทาให้งาน สาเร็ จบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมายที่วางไว้ ๓) คณะกรรมการสถานศึกษา ผูป้ กครองนักเรี ยน ผูน้ าชุ มชน ชุมชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้การยอมรับและให้การสนับสนุนด้านงบประมาณในการพัฒนาการศึกษา ๔) ทรัพยากรและแหล่งเรี ยนรู ้ โรงเรี ยนมีความพร้ อมด้านนวัตกรรมต่าง ๆ ด้านวัสดุอุปกรณ์การเรี ยน การสอน สื่ อ และเทคโนโลยี ๘.๔.๑ ผลทีเ่ กิดจากการนานวัตกรรมไปใช้ ผลการดาเนินงานโดยใช้ นวัตกรรมการบริ หารโรงเรี ยนสู่ มาตรฐานด้วย DISSAKUL MODEL ถือเป็ นนวัตกรรมที่สาคัญในการพัฒนาองค์กร และคุณภาพนักเรี ยนโรงเรี ยนมีค วามเชื่ อมัน่ ว่า การบริ หารงานแบบ มีส่วนร่ วมและมีการส่ งเสริ มให้บุคลากรได้ปฏิบตั ิงานอย่างมีคุณภาพทาให้เกิดประสิ ทธิ ภาพในการทางานและเกิด ประสิ ทธิ ผลกับผูเ้ รี ยน มีความสุ ขในการทางาน ส่ งผลให้นกั เรี ยนได้รับความรู ้ มีความสามรถ และอยู่ร่วมกันใน สังคมอย่างมีความสุ ข ผูเ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเพิ่มขึ้น มีคุณธรรม จริ ยธรรม วัฒนธรรมไทยและวีถีชีวิตที่ พอเพียงและห่างไกลยาเสพติด บุคลากรทางานได้อย่างสร้างสรรค์ ตรงตามศักยภาพ ความสามารถให้ความร่ วมมือ ในการปฏิบตั ิหน้าที่ ทั้งงานการสอนและงานพิเศษอย่างเต็มความสามารถ บุคลากรได้รับการยอกย่องเป็ นประกาศ เกี ยรติคุณ จนเกิดขวัญและกาลังใจในการปฏิ บตั ิงานโรงเรี ยนมีความพร้อมด้วยอาคารสถานที่ มีห้องเรี ยน และ ห้องปฏิบตั ิการเพียงพอที่จะใช้เป็ นห้องเรี ยนได้นาความรู ้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียงมาใช้ในสถานศึกษา ชุมชนมีความพึงพอใจ ๘.๔.๒ บทเรียนทีไ่ ด้ รับ จากการบริ หารโรงเรี ยนตามหลัก DISSAKUL MODEL ของโรงเรี ยนพบว่า การดาเนินงาน ด้านการ พัฒนาการศึกษาให้ได้มาตรฐาน ตามมาตรฐานการศึ กษาขั้นพื้นฐานทั้งด้านผูเ้ รี ยน ด้านครู ด้านผูบ้ ริ หาร และด้าน ชุ มชนจะประสบผลสาเร็ จได้ตอ้ งเกิ ดความร่ วมมือของทุกฝ่ าย ต้องเริ่ มตั้งแต่การวางแผน ดาเนิ นการ ตรวจสอบ ประเมินผลและปรับปรุ งต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่ องโดยตลอดจึงจะนาไปสู่ ความสาเร็ จตามเป้ าหมาย


๑๕ ๘.๔.๓ ผลงานทีส่ าเร็จ ๑. ผลงานพัฒนาสถานศึกษา ๑.๑ ได้รับเกียรติบตั รผ่านการคัดเลือก อันดับที่ ๑การประกวดระเบียบแถวลูกเสื อระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ประเภทลูกเสื อสามัญ ระดับเขตพื้นที่การศึกษา จาก สานักงานลูกเสื อเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ ๑.๒ ได้รับเกียรติบตั รรางวัลชมเชยการประกวดระเบียบแถวลูกเสื อระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประเภท ลูกเสื อสามัญ ระดับจังหวัด จากสานักงานลูกเสื อเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑.๓ ได้รับประกาศเกียรติคุณโรงเรี ยนดิศกุลได้เข้าร่ วมเป็ นโรงเรี ยนเครื อข่ายเด็กไทยฟันดี อาเภอท่า ม่วง จากโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๑๙ ๑.๔ ได้รับเกียรติบตั รรางวัลทรงคุณค่าสพฐ. OBEC AWARDS ประเภทหน่วยงาน ที่มีผลงานดีเด่น เป็ นที่ประจักษ์ รางวัลสถานศึกษา ขนาดใหญ่ นัก เรี ยน๑๘๑ คนขึ้ นไป ด้านวิชาการ ระดับเขตพื้นที่ ก ารศึ กษา จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑.๕ ได้รับเกียรติบตั รรางวัลผ่านเกณฑ์การประเมินโครงการสถานศึกษาสี ขาว ปลอดยาเสพติด ระดับ ดีเด่น อันดับ ๑ระดับเขตพื้นที่การศึกษา จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑.๖ ได้รับประกาศเกียรติคุณโรงเรี ยนดิศกุลได้เข้าร่ วมอบรมนักเรี ยนแกนนา เด็กไทยฟันดี อาเภอท่า ม่วง จากโรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๑๙ ๑.๗ ได้รับรางวัลสถานศึกษาป้ องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดดีเด่น ปี การศึกษา ๒๕๕๖ ๑.๘ ได้รับรางวัลสถานศึกษาสี ขาวปลอดยาเสพติด และอบายมุข ปี ๒๕๕๖ จาก กระทรวงศึกษาธิการ ๑.๙ ได้รับรางวัลเสมา ป.ป.ส. ระดับดีเด่น โครงการสถานศึกษาป้ องกันยาเสพติดดีเด่น ปี ๒๕๕๖ ประเภทสถานศึกษา ๑๐. ได้รับรางวัลสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้และการบริ หารจัดการตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “สถานศึกษาพอเพียง ปี การศึกษา ๒๕๕๗” ๑.๑๑ ได้รับรางวัลสถานศึกษาป้ องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ปี การศึกษา ๒๕๕๗ ๒. ผลงานผู้บริ หารและครู โรงเรียนดิศกุล ผลงานผู้บริ หาร ๑. ได้โล่ขา้ ราชการพลเรื อนดีเด่นจังหวัดกาญจนบุรี ปี ๒๕๕๖ ๒. ได้รับรางวัลเสมา ป.ป.ส. ระดับดีเด่น โครงการสถานศึกษาป้ องกันยาเสพติดดีเด่น ปี ๒๕๕๖ ประเภท ผูบ้ ริ หาร ๓. ได้รั บ รางวัล รองชนะเลิ ศ อัน ดับ ๑ เหรี ย ญทอง ผู้อ านวยการสถานศึ ก ษายอดเยี่ ย มระดับ ประถมศึกษาขนาดใหญ่ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน การประกวดรางวัลหน่วยงานและผูม้ ี ผลงานประสพผลสาเร็ จเป็ นที่ป ระจักษ์เพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับภาค ครั้งที่ ๔ ปี การศึกษา ๒๕๕๗ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


๑๖ ๔.ได้รับรางวัลเหรี ยญเงิ น ผูอ้ านวยการสถานศึ กษายอดเยี่ยมระดับประถมศึ กษาขนาดใหญ่ ด้า น นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน โครงการประกวดรางวัลหน่วยงานและผูม้ ีผลงานประสพผลสาเร็ จ เป็ นที่ประจักษ์เพื่อรั บรางวัลทรงคุ ณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับชาติ ประจาปี ๒๕๕๗ จากสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลงานครู ผ้ สู อน ๑. ได้รับเครื่ องหมายเชิดชูเกียรติหนึ่งแสนครู ดี คุรุสภา ได้แก่ นางเพลินพิศ นกเทียน นางยูงทอง ให้ สุ ข น.ส.รุ่ งอรุ ณ จันทร์มณี นางสาววชรพร เพิ่มพูล นางศิริพร กาญจนวิภาพร และนายพฤกษา จันทร์ เรื อง ๒. ได้รับรางวัลครู ดีไม่มีอบายมุข คุรุสภา ปี การศึกษา ๒๕๕๖ ได้แก่ นางดารารัตน์ ศรี สัตตบุษย์ น.ส.รุ่ งอรุ ณ จันทร์ มณี น.ส.ศิริพร กาญจนวิภาพร นางสาววชรพร เพิ่มพูน ๓. ได้รับรางวัลสถานศึกษาป้ องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดดีเด่น ปี การศึกษา ๒๕๕๖ประเภท ครู ผสู ้ อน ได้แก่ นางยูงทอง ให้สุข ๔. ได้รับรางวัลครู ดีไม่มีอบายมุข คุรุสภา ปี การศึกษา ๒๕๕๗ ได้แก่ นางเพลินพิศ นกเทียน นาง ยูงทอง ให้สุข และนางสาวรัชนีกรณ์ วงษ์ทิพย์ ๕. นางสาววชรพร เพิ่มพูน ได้รับรางวัลชนะเลิศ เหรี ยญเงิน ครู ผสู้ อนยอดเยี่ยมระดับประถมศึกษา ขนาดใหญ่ กิจกรรมแนะแนว ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน การประกวดรางวัลหน่วยงาน และผูม้ ีผลงานประสพผลสาเร็ จเป็ นที่ประจักษ์เพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับภาค ครั้ง ที่ ๔ ปี การศึกษา ๒๕๕๗ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๖. นายพฤกษา จันทร์ เรื อง ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ เหรี ยญเงิน ครู ผสู้ อนยอดเยี่ยมระดับ ประถมศึ กษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ สุขศึกษาและพลศึ กษา ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน การประกวดรางวัล หน่ วยงานและผูม้ ี ผ ลงานประสพผลส าเร็ จเป็ นที่ ป ระจัก ษ์เพื่ อรั บ รางวัล ทรงคุ ณ ค่ า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับภาค ครั้งที่ ๔ ปี การศึกษา ๒๕๕๗ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๗. นางสาวอนุ สรา เกตุแก้ว ได้รับรางวัล เข้าร่ วม ครู ผสู ้ อนยอดเยี่ยมระดับประถมศึกษากลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้ ภาษาต่างประเทศ ด้านวิชาการ การประกวดรางวัลหน่ วยงานและผูม้ ีผลงานประสพผลสาเร็ จเป็ นที่ ประจักษ์เพื่อรั บรางวัลทรงคุ ณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับภาค ครั้งที่ ๔ ปี การศึกษา ๒๕๕๗ จาก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๘. นางสาวนิภาพร กองบาง ได้รับรางวัล เข้าร่ วม ครู ผสู ้ อนยอดเยีย่ มระดับประถมศึกษากลุ่มสาระ การเรี ยนรู้วทิ ยาศาสตร์ ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน การประกวดรางวัลหน่วยงานและผูม้ ี ผลงานประสพผลสาเร็ จเป็ นที่ประจักษ์เพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับภาค ครั้งที่ ๔ ปี การศึกษา ๒๕๕๗ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


๑๗ ๙.นางสาววชรพร เพิ่มพูล ได้รับรางวัลเหรี ยญเงิน ครู ผสู ้ อนยอดเยีย่ มระดับประถมศึกษา กิจกรรมแนะ แนว ด้า นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่ อ การเรี ย นการสอน โครงการประกวดรางวัลหน่ วยงานและผูม้ ี ผลงาน ประสพผลสาเร็ จเป็ นที่ประจักษ์เพื่อรับรางวัลทรงคุ ณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับชาติ ประจาปี ๒๕๕๗ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๐.นายพฤกษา จันทร์เรื อง ได้รับรางวัลเกียรติบตั รเข้าร่ วมการประกวดระดับชาติ ครู ผสู้ อนยอดเยี่ยม ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพละศึกษา ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการ สอน โครงการประกวดรางวัลหน่ วยงานและผูม้ ีผลงานประสพผลสาเร็ จเป็ นที่ประจักษ์เพื่อรั บรางวัลทรงคุ ณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ระดับชาติ ประจาปี ๒๕๕๗ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผลงานครู ด้านผู้ฝึกสอน ปี การศึกษา ๒๕๕๖ ๑. นางสาวรุ่ งอรุ ณ จันทร์ มณี ครู ผสู้ อนนักเรี ยนได้รับรางวัลเหรี ยญทองงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน กิ จกรรม การประกวดมารยาทไทยระดับชั้นป.๑ – ป.๓ และ ระดับชั้นป.๔ – ป.๖ เป็ นกรรมการการตัดสิ นการ แข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยนกิจกรรม การประกวดเล่านิ ทานคุณธรรม ระดับชั้นป.๔ – ป.๖ จากสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๒. นางนารี ปิ่ นปี ครู ผสู ้ อนนักเรี ยนได้รับรางวัลเหรี ยญทอง งานศิ ลปหัตถกรรมนักเรี ยนกิ จกรรม การแข่ ง ขันการท่ องอาขยานท านองเสนาะระดับ ชั้นป.๑ – ป.๓การแข่ ง ขันการเขี ย นเรี ย งความและคัดลายมื อ ระดับชั้นป.๔ – ป.๖และได้รับรางวัลเหรี ยญทองแดง การแข่งขันการเขียนเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้นป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๓. นางสาววชรพร เพิ่มพูลครู ผูส้ อนนักเรี ยนได้รับรางวัลเหรี ยญทองงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน กิ จกรรม การประกวดเล่านิ ทานคุ ณธรรมระดับชั้นป.๑ – ป.๓ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ ๔. นางนารี ปิ่ นปี ครู ผสู ้ อนนักเรี ยนได้รับรางวัลเหรี ยญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยนกิ จกรรม การแข่งขันการเขียนเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้นป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ ๕. นางสาววสุ กาญจน์ นิ่ มอิ่มครู ผสู้ อนนักเรี ยนได้รับรางวัลเหรี ยญทองงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน กิจกรรมการแข่งขันเดี่ยวฆ้องวงใหญ่ ระดับชั้นป.๑ – ป.๖และครู ผสู ้ อนนักเรี ยนได้รับรางวัลเหรี ยญเงินกิจกรรมการ แข่งขันเดี่ยวฆ้องวงเล็ก ระดับชั้นป.๑ – ป.๖และครู ผสู้ อนนักเรี ยนได้รับรางวัลเหรี ยญทองรองชนะเลิศอันดับที่ ๒ งานศิ ลปหัตถกรรมนักเรี ยนกิ จกรรมการแข่งขันเดี่ ยวระนาดเอกและเดี่ ยวระนาดทุม้ ระดับชั้นป.๑ – ป.๖ จาก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๖. นางยูงทอง ให้สุขครู ผสู้ อนนักเรี ยนได้รับรางวัลเหรี ยญทองงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน กิจกรรมการแข่งขันโครงงานอาชีพ ระดับชั้นป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑


๑๘ ๗. นางดารารัตน์ ศรี สัตตบุษย์ ครู ผสู้ อนนักเรี ยนได้รับรางวัลเหรี ยญเงิน งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน กิจกรรมการแข่งขันโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลองระดับชั้น ป.๔ – ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๘. นางวันทนา เปลิ นเสวีค รู ผูส้ อนนัก เรี ย นได้ รับรางวัล เหรี ย ญเงิ นงานศิ ล ปหัตถกรรมนัก เรี ย น กิจกรรมการแข่งขันขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ประเภทหญิงระดับชั้นป.๑ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๙. นางสาวอนุสรา เกตุแก้วครู ผสู ้ อนนักเรี ยนได้รับรางวัลเหรี ยญทองแดงงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน กิ จกรรม การแข่งขันการเล่านิ ทาน (Story Telling) ระดับชั้นป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่ การศึ กษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑๐. นางสาวเปรมกมล คุม้ เจริ ญ เป็ นกรรมการตัดสิ นการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน กิจกรรม การแข่งขันMulti Skills Competition ระดับชั้นป.๔ – ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ ๑๑. Miss Mally Cookเป็ นกรรมการตัดสิ นการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน กิจกรรม การแข่งขันMulti Skills Competition ระดับชั้นป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ ๑๒.นางสาวนิภาพร กองบาง ได้เข้าร่ วมการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน กิ จ กรรมการแข่ ง ขัน อัจ ฉริ ย ภาพทางวิ ท ยาศาสตร์ ระดับ ชั้น ป.๔ – ป.๖ จากส านัก งานเขตพื้ นที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑๓.นางสุ วรรณา ตันติสาโร ได้เข้าร่ วมการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน กิจกรรมการแข่งขันคิดเลขเร็ ว ระดับชั้นป.๔ – ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๗ ๑. นางวัน ทนา เปลิ น เสวี ครู ผู ้ส อนนัก เรี ย น รางวัล เกี ย รติ บ ัต รระดับ เหรี ย ญทองแดง กิ จ กรรม การแข่งขัน “ศิลป์ สร้างสรรค์” ระดับชั้น ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒. นางวัน ทนา เปลิ น เสวี ครู ผูส้ อนนัก เรี ย น รางวัล เกี ย รติ บ ัต รระดับ เหรี ย ญทองแดง กิ จ กรรม การแข่งขัน “ศิลป์ สร้างสรรค์” ระดับชั้น ป.๑-ป.๓ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๓. นางสาววสุ ก าญจน์ นิ่ ม อิ่ ม ครู ผูส้ อนนัก เรี ย น รางวัล เกี ย รติ บ ัต รระดับ เหรี ย ญทอง กิ จ กรรม การแข่งขันเดี่ยวฆ้องวงเล็ก ระดับชั้น ป.๑-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๔. นางสาววสุ กาญจน์ นิ่มอิ่ม ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทอง ชนะเลิศ กิจกรรม การแข่งขันเดี่ยวฆ้องวงใหญ่ ระดับชั้น ป.๑-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๕. นายพฤกษา จันทร์ เรื อง ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรมการวาด ภาพด้ว ยโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ก ราฟิ ก ระดับ ชั้น ป.๑-ป.๓จากส านัก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา กาญจนบุรีเขต ๑


๑๙ ๖. นางสาวอนุ สรา เกตุแก้วครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขัน การพูดภาษาอัง กฤษImpromptu Speech ระดับ ชั้น ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่ การศึ ก ษาประถมศึ กษา กาญจนบุรีเขต ๑ ๗. นางนารี ปิ่ นปี ครู ผูส้ อนนัก เรี ย น รางวัล เกี ย รติ บ ัตรระดับ เหรี ย ญทอง รองชนะเลิ ศ อันดับ ที่ ๑ กิ จ กรรมการแข่ ง ขัน การท่ อ งอาขยานท านองเสนาะระดับ ชั้น ป.๔-ป.๖ จากส านัก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๘. นางนารี ปิ่ นปี ครู ผูส้ อนนักเรี ยน รางวัลเกี ย รติ บตั รระดับ เหรี ยญทองแดง กิ จกรรมการแข่ งขัน การเขียนเรี ยงความและคัดลายมือป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๙. นางนารี ปิ่ นปี ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลผลงานผ่านการแข่งขัน กิ จกรรมการแข่งขันแต่งบทร้ อย กรอง กาพย์ยานี ๑๑ ระดับชั้น ป.๔-ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๐. นางยู ง ทอง ให้ สุ ข ครู ผู ้ส อนนัก เรี ย น รางวัล ผลงานผ่ า นการแข่ ง ขัน กิ จ กรรมการแข่ ง ขัน อัจฉริ ยภาพทางคณิ ตศาสตร์ ระดับชั้น ป.๑-ป.๓จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑๑. นางสาวศิริพร กาญจนวิภาพร ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรม การแข่งขันการเขียนเรี ยงความและคัดลายมือป.๑-ป.๓ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑๒. นางสาววชรพร เพิ่มพูลครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทองรองชนะเลิศอันดับ ที่ ๒ กิ จ กรรมการประกวดมารยาทไทยระดับ ชั้น ป.๔-ป.๖จากส านัก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาประถมศึ ก ษา กาญจนบุรีเขต ๑ ๑๓. นางยูงทอง ให้สุข ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลผลงานผ่านการแข่งขัน กิจกรรมการแข่งขันคิดเลขเร็ ว ระดับชั้น ป.๔-ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๔. นางรุ่ งอรุ ณ จันทร์ ที ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกี ยรติ บตั รระดับเหรี ยญทองรองชนะเลิ ศอันดับ ที่ ๒ กิจกรรมการประกวดมารยาทไทยระดับชั้น ป.๔-ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑๕. นางสาววสุ ก าญจน์ นิ่ ม อิ่ ม ครู ผูส้ อนนัก เรี ย น รางวัลเกี ย รติ บ ตั รระดับ เหรี ย ญทอง กิ จกรรม การแข่ ง ขั น เดี่ ย วฆ้ อ งวงใหญ่ ระดั บ ชั้ น ป.๑-ป.๖ จากส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปี การศึกษา ๒๕๕๘ ๑.นางสาวอนุ สรา เกตุแก้ว ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญทองชนะเลิ ศ กิ จกรรม การแข่งขันเดี่ยวฆ้องวงใหญ่ ป.๑-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒.นางสาวอนุ สรา เกตุแก้ว ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทอง รองชนะเลิศอันดับ ที่ ๑ กิจกรรมการแข่งขันเดี่ยวระนาดทุม้ ป.๑-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๓.นางยูงทอง ให้สุข ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญทอง รองชนะเลิ ศอันดับที่ ๑ กิจกรรมการแข่งขันแปรรู ปอาหาร ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑


๒๐ ๔.นางสาวรัชนี กรณ์ วงษ์ทิพย์ ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญทอง รองชนะเลิ ศ อันดับที่ ๑ กิ จกรรมการแข่งขันแปรรู ปอาหาร ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๕.นางรุ่ งอรุ ณ จันทร์ที ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการประกวด มารยาทไทย ป.๔-ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๖.นางเพลินพิศ นกเทียน ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการปั้ นดิน น้ ามัน ปฐมวัย จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๗.นางสาวศิริพร กาญจนวิภาพร ครู ผูส้ อนนักเรี ยน รางวัลเกี ยรติ บตั รระดับเหรี ยญเงิ น กิ จกรรม การวาดภาพด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ กราฟิ กป.๑-ป.๓จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๘.นางสาววชรพร เพิ่มพูล ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการประกวด หนังสื อเล่มเล็ก ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๙.นางนารี ปิ่ นปี ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการประกวดหนังสื อ เล่มเล็ก ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๐.นางสาววชรพร เพิ่มพูล ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญเงิ น กิ จกรรมการสร้าง หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๑.นายพฤกษา จันทร์ เรื อง ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน รางวัลเกี ยรติ บตั รระดับเหรี ยญเงิ น กิ จกรรมการสร้ าง หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๒.นางสาววชรพร เพิ่ ม พู ล ครู ผู ้ส อนนัก เรี ย น รางวัล เกี ย รติ บ ัต รระดับ เหรี ย ญทอง กิ จ กรรม การแข่งขัน "ศิลป์ สร้างสรรค์" ป.๑-ป.๓ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๓.นางสาววชรพร เพิ่ ม พูล ครู ผูส้ อนนัก เรี ย น รางวัลเกี ยรติ บ ตั รระดับ เหรี ย ญทองแดง กิ จกรรม การแข่งขัน "ศิลป์ สร้างสรรค์" ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๔.นายพฤกษา จันทร์ เรื อง ครู ผูส้ อนนัก เรี ย น รางวัล เกี ย รติ บ ตั รระดับ เหรี ย ญทองแดง กิ จกรรม การแข่งขันการใช้เข็มทิศและการคาดคะเนป.๔-ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๕.นางสาวอนุ สรา เกตุ แก้ว ครู ผูส้ อนนัก เรี ย น รางวัล เกี ยรติ บ ตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิ จกรรม การแข่งขันการใช้เข็มทิศและการคาดคะเนป.๔-ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๖.นางสาวนิ ภาพร กองบาง ครู ผสู ้ อนนักเรี ยน ได้เข้าร่ วม กิ จกรรมการแข่งขันเครื่ องร่ อน ประเภท ร่ อนไกล ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๓. ผลงานนักเรียนโรงเรียนดิศกุล ปี การศึกษา ๒๕๕๖ ๑. เด็กหญิงญาณิ ศา ขันอานันท์ได้รับรางวัลเหรี ยญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน(การประกวด มารยาทไทย)ระดับชั้น ป.๑ – ป.๓ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑


๒๑ ๒. เด็ก ชายคิมหันต์ แบนท้วมได้รับรางวัลเหรี ยญทอง งานศิล ปหัตถกรรมนัก เรี ย น (การประกวด มารยาทไทย)ระดับชั้น ป.๑ – ป.๓ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๓. เด็ ก หญิ ง อัช ฌาวดี เกตุ อยู่ ได้รั บรางวัล เหรี ยญทอง งานศิ ล ปหัต ถกรรมนัก เรี ย น(การแข่ ง ขัน การท่องอาขยานทานองเสนาะ)ระดับชั้นป.๑ – ป.๓จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๔. เด็กหญิ งปวีณา แสงนิ ล ได้รับรางวัลเหรี ยญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน (การประกวดเล่ า นิทานคุณธรรม) ระดับชั้น ป.๑ – ป.๓ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๕. เด็กชายสุ รชัย บุญชู ได้รั บรางวัลเหรี ยญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน (การประกวดมารยาท ไทย) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๖. เด็ก หญิ งวรรวิส า จันทร์ ที ได้รับรางวัลเหรี ยญทอง งานศิ ลปหัตถกรรมนัก เรี ยน (การประกวด มารยาทไทย) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๗. เด็กหญิงนภัสสร ทองจันทร์ ได้รับรางวัลเหรี ยญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน(การแข่งขันการ เขียนเรี ยงความและคัดลายมือ)ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๘. เด็กชายณัฐวุฒิ ขันอานันท์ ได้รับรางวัลเหรี ยญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน (การแข่งขันการเล่า นิทาน) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๙. เด็กหญิงแก้วใจ แซ่ ซิ้ม ได้รับรางวัลเหรี ยญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน (การแข่งขันโครงงาน อาชีพ) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑๐. เด็กชายเอกภพ ทองพูลได้รับรางวัลเหรี ยญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน (การแข่งขันโครงงาน อาชีพ) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑๑. เด็กหญิงศุภวรรณ เฉี ยมวิเชี ยร ได้รับรางวัลเหรี ยญทอง งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน(การแข่งขัน โครงงานอาชีพ) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑๒. เด็กหญิงปิ ยะฉัตร บุญเปรม ได้รับรางวัลเหรี ยญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๑งานศิลปหัตถกรรม นักเรี ยน (การแข่งขันเดี่ ยวฆ้องวงใหญ่) ระดับชั้น ป.๑ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึ กษาประถมศึ กษา กาญจนบุรี เขต ๑ ๑๓. เด็กชายวสุ พล นวมหอม ได้รับรางวัลเหรี ยญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๒ งานศิลปหัตถกรรม นัก เรี ยน (การแข่ ง ขันเดี่ ย วระนาดเอก) ระดับชั้น ป.๑ – ป.๖ จากส านัก งานเขตพื้ นที่ การศึ ก ษาประถมศึ ก ษา กาญจนบุรีเขต ๑ ๑๔. เด็ก หญิ งอารี สิ นจันทร์ ได้รับรางวัล เหรี ยญทอง รองชนะเลิ ศอันดับที่ ๒ งานศิล ปหัตถกรรม นักเรี ยน (การแข่งขันเดี่ ยวระนาดทุ ม้ ) ระดับชั้น ป.๑ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่ การศึ กษาประถมศึ กษา กาญจนบุรีเขต ๑ ๑๕. เด็กชายศักดิ์ สิ ทธิ์ สังข์ทอง ได้รับรางวัลเหรี ยญเงิ น งานศิ ลปหัตถกรรมนักเรี ยน (การแข่งขัน โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรีเขต ๑


๒๒ ๑๖. เด็ กชายธี ระศัก ดิ์ เรื องเทศ ได้รับรางวัลเหรี ย ญเงิ น งานศิ ลปหัตถกรรมนัก เรี ย น (การแข่ง ขัน โครงงานวิท ยาศาสตร์ ป ระเภททดลอง)ระดับ ชั้น ป.๔ – ป.๖ จากส านัก งานเขตพื้ นที่ ก ารศึ กษาประถมศึ ก ษา กาญจนบุรีเขต ๑ ๑๗. เด็ ก ชายชัย รั ต น์ คุ ้ม แพ่ ง ได้รั บ รางวัล เหรี ย ญเงิ น งานศิ ล ปหัต ถกรรมนัก เรี ย น (การแข่ ง ขัน โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภททดลอง) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรีเขต ๑ ๑๘. เด็กหญิงญาณิ ศา นิ ยมสมบูรณ์ ได้รับรางวัลเหรี ยญเงิ น งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน(การแข่งขัน ร้องเพลงพระราชนิ พนธ์ ประเภทหญิง) ระดับชั้น ป.๑ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรีเขต ๑ ๑๙. เด็กหญิงอารี ยา เครื อเช้า ได้รับรางวัลเหรี ยญเงิ น งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน (การแข่งขันเดี่ ยว ฆ้องวงเล็ก) ระดับชั้น ป.๑ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๐. เด็กหญิงเจนจิรา หลวงทอ ได้รับรางวัลเหรี ยญทองแดง งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน (การแข่งขัน การแต่งบทร้อยกรอง กลอนสี่ )ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๑. เด็กหญิงสุ ญาดา ธู ปเทียน ได้รับรางวัลเหรี ยญทองแดง งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน(การแข่งขัน การแต่งบทร้อยกรอง กลอนสี่ ) ระดับชั้นป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๒. เด็กชายอนุชา แผลงเดชา ได้รับรางวัลเหรี ยญทองแดง งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน (การแข่งขัน สร้างสรรค์ผลงานคณิ ตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม GPS) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๓. เด็ ก หญิ ง พรนภา พรานเจริ ญ ได้รั บ รางวัล เหรี ย ญทองแดง งานศิ ล ปหัต ถกรรมนัก เรี ย น (การแข่งขันสร้างสรรค์ผลงานคณิ ตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม GPS) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๔. เด็กชายอลงกรณ์ ลิ้มอารี ย ์ ได้เข้าร่ วมงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน (การแข่งขันอัจฉริ ยภาพทาง วิทยาศาสตร์ ) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๕. เด็กชายสราวุธ อัศววิทยานนท์ ได้เข้าร่ วมงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน (การแข่งขันอัจฉริ ยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๖. เด็กชายภานุ วฒั น์ มัง่ คัง่ เข้าร่ วมงานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน (การแข่งขันคิดเลขเร็ ว) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๗. เด็ ก ชายเจษฎา บัว กลั่น เข้า ร่ ว มงานศิ ล ปหั ต ถกรรมนั ก เรี ยน (การแข่ ง ขัน อัจ ฉริ ยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ) ระดับชั้น ป.๔ – ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๗ ๑. เด็กหญิงมลฐกานต์ ธูปเทียน ได้รับรางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทอง ชนะเลิศกิจกรรมการแข่งขัน เดี่ยวฆ้องวงใหญ่ระดับชั้น ป.๑-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑


๒๓ ๒. เด็ ก ชายชัย รั ต น์ คุ ้ม แพ่ ง ได้รั บ รางวัล เกี ย รติ บ ัต รระดับ เหรี ย ญทองแดง กิ จ กรรมการแข่ ง ขัน “ศิลป์ สร้างสรรค์” ระดับชั้น ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๓. เด็กหญิงญาณิ ศา ขันอนันท์ได้รับรางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการแข่งขันการพูด ภาษาอังกฤษImpromptu Speech ระดับชั้น ป.๔-ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๔. เด็กชายวิชญพงศ์ หอมแพงไว้ ได้รับรางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทองกิ จกรรมการแข่งขันเดี่ยว ฆ้องวงเล็กระดับชั้น ป.๑-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๕. เด็กชายภานุ วฒั น์ มัง่ คัง่ ได้รับรางวัลผลงานผ่านการแข่งขัน กิจกรรมการแข่งขันคิดเลขเร็ ว ระดับ ชั้นป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๖. เด็ ก หญิ ง วรรวิส า จันทร์ ที ได้รับ รางวัล เกี ย รติ บ ตั รระดับ เหรี ย ญทอง รองชนะเลิ ศ อันดับ ที่ ๒ กิจกรรมการประกวดมารยาทไทยระดับชั้นป.๔-ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๗. เด็กชายนนท์ (ไม่มีนามสกุล) ได้รับรางวัลผลงานผ่านการแข่งขัน กิจกรรม การแข่งขันอัจฉริ ยภาพ ทางคณิ ตศาสตร์ ระดับชั้น ป.๑-ป.๓ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๘. เด็กหญิงสุ ญาดา ธูปเทียน ได้รับรางวัลผลงานผ่านการแข่งขัน กิจกรรม การแข่งขันการแต่งบทร้อย กรอง กาพย์ยานี ๑๑ ระดับชั้น ป.๔-ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๙. เด็กหญิงเจนจิรา หลวงทอ ได้รับรางวัลผลงานผ่านการแข่งขัน กิจกรรม การแข่งขันการแต่งบทร้อย กรอง กาพย์ยานี ๑๑ ระดับชั้น ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๐. เด็ ก หญิ ง ศันศนี ย ์ สี บ วั สด ได้รับ รางวัล เกี ยรติ บ ตั รระดับ เหรี ย ญทอง รองชนะเลิ ศ อันดับ ที่ ๑ กิ จ กรรมการแข่ ง ขัน การท่ อ งอาขยานท านองเสนาะ ระดับ ชั้น ป.๔-ป.๖จากส านัก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๑. เด็กหญิงนภัสสร ทองจันทร์ ได้รับรางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิ จกรรมการแข่งขัน การเขียนเรี ยงความและคัดลายมือ ระดับชั้น ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑๒. เด็กหญิงปภาวริ นทร์ บุญเปรม ได้รับรางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรมการแข่งขัน การเขียนเรี ยงความและคัดลายมือระดับชั้นป.๑-ป.๓จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๓. เด็กหญิงสุ เชาวดี เซี่ ยงเจ้วได้รับรางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรมการแข่งขัน “ศิลป์ สร้างสรรค์” ระดับชั้น ป.๑-ป.๓ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๑๔. เด็กหญิงมลฐกานต์ ธูปเทียน ได้ รับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการแข่ งขันเดี่ยว ฆ้องวงใหญ่ระดับชั้น ป.๑-ป.๖ จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ปี การศึกษา ๒๕๕๘ ๑.เด็กหญิงมลฐกานต์ ธูปเทียนได้รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทองชนะเลิศ กิจกรรมการแข่งขันเดี่ยว ฆ้องวงใหญ่ ป.๑-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒.เด็กหญิงณัฐพร ชาลีเปรี่ ยมได้รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๑ กิจกรรม การแข่งขันเดี่ยวระนาดทุม้ ป.๑-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑


๒๔ ๓.เด็กหญิ งฐิ ติม า ถ้ า ทองได้รางวัล เกี ย รติ บตั รระดับ เหรี ยญทอง รองชนะเลิ ศอันดับที่ ๑ กิ จกรรม การแข่งขันแปรรู ปอาหาร ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๔.เด็กหญิงมนัญญา จันทร์ ดวงเด่ นได้รางวัล เกี ย รติ บ ตั รระดับ เหรี ยญทอง รองชนะเลิ ศอันดับที่ ๑ กิจกรรมการแข่งขันแปรรู ปอาหาร ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๕.เด็กหญิงจิรภา เรื องเทศได้รางวัลเกี ยรติ บตั รระดับเหรี ยญทอง รองชนะเลิ ศอันดับที่ ๑ กิ จกรรม การแข่งขันแปรรู ปอาหาร ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๖.เด็กชายคิมหันต์ แบนท้วม ได้รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการประกวดมารยาทไทย ป.๔-ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๗.เด็กหญิงญาณิ ศา ขันอานันท์ ได้รางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการประกวดมารยาท ไทย ป.๔-ป.๖จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๘.เด็ ก หญิ ง สุ ทธิ นี น้ าทรั พ ย์ ไ ด้ ร างวัล เกี ย รติ บ ั ต รระดั บ เหรี ยญทอง กิ จ กรรมการแข่ ง ขั น "ศิลป์ สร้างสรรค์" ป.๑-ป.๓ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๙.เด็กหญิงรุ่ งลดา ใหม่เกิ ด ได้รางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญทอง กิ จกรรมการปั้ นดิ นน้ ามัน ปฐมวัย จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๐.เด็กหญิง อัจจิ มา อิ นศรี โสม ได้รางวัล เกี ย รติ บ ตั รระดับเหรี ย ญทอง กิ จกรรมการปั้ นดิ นน้ า มัน ปฐมวัย จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๑.เด็กชายเพชร อวน ได้รางวัลเกี ยรติ บตั รระดับเหรี ยญทอง กิ จกรรมการปั้ นดิ นน้ ามัน ปฐมวัย จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๒. เด็กหญิงชลิดา หนูแดง ได้รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญเงิน กิจกรรมการวาดภาพด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์กราฟิ ก ป.๑-ป.๓ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๓. เด็กหญิงปภาวริ นทร์ บุญเปรม ได้รางวัลเกี ยรติ บ ตั รระดับเหรี ย ญเงิ น กิ จกรรมการวาดภาพ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิ ก ป.๑-ป.๓ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๔.เด็กชายณัฐวุฒิ ขันอานันท์ ได้รางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญเงิ น กิ จกรรมการประกวดหนังสื อ เล่มเล็ก ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๕.เด็กหญิงพรชิ ตา บุญคุม้ ได้รางวัลเกี ยรติ บตั รระดับเหรี ยญเงิ น กิ จกรรมการประกวดหนังสื อ เล่มเล็ก ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๖.เด็กหญิงพรชิ ตา บุญคุ ม้ ได้รางวัลเกี ยรติ บตั รระดับเหรี ยญเงิ น กิ จกรรมการประกวดหนังสื อ เล่มเล็ก ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๗.เด็ก หญิ ง กาญจนา ซาไธสงได้รางวัล เกี ย รติ บ ตั รระดับ เหรี ย ญเงิ น กิ จกรรมการสร้ า งหนังสื อ อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๑๘.เด็ก หญิ ง จิ ตตราภรณ์ พลายพงษ์ษ าได้รางวัล เกี ย รติ บ ัตรระดับ เหรี ย ญเงิ น กิ จกรรมการสร้ า ง หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑


๒๕ ๑๙.เด็ ก หญิ ง สุ เ ชาวดี เซี่ ย งเจ้ว ได้ร างวัล เกี ย รติ บ ัต รระดับ เหรี ย ญทองแดง กิ จ กรรมการแข่ ง ขัน "ศิลป์ สร้างสรรค์" ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๐.เด็กชายกนกพล เซี่ ยงเจ้วได้รางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการใช้ เข็มทิศและการคาดคะเนป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๑.เด็กชายกิตติ สะทองขนได้รางวัลเกียรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการใช้เข็ม ทิศและการคาดคะเนป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๒.เด็กชายชลธาร ทองสายได้รางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิ จกรรมการแข่งขันการใช้ เข็มทิศและการคาดคะเนป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๓.เด็กชายทรัพย์มงคล สุ ขสงวนได้รางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิ จกรรมการแข่งขัน การใช้เข็มทิศและการคาดคะเนป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๔.เด็กชายสุ ทธิ รักษ์ เจริ ญพินิชย์ ได้รางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรมการแข่งขัน การใช้เข็มทิศและการคาดคะเนป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๕.เด็กชายอิสรา เพราะพินิจได้รางวัลเกี ยรติบตั รระดับเหรี ยญทองแดง กิจกรรมการแข่งขันการใช้ เข็มทิศและการคาดคะเนป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๖.เด็กชายจีระวัฒน์ บัวกลัน่ ได้เข้าร่ วมกิ จกรรมการแข่งขันเครื่ องร่ อน ประเภทร่ อนไกล ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๒๗.เด็กชายอาทิตย์ ทองสายได้เข้าร่ วมกิ จกรรมการแข่งขันเครื่ องร่ อน ประเภทร่ อนไกล ป.๔-ป.๖ จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑ ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุ ง BP ให้ เกิดผลดีอย่างต่ อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า ๙.๑.๑ ตรวจสอบปั ญหาเพื่อหาสาเหตุขอ้ พกพร่ องแต่ละขั้นตอนแล้วนานวัตกรรมมาปรับปรุ งแก้ไข ๙.๑.๒ ทาวิจยั เพื่อแก้ปัญหา ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพือ่ การพัฒนาและปรับปรุ ง ๙.๒.๑ ประเมินผลตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง ๙.๒.๒ การนิเทศ ติดตาม และการดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ๑๐. การประชาสั มพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็ จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง ได้นาผลสาเร็ จดังกล่าวไปประชาสัมพันธ์ ดังนี้ ๑. ประชาสัมพันธ์ในโรงเรี ยนและชุมชน ๒. ประชาสัมพันธ์ในเว็บไซต์โรงเรี ยน http://school.obec.go.th/dissakul_kan/index.html เว็บไซต์ สพป.กจ ๑ www.kan๑.go.th/และใน http://th-th.facebook.com/ ๓. ประชาสัมพันธ์ทางหนังสื อพิมพ์ หนังสื อพิมพ์ภูมิภาค เขต ๗ ยอดแหลมนิวส์


๒๖ เกียรติบัตรหลักฐานกิจกรรมการผลการดาเนินงานทีไ่ ด้ รับการยอมรับระดับอาเภอ/จังหวัด/ภาค/ประเทศ ของสถานศึกษา

เกียรติบัตรหลักฐานกิจกรรมการผลการดาเนินงานทีไ่ ด้ รับการยอมรับระดับอาเภอ/จังหวัด/ภาค/ประเทศ ของสถานศึกษา


๒๗ เกียรติบัตรหลักฐานกิจกรรมการผลการดาเนินงานทีไ่ ด้ รับการยอมรับระดับอาเภอ/จังหวัด/ภาค/ประเทศ ของสถานศึกษา


๒๘ เกียรติบัตรหลักฐานกิจกรรมการผลการดาเนินงานทีไ่ ด้ รับการยอมรับระดับอาเภอ/จังหวัด/ภาค/ประเทศ ของผู้บริ หารสถานศึกษา


๒๙ เกียรติบัตรหลักฐานกิจกรรมการผลการดาเนินงานทีไ่ ด้ รับการยอมรับระดับอาเภอ/จังหวัด/ภาค/ประเทศ ของครู ผ้ สู อน

เกียรติบัตรหลักฐานกิจกรรมการผลการดาเนินงานทีไ่ ด้ รับการยอมรับระดับอาเภอ/จังหวัด/ภาค/ประเทศ

ภาพถ่ ายหลักฐาน/โครงการ/การจัดกิจกรรมการดาเนินงาน

คณะครูร่วมกันประชุมวางแผนการดาเนินงาน

ประชุ มคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะครู


๓๐

กิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยการบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรมการเรี ยนการสอนโครงการสถานศึกษาสี ขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข


๓๑ การจัดกิจกรรมครู D.A.R.E.และห้ องเรียนสี ขาว


การพัฒนาวางแผน ปรับปรุ ง อาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมในโรงเรี ยน

๓๒


๓๓

ภาพถ่ายหลักฐาน/โครงการ/การจัดกิจกรรมการดาเนินงาน

ใช้ โปรแกรมข้ อมูลสารสนเทศในการบริหาร

กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนการใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยี

คณะครู ร่วมแรงร่ วมใจในการจัดหาเงินทุนเพื่อการศึกษา

นาคณะครูร่วมกิจกรรมกับชุ มชนเพือ่ สร้ างความสามัคคีปรองดองสมานฉันท์


ภาพถ่ายหลักฐาน/โครงการ/การจัดกิจกรรมการดาเนินงาน

๓๔

กิจกรรมการเรี ยนการสอนภาษาต่างประเทศ โดยชาวต่างประเทศ

รางวัลโล่เชิ ดชูเกียรติโครงการสถานศึกษาสี ขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข

พิธีมอบวุฒิบตั รนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖

รางวัลแห่ งความสาเร็ จได้รับคัดเลือกให้เป็ นข้าราชการพลเรื อนดีเด่น

นิทรรศการแสดงผลงานทางวิชาการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.