BEST PRACTICE นางสุดา เข็มไทย ครูโรงเรียนบ้านหนองสองห้อง สพป.กาญจนบุรี เขต ๑

Page 1


วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านวิชาการ ระดับชั้นปฐมวัย ชื่อผลงาน “การบูรณาการแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติ เพื่อส่งเสริมวิถีชีวิตแบบพอเพียงในเด็กปฐมวัย”

ผู้นาเสนอ นางสุดา เข็มไทย ครู โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ

โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


คานา เอกสารเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นการรายงานผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ระดับปฐมวัย ด้านวิชาการ เรื่อง “การบูรณาการแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติ เพื่อส่งเสริมวิถีชีวิตแบบ พอเพียงในเด็กปฐมวัย” โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพแบบองค์รวม ทั้งด้าน ร่างกาย ด้านอารมณ์ -จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา อบรมให้เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก ปรับตัวเข้ากับธรรมชาติอย่างสร้างสรรค์ ตั้งอยู่บนพื้นฐานตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดาเนินชีวิตอย่างพอเพียงอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข และนาผลมา พัฒนาต่อยอด ขอขอบพระคุณผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองสองห้อง คณะครู ผู้นาชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียนที่เป็นวิทยากร และให้ความร่วมมือ สนับสนุน เป็นกาลังใจ และขอขอบใจนักเรียนทุกคนที่ ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมเป็นอย่างดี

นางสุดา เข็มไทย ครู โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง


สารบัญ หน้า คานา สารบัญ ชื่อผลงาน

1

ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา

1

เป้าหมายของการพัฒนา

1

ระยะเวลาในการดาเนินงาน

1

ความเชื่อมโยงกับเป้าหมายของ สพฐ.

1

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา

2

กระบวนการพัฒนา

3

ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา

4

กระบวนการตรวจซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง

5

การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จ และการเผยแพร่ขยายผล

5

ภาคผนวก

6



1

แบบฟอร์มผลงาน (Best Practice) 1. ชื่อผลงาน BP การบูรณาการแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติเพื่อส่งเสริมวิถีชีวิตแบบพอเพียงในเด็กปฐมวัย สาขา ปฐมวัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ บูรณาการ ด้าน วิชาการ 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา BP นางสุดา เข็มไทย 2.2 ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ 2.3 โรงเรียน บ้านหนองสองห้อง หมู่ 5 ต.หนองตากยา อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี 2.3 โทรศัพท์มือถือ 086-1639427 e-mail tusuda1 @hotmail.com 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP 3.1 เพื่อให้เด็กเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติตามศักยภาพและมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน ที่เหมาะสมกับวัย 3.2 เพื่อปลูกฝังให้เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ธรรมชาติ และรักษ์สิ่งแวดล้อมรอบตัว 3.3 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้บนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.4 เพื่อให้เด็กเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติ และนาผลมาพัฒนาต่อยอด 4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP ตลอดปีการศึกษา 2557 – ปีการศึกษา 2558 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพม./สพฐ./ สถานศึกษา ตรงกับมาตรฐานของสพฐ.มาตรฐานที่ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ มาตรฐานที่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจและรักการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย ตัวบ่งชี้ที่ 4.4 มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ตัวบ่งชี้ที่ 4.5 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานที่ 7 แนวการจัดการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และ ท้องถิ่น มาตรฐานที่ 9 สถานศึกษามีการสร้างส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา


2

ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 มีการแลกเปลี่ยนเรีย นรู้ร่ วมกั นในสถานศึก ษา ระหว่างสถานศึก ษากั บ ครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ได้กาหนดให้มีการจัดการศึกษาโดยให้มีเนื้อหาสาระและกิจกรรมที่สอดคล้องกับความสนใจและ ความถนัดของผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยมีการจัดประสบการณ์ให้กับผู้เรียนจาก ประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น และการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ แนวคิดและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 เกี่ยวกับการเรียนรู้ที่ยึดให้เด็ก ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงด้วยตัวเองในสิ่งแวดล้อมที่เป็นอิสระ เอื้อต่อการเรียนรู้และจัดกิจกรรม บูรณาการให้เหมาะสมกับระดับพัฒนาการของผู้เรียนแต่ละคน เด็กจะบรรลุตามมาตรฐานคุณลักษณะที่ พึง ประสงค์ที่กาหนดไว้ในจุดหมาย 12 ข้อ ซึ่งข้อที่ 7 กล่าวเรื่องรักธรรมชาติสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และ ความเป็นไทย (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา,2546: 9) ยึดหลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ คือการพัฒนาที่ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง ความไม่ประมาท โดยคานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การ สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจ และการกระทา

ทฤษฎีของเพียเจย์ (Piaget) ได้กล่าวถึงการเรียนรู้สู่ธรรมชาติ ไว้ว่าพัฒนาการทางเชาว์ปัญญา ของเด็กว่า เกิดจากการที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมรอบๆ ตัว เด็กมีการรับรู้จาสิ่งแวดล้อม


3

ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดเวลาและมีการปรับขยายประสบการณ์เดิม ความคิดและความเข้าใจให้ขยาย มากขึ้น ทฤษฎีของจอห์น ดิวอี้ (John Dewey) (ค.ศ.1859- 1952) เป็นนักปรัชญาชาวอเมริกัน ได้กล่าวไว้ว่า แนวคิดสาคัญของการสอนแบบโครงการ เน้นการเรียนรู้ด้วยการลงมือกระทา (Learning by Doing) นาไปสู่การรวมกลุ่มเพื่อทางาน ที่ยึดเด็กเป็นศูนย์กลางจากการทาจริงในสถานการณ์ โดยใช้สื่อจริงตาม ธรรมชาติที่มีอยู่ ผ่านประสบการณ์จากการสารวจ ทั้งในและนอกห้องเรียน 7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวน กลุ่มเป้าหมาย) เด็กชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง จานวน 28 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) การดาเนินงาน 7.2.1 ประชุมรับทราบ วางแผนการดาเนินงาน 7.2.2 เสนอโครงการ 7.2.3 ประชุมชี้แจงแนวการดาเนินงาน 7.4.4 ดาเนินงานตามขั้นตอน 7.2.5 สรุปผลการดาเนินงาน กระบวนการปฏิบัติ ขั้นที่ 1 สารวจแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติในโรงเรียน ขั้นที่ 2 รวบรวมรายชื่อแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติในโรงเรียน ขั้นที่ 3 ศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ ขั้นที่ 4 การนาไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจาวัน ขั้นที่ 5 ศึกษาแหล่งเรียนรู้ธรรมชาตินอกโรงเรียน ขั้นที่ 6 สรุปความรู้ร่วมกัน และนาความรู้ของเด็กมาพัฒนาต่อยอด 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) ใช้แบบบันทึกการสังเกต และแบบสอบถามจากผู้ปกครอง 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ จากการสอนบูรณาการแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติเพื่อส่งเสริมวิถีชีวิตแบบพอเพียงในเด็กปฐมวัยนั้น ทา ให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านอย่างสมบูรณ์ ได้แก่ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ –จิตใจ ด้านสังคม และด้าน สติปัญญา เด็กปรับตัวเข้ากับธรรมชาติอย่างสร้างสรรค์จนทาให้รู้สึกตนเองเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ รักษ์


4

สิ่งแวดล้อมรอบตัว รักธรรมชาติ เด็กได้สังเกต ทดลอง สัมผัสกับธรรมชาติ และดาเนินชีวิตในสังคมอย่างมี ความสุข เมื่ออยู่บนพื้นฐานของความพอเพียง และเด็กนาความรู้มาพัฒนาต่อยอดเพื่อประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ เด็กนักเรียนชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ 2 ได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติ และนาผลมาพัฒนา ต่อยอดร้อยละ 95 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ เด็กมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้านอย่าง ได้แก่ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ –จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เรียนรู้จากของจริง การสัมผัสกับธรรมชาติ การ ทดลอง การสัง เกตด้วยตัวเอง ทาให้เด็กเข้าใจและเรียนรู้ได้รวดเร็ว เพราะเป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ ก ตลอดเวลา ด้านร่างกาย เด็กมีพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อมัดเล็ก –ใหญ่ จากการเดินสารวจ วิ่งเล่น และ สัมผัสหิน ดิน ทราย ต้นไม้และธรรมชาติรอบตัวของเด็ก ออกกาลังกายสนุกกับธรรมชาติรอบตัวของเด็ก คิดเป็นร้อยละ 93.41 ด้านอารมณ์ –จิตใจ เด็กมีความสุขกับบรรยากาศที่ครูจัดกิจกรรมและธรรมชาติรอบตัว จากการสัมผัสธรรมชาติ ชื่นชมความสวยงามของผลงานตัวเอง ฟังเพลงที่กระตุ้นคลื่นสมองของเด็ก การ สัมผัส การโอบกอดด้วยความรักทาให้เด็กรู้สึกมีความมั่นคง มีความมั่นใจในตนเองมากขึ้น คิดเป็นร้อย ละ 96.10 ด้านสังคม เด็กกล้าแสดงออก สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อย ละ 98.68 ด้านสติปัญญา เด็กสามารถรับรู้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้ดีขึ้น มีพัฒนาการทักษะการ สังเกตสิ่งรอบตัว การฟัง การสัม ผัส การรับรู้สิ่ งต่างๆรอบตัว ทางด้านมิติ สัมพันธ์ เกิดการเรีย นรู้จาก นามธรรมเป็นรูปธรรมผ่านการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติได้ดีขึ้น มีพัฒนาการด้านภาษาเพิ่มมากขึ้น ทาให้เด็กเข้าใจและเรียนรู้ได้เร็วขึ้น คิดเป็นร้อยละ 98.94 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้เกี่ยวข้องและ วิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ)ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องและร่วมกิจกรรม Best Practice นี้ อยู่ในระดับดีมาก 97% ระดับดี 3% โดยคิดจากแบบสอบถาม 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้วิธีการ ได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) 8.4.1 ผู้บริหารสถานศึกษามีภาวะเป็นผู้นา ให้คาปรึกษาและสนับสนุน


5

8.4.2 คณะครูให้การสนับสนุนและร่วมใจกันทางาน 8.4.3 ผู้ปกครอง สามารถนากระบวนการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติไปปรับใช้ที่บ้าน ได้ เพราะบ้านเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ของเด็ก สิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กสามารถสร้างให้เกิดการเรียนรู้ได้ ทั้งนั้นเช่น ให้เด็กช่วยรดน้าต้นไม้ และปลูกพืชผักสวนครัวไว้ทานเองที่บ้าน จึงทาให้ผลการดาเนินงาน ประสบความสาเร็จได้ง่ายขึ้น 8.4.4 เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เรียนรู้จากของจริง การสัมผัส การทดลอง สังเกตด้วยตัวเอง ทาให้เด็กเข้าใจและเรียนรู้ได้เร็ว เพราะเป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเด็กและอยู่กับเด็กตลอดเวลา จึงทาให้ผลการดาเนินประสบความสาเร็จ 8.4.5 ครูมีการประเมินพัฒนาการและปรับปรุงผลงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง 9. กระบวนการตรวจซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP ตรวจสอบจากการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็ก แบบสังเกต และแบบสอบถามกับ ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม หากเด็กมีพัฒนาการด้านใดที่ยังไม่พร้อม ก็นามาปรับปรุงแก้ไข 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP จากการปรับปรุงแก้ไขตามผลการตรวจสอบซ้า ทาให้กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนมี คุณภาพมากขึ้น ผลสัมฤทธิ์ของเด็กมีการพัฒนาดีขึ้นตามลาดับ 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BPและการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง (ระบุวันเวลา และรูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) 10.1 เผยแพร่และขยายผลความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยจัดทาข่าวสารแผ่นเดียวของระดับชั้นปฐมวัย และข่าวสารแผ่นเดียวของโรงเรียน เป็นประจาทุก เดือน 10.2 ประชุมผู้ปกครองเป็นประจาทุกภาคเรียน พร้อมประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง


6

ภาคผนวก - ภาพกิจกรรม - เอกสาร หลักฐาน หรือผลงานประกอบ

ภาพประกอบกิจกรรม


7

กระบวนการปฎิบัติการบูรณาการแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติ เพื่อส่งเสริมวิถีชีวิตแบบพอเพียงในเด็กปฐมวัย ขั้นที่ 1 สารวจแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติในโรงเรียน โดยสารวจสิ่งแวดล้อม ธรรมชาติต่างๆ ในโรงเรียนตามความสนใจของเด็ก


8

ทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยู่ในโรงเรียนที่ใช้เพื่อการเรียนรู้โดยมีพืชเป็นปัจจัยหลัก ชีวภาพอื่นเป็นปัจจัยรอง


9

ขั้นที่ 2 รวบรวมรายชื่อแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติในโรงเรียน ได้แก่สวนพืชผักสวน ครัว สวนสมุนไพร โรงเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน สวนเลี้ยงนก บ่อเลี้ยงปลา เตา ชีวภาพ และธนาคารขยะลดภาวะโลกร้อน

สวนพืชผักสวนครัว

สวนสมุนไพร


10

โรงเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน

สวนเลี้ยงนก บ่อเลี้ยงปลา

เตาชีวภาพ

ธนาคารขยะลดภาวะโลกร้อน


11

ขั้นที่ 3 ศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ รู้จักการสังเกต เปรียบเทียบ วิเคราะห์เห็นความ แตกต่าง รู้ถึงความหลากหลาย

เด็กมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัว โดยมีการสัมผัส เรียนรู้ การสร้างและปลูกฝังคุณธรรม การเสริมสร้างปัญญา และภูมิปัญญา

ขั้นที่ 4 การนาไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจาวัน โดยการจัดประสบการณ์จริง ฝึกให้คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และลงมือกระทาด้วยตัวของเด็กเอง การปลูกหัวหอมในน้า และมอบให้โครงการอาหารกลางวัน


12

ขั้นที่ 5 ศึกษาแหล่งเรียนรู้ธรรมชาตินอกโรงเรียน การพาเด็กไปตามสถานที่ต่างๆ เช่น วัดใกล้โรงเรียน แหล่งเรียนรู้ใน ชุมชน หรือแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

โรงหล่อทองเหลืองสยามตักศิลป์หนองตากยา

ที่วัดหนองสองห้องผาสุการาม


13

ศึกษาไร่อ้อยของเกษตรดีเด่นของชุมชน และการใช้ชีวิตแบบพอเพียง

ผู้ปกครอง เข้ามาร่วมกิจกรรมกับเด็ก


14

ขั้นที่ 6 สรุปความรู้ร่วมกัน และนาความรู้ของเด็กมาพัฒนาต่อยอด โดยการเด็กปลูกพืชผักสวนครัวเอง เช่นปลูกต้นหอมในขวดน้า และเด็กนามาพัฒนาต่อ ยอดโดยนามาปลูกในฟาง ในทราย และในสาลี เพื่อฝึกรู้จักการสังเกต วิเคราะห์ สังเคราะห์


15

ทาการจดบันทึกการเจริญเติบโตของต้นหอมเพื่อเปรียบเทียบ


16


17

(เด็กบันทึกผลงานเป็นภาพวาด)


18


19

บันทึกการขยายผลและเผยแพร่ความรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ข้อมูลส่วนตัวของบุคลากร ชื่อ–สกุล นางสุดา เข็มไทย อายุ 48 ปี ตาแหน่ง ครู ค.ศ. 3 สถานศึกษา/หน่วยงาน โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง อาเภอ ท่าม่วงน จังหวัด กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. การขยายผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ครู  ผู้ปกครอง – ชุมชน  อื่นๆ บุคคลที่สนใจ กิจกรรม/โครงการ “จากหัว สู่น้าเป็นต้นหอม””d วันที่ 25 มิถุนายน 2557 สถานที่ หน้าห้องอนุบาล โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง กก ถึงวันที่ 10 กรกฎาคม 2557 สถานที่ หน้าห้องอนุบาล โรงเรียนบ้านหนองสองห้องก วิธีการขยายผล งบประมาณ- ผู้ปกครองช่วยนาหัวหอมมาจากบ้าน 3. การน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้กับกิจกรรม/โครงการ “จากหัวสู่น้า เป็นต้นหอม” พอประมาณ * ด้านการใช้ทรัพยากร * ด้านการใช้จ่าย * ด้ า นการเลื อ กใช้ หั ว หอม เก่ามาปลูก มีเหตุผล * การลงมือกระทาด้วย ตัวเอง * การทดลองสิ่งแปลกใหม่

มีภมู คิ ุ้มกัน * รู้จักการวางแผน

* ปลูกทานที่บ้านเองได้ * สร้างพฤติกรรมและ ค่านิยมที่ดี * รู้จักเก็บออม

ความรู้

คุณธรรม

* ด้านการประกอบอาชีพ

* ความขยันหมั่นเพียรและอดทน

* ด้านการมีความเข้าใจ ลงมือปฏิบัติเองที่บ้านได้

* ความซื่อสัตย์สุจริต

* การสังเกต การเจริญเติบโตของหัวหอมเป็นระยะ

* ความมีวินัยและรับผิดชอบ

สังคม

เศรษฐกิจ

* สร้างรายได้

านการทอนเงิน * มีเ*งินด้ออม * ประหยัดค่าใช้จ่าย

* การทางานร่วมกับผู้อื่น * ยอมรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของคนอื่น

สิ่งแวดล้อม * เกิด จิต สานึก ที่ดี ใ นการปลูก พืชผักสวนครัวไว้ทานเอง * ใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า

วัฒนธรรม * มีมารยาทในการทางานกลุ่ม *มีความสุข สุขภาพจิตดี *ภู มิ ใ จในความสามารถ ตัวเอง


20

บันทึกการขยายผลและเผยแพร่ความรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ข้อมูลส่วนตัวของบุคลากร ชื่อ–สกุล นางสุดา เข็มไทย อายุ 48 ปี ตาแหน่ง ครู ค.ศ. 3 สถานศึกษา/หน่วยงาน โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง อาเภอ ท่าม่วงน จังหวัด กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สังกัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. การขยายผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ครู  ผู้ปกครอง – ชุมชน  อื่นๆ กิจกรรม/โครงการ “ปลูกผักไปบ้านหนู””d วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2557 สถานที่ หน้าอาคารอนุบาล โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง กก ถึงวันที่ 3 มีนาคม 2557 สถานที่ หน้าอาคารอนุบาล โรงเรียนบ้านหนองสองห้องก วิธีการขยายผล งบประมาณ- ผู้ปกครองช่วยนาเมล็ดพันธ์พืชผัก และวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ มาจากบ้าน 3. การน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้กับกิจกรรม/โครงการ “ปลูกผักไปบ้านหนู”” พอประมาณ * ด้านการใช้ทรัพยากร * ด้านการใช้จ่าย * ด้านการเลือกใช้เมล็ดพืชผัก มีเหตุผล

ที่จะนามาปลูก

มีภมู คิ มุ้ กัน * รู้จักการวางแผน

* การลงมือกระทาด้วยตัวเอง

* ปลูกผักทานที่บ้านเองได้

* เด็กมีความสนใจ และความ ต้องการของเด็ก

* ด้านการประกอบอาชีพ * ด้านการมีความเข้าใจ ลงมือปฏิบัติเองที่บ้านได้ * การสังเกต การประมาณตามระยะเวลาที่กาหนด

สังคม

เศรษฐกิจ

* มีเงิ*นด้ออม านการทอนเงิน * ประหยัดค่าใช้จ่าย

ที่ดี

* รู้จักเก็บออม

ความรู้

* สร้างรายได้

* สร้างพฤติกรรมและค่านิยม

* การทางานร่วมกับผู้อื่น * ยอมรับฟังความคิดเห็นของ คนอื่น

คุณธรรม

* ความขยันหมั่นเพียรและอดทน * ความซื่อสัตย์สุจริต * ความมีวินัยและรับผิดชอบ

สิ่งแวดล้อม

วัฒนธรรม

* ใช้ทรัพยากรอย่างรู้คมุ้ ค่า

* มีมารยาทในการทางานกลุ่ม

* มีบรรยากาศที่ดีในการ ทางานร่ วมกับเพื่อนๆ

*มีความสุข สุขภาพจิตดี *ภูมิใจในความสามารถตัวเอง


21


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.