รายงาน Best Practice เพื่อขอรับการประเมินรางวัลทรงคุณคา สพฐ. (OBEC AWARDS) ปการศึกษา ๒๕๕๗ ดานครูผูสอนยอดเยี่ยมวิชาการ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูวิทยาศาสตรโดยวิธีการเรียน แบบ การจัดการเรียนการสอนเพื่อสรางแรงบันดาลใจทางวิทยาศาสตร (Inspiring Science)
นางสาวเกษรา
น้ําใจดี
ครูอัตราจาง โรงเรียนบานแกงหลวง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต๑
รายงาน Best Practice เพื่อขอรับการประเมินรางวัลทรงคุณคา สพฐ. (OBEC AWARDS) ปการศึกษา ๒๕๕๗ ดานครูผูสอนยอดเยี่ยมวิชาการ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๑. ชื่อผลงาน : การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรูวิทยาศาสตรโดยวิธีวิธีการเรียนแบบ การจัดการเรียนการ สอนเพื่อสรางแรงบันดาลใจทางวิทยาศาสตร (Inspiring Science) กลุมสาระการเรียนรู : วิทยาศาสตร ดาน : วิชาการ ๒. ขอมูลทั่วไปของผูพัฒนา BP ชื่อผูพัฒนา BP : นางสาวเกษรา น้ําใจดี โรงเรียนบานแกงหลวง หมู 3 ตําบลเกาะสําโรง อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เครือขายสงเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับ...ศูนยพัฒนาคุณภาพการศึกษาเครือขายเกาะสําโรง โทรศัพท ๐๙๒-๙๖๓๘๑๕๕
e - mail : Kassara.nam@gmail.com
๓. วัตถุประสงคของการพัฒนา B ๓.๑ เพื่อเปนการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๓.๒ เพื่อใหผูเรียนไดรับการพัฒนาอยางเต็มศักยภาพและตอเนื่อง ๓.๓ เพื่อใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีและเห็นความสําคัญในการเรียนวิทยาศาสตร ๓.๔ เพื่อใหผูเรียนนําความรูไปใชในการศึกษาขั้นสูงและในชีวิตประจําวันตอไป ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ระยะเริ่มตนการพัฒนาผูเรียนคือภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๖ จนถึงปจจุบัน
๕. ความเชื่อมโยงสัมพันธระหวาง BP กับเปาหมายจุดเนนของ สพป. และ สถานศึกษา เปาหมายของสถานศึกษา : ขอที่ ๔
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวาเปาหมายที่กําหนดไวทุกคนในกลุมสาระการ
เรียนรู ขอที่ ๑๐ นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู ตามเกณฑที่กําหนด จุดเนนของ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต๑ กลยุทธที่ ๑
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและสงเสริม
ความสามารถดานเทคโนโลยีเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรู ขอที่ ๓ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๕ กลุมสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นอยางนอย ๕ ขอที่ ๕ นักเรียน ครู ผูบริหารและบุคลากรทางการศึกษา ไดรับการพัฒนาเตรียมความพรอมสู ประชาคมอาเซียน มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม
๖. แนวคิด/ความเปนมา การจัดการการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนกระบวนการจัดประสบการณและการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนได นําความรูเปนพื้นฐานสําหรับการศึกษาขั้นสูงตอไป
รวมทั้งนําไปใชในการดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมี
ความสุข สาระวิทยาศาสตรเปนสาระหนึ่งที่มีความสําคัญในปจจุบัน เนื่องจากวิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญ ในสังคมโลกปจจุบันและอนาคต
เพราะวิทยาศาสตรเกี่ยวของกับชีวิตของทุกคนทั้งในการดํารงชีวิต
ประจําวันและงานในอาชีพตาง ๆ เครื่องมือเครื่องใช ตลอดจนผลผลิตตาง ๆ เพื่อใชอํานวยความสะดวกใน ชีวิตและการทํางาน ความรูวิทยาศาสตรชวยใหเกิดการพัฒนาเทคโนโลยีอยางมากพรอมกันนั้นเทคโนโลยี ก็มีสวนสําคัญมากที่จะใหการศึกษาคนควาความรูทางวิทยาศาสตรเพิ่มขึ้นอยางไมหยุดยั้ง จากการมาปฏิบัติงานที่โรงเรียนบานแกงหลวงในปการศึกษา ๒๕๕๖ ผูสอนไดสังเกตพฤติกรรม การเรียนและประเมินผลการเรียนรูวิทยาศาสตรในระดับชั้นที่รับผิดชอบคือ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ และ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓
พบวานักเรียนมีปญหามากในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร เนื่องจาก
นักเรียนขาดความสนใจในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูในระดับต่ําไม เปนที่นาพอใจ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในระดับชาติ O-net อยูในระดับต่ํา ผูสอนจึงไดพยายามคิดคน แนวทางวิธีการที่จะทําใหนักเรียนหันมารักการเรียนรูวิทยาศาสตร และเรียนรูอยางมีความสุข เกิดการ เรียนรูอยางตอเนื่องและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งในสวนบุคคลและในระดับชาติมีการพัฒนาสูระดับที่ สูงขึ้น
โดยนํารูปแบบการเรียนรูแบบ การจัดการเรียนการสอนเพื่อสรางแรงบันดาลใจทางวิทยาศาสตร
(Inspiring Science) มาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุมเปาหมายในการนําไปใช นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ โรงเรียนบานแกงหลวง ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา การเรียนวิทยาศาสตรใหไดผลดีนั้น
นักเรียนจําเปนตองไดรับการฝกฝนผานทักษะดานการ
กําหนดและควบคุมตัวแปร การคํานวณ การจัดทําและสื่อความหมายขอมูล การจําแนกประเภท การตั้งสมมติฐาน การตีความหมายขอมูล การทดลอง การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การพยากรณ การลงความเห็นจากขอมูล การวัด
การสังเกต
แตในปจจุบันพบวาพื้นฐานความรูในการเรียนของนักเรียนสวนใหญทําใหครูไมอาจสอน
นักเรียนใหไดรับประสบการณดังกลาวอยางทั่วถึง นอกจากนั้นนักเรียนเองก็มีปญหาในดานการอานและเขียน ดวยเหตุนี้เอง เพื่อเปนการพัฒนาการเรียนวิทยาศาสตรและปรับเปลี่ยนเจตคติในการเรียน โดย มุงเนนใหผูเรียนมีความสนใจใฝเรียนรูและนําเอาความรูนั้น มาใชเปนพื้นฐานในการศึกษาขั้นสูงตอไป ผูสอนจึงนํา วิธีการเรียนแบบ การจัดการเรียนการสอนเพื่อสรางแรงบันดาลใจทางวิทยาศาสตร (Inspiring Science) อันมุงชวย ใหผูเรียนไดเรียนรูเนื้อหาสาระตาง ๆ ดวยตนเองโดยอาศัยการรวมมือจากเพื่อนในกลุมและเพื่อนในชั้นเรียน ที่มุง ชวยพัฒนาทักษะทางสังคมตาง ๆ เชน ทักษะการสื่อสาร
การทํางานรวมกับผูอื่น
ปฏิสัมพันธ
แสวงหาความรู ทักษะการคิด การแกปญหาและอื่น ๆ มาใชกับผูเรียนโดยอาศัยกรอบแนวคิดดังตอไปนี้
รวมทั้งการ
กรอบแนวคิดการจัดการเรียนแบบ Inspiring Model หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรสถานศึกษา
แบบทดสอบรายหนวย
หนวยการเรียนรู
ภาระงานรายหนวย
ประกอบดวย
แผนการจัดการเรียนรูรายหนวยการเรียนรู
แผนการจัดการเรียนรูรายคาบ
ควา
คูมือครู
สื่อประกอบการ
ภาระงาน
สอน
แผนภาพที่ ๑ การจัดการเรียนรูแบบ Inspiring
การวัดผล ประเมินผล
ตัวนักเรียน
ตั้งคําถาม
การทํางานเปนทีม
ตัวนักเรียน คนควา
การเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ Child Center
เสาะหาคําตอบ
ภาวะผูนํา
ในสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
วิเคราะห
สังเคราะห
นําเสนอผลลัพธ
แผนภูมิที่ ๒ การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญในสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
ตัวครู
ตัวครู
เปนผูกํากับการแสดง
เปนผูป ระเมิน
เปนโคช
Director
Assessor
Coach
บทบาทของครูในการชวย เสริมสรางแรงบันดาลใจ
เปนนักแสดง Actor
เปนผูอ ํานวย
เปนผูฝ ก
Facillitator
Trainer
แผนภูมิที่ ๓ บทบาทของครูในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรใหแกผูเรียน
ความสอดคลองและความเกี่ยวของในการจัดการเรียนการสอน รูปแบบ Inspiring Science การจัดการเรียนการสอนที่ใช
การจัดการเรียนการสอน
กระบวนการสืบเสาะหาความรู
ใชบริบทเปนฐาน
เปนฐาน วัฎจักรการเรียนรูแบบ 5 E ทฤษฎีการสรางองคความรู ดวยตนเอง
Inspiring Science
ของ สสวท. การสอนวิทยาศาสตรโดยใช ภาษาอังกฤษ
การสืบเสาะหาความรู ทางวิทยาศาสตร
การเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญ
สอดคลองกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้น
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร
พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑
แผนภูมิที่ ๔ ความสอดคลองและความเกี่ยวของในการจัดการเรียนการสอน รูปแบบ Inspiring Science
การนําไปใชในการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน นําไปใชโดยยึดแนวคิด 3 A + I โดยมีรายละเอียดดังนี้ ๑. Adopt
เลียนแบบ นําไปใชไดเลย
๒. Adapt
นําไปปรับใช
๓. Apply
ประยุกตใช
๔. Invent
สรางนวัตกรรมใหม
ประโยชนและความสําคัญของการจัดการเรียนรู “ แบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อสรางแรงบันดาลใจ ทางวิทยาศาสตร (Inspiring Science) ” การที่เด็กจะประสบความสําเร็จในการเรียนนั้นจําเปนตองมีปจจัยหลายประการ หนึ่งในปจจัย สําคัญคือการสรางแรงจูงใจในการเรียนใหเกิดขึ้นกับเด็ก แตทั้งนี้ทั้งนั้น ตัวของครูเองจะตองเปนผูที่มีความ กระตือรือรน และหมั่นสรางแรงจูงใจในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเองอยางสม่ําเสมอดวย วิธีการ ตาง ๆ ซึ่งมีวัตถุประสงค เพื่อ ๑. เกิดความกระตือรือรน และตื่นเตนในการเรียนรูและตื่นตัวอยูตลอดเวลา ๒. สงเสริมใหเกิดการเรียนรูที่ดีขึ้น มีความเขาใจและมีความคิดสรางสรรคมากขึ้น ๓. มีแรงจูงใจทั้งภายในและภายนอกที่จะเรียนรูมากขึ้น ๔. สนใจในการทํางาน ๕. ไดรับแนวคิด และไดพัฒนาความสามารถมากขึ้นจากการรวมกลุม ๖. มีการชวยเหลือสนับสนุนกันในดานตาง ๆ ๗. มีสุขภาพจิตดีในขณะทํางานที่เปนธรรมชาติ ไมตึงเครียด ๘. ใชความสามารถตนเองไดอยางเต็มที่ ๙. สามารถนําไปใชจัดการเรียนรูใหกับผูเรียนไดหลายระดับ ๑๐. สามารถนําไปใชจัดการเรียนรูในวิชาตาง ๆ ทุกกลุมอายุ
ขั้นตอนการสอนโดยใชการจัดการเรียนรูแบบ “ การจัดการเรียนการสอนเพื่อสรางแรงบันดาลใจ ทางวิทยาศาสตร (Inspiring Science) ” : ใชวฏั จักรการเรียนรูแบบ 5E โดยแตละแผนการจัดการเรียนรูจะใชวัฏจักร 5 E ตามขั้นตอนตอไปนี้ ๑. ขั้นสรางความสนใจ (Engagement) - การนําเขาสูบริบท introduces the context - การจัดเตรียมเรื่องราวหรือสถานการณสําหรับการเรียนนั้น ๆ - การทําใหการเรียนรูนั้นมีความหมายและมีความสอดคลอง - สรางความสงสัยใครรูในแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตรที่กําลังจะเรียน - ชวยในการหาความรูเดิมและความเขาใจที่คาดเคลื่อนของผูเรียน - ชวยใหครูรูวาควรจะสอนอยางไร/ระดับใด จึงสามารถพัฒนาความเขาใจของผูเรียน ๒. ขั้นสํารวจและคนหา (Exploration) - เปนขั้นที่สําคัญที่สุด - ผูเรียนสรางความเขาใจจากประสาการณการเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติ - เริ่มดวยการตอบคําถามปญหาสําคัญซึ่งอาจทําไดโดย การทําใหผูเรียนมีความรูสึกตองการ ความรูใหมเพิ่มเติม การออกแบบการทดลองเพื่อคนควาเกี่ยวกับปรากฏการณที่ลึกลับ นาสนใจ ๓. ขั้นอธิบายและลงขอสรุป (Explanation) - ครูมีบทบาทสําคัญในขั้นนี้ โดยการที่เด็กจะทําความเขาใจได ไดมากเทาที่ทําได มักจะ เกี่ยวของกับการเรียนรูอยางเปนระบบของ คําศัพทเฉพาะ คํานิยาม แบบจําลอง การ เปรียบเทียบ - ครูควรจะชวยใหผูเรียนสรางคําอธิบายโดยการสะทอนความคิดผานการคนพบในขั้นสํารวจ และคนหา - ครูสามารถวนซ้ําขั้นสํารวจและคนหาไดหลายครั้ง หากจําเปน : Explore → Explain → Explore → Explain
๔. ขั้นขยายความรู (Elaboration) - ขยายความเขาใจใหลุมลึกและครอบคลุมจากการนําความรูไปประยุกตใช - ใชปญหาหรือคําถามเพื่อใหผูเรียนสามารถทําความเขาใจแนวคิดสําคัญไดจริงในทางปฏิบัติ - ตองมีการคิดเตรียมการวาจะประยุกตนําแนวคิดสําคัญไปใช ซึ่งจะทําใหการสอนขั้นนี้งาย ขึ้น ๕. ขั้นประเมิน (Evaluation) - การวัดผล - ควรมีการประเมินในทุกขั้นตอน 5 E เพื่อตรวจสอบพัฒนาการของผูเรียนในการทําความ เขาใจ- การประเมินแบบ Formative - การประเมินเมื่อเรียนจบหนวยการเรียนรูเพื่อประเมินวาสัมฤทธิ์ตามเปาหมายของหนวย หรือไม เปนการประเมินแบบ Summative – เพื่อวัดสมรรถนะของผูเรียน ๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP ๗.๑ ใชการเทียบเคียงกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร ๗.๒ ใชการตรวจสอบขั้นตอนการปฏิบัติในขณะทดลอง ๗.๓ ประเมินพฤติกรรมขณะปฏิบัติตามคําสั่ง ๘. ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP จากการที่นักเรียนโรงเรียนบานแกงหลวง ไดรับการฝกฝนการเรียนรูวิทยาศาสตรตาม กระบวนการเรียนรูแบบ การจัดการเรียนการสอนเพื่อสรางแรงบันดาลใจทางวิทยาศาสตร (Inspiring Science) ดังที่กลาวมาขางตน ไดผลดังนี้ ๘.๑ ผลสําเร็จเชิงปริมาณ ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระวิทยาศาสตร (O-Net) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ ในระดับโรงเรียนและในระดับชาติมีผลการพัฒนาที่สูงขึ้นจากปการศึกษากอน
และผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนกลุมสาระวิทยาศาสตร (LAS) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ มีผลการพัฒนาที่สูงขึ้นจากป การศึกษากอนเชนเดียวกัน
๘.๒ ผลสําเร็จเชิงคุณภาพ เมื่อนักเรียนเขารวมการแขงขัน สามารถควารางวัลสําคัญ ๆ ทั้งในระดับกลุม และระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ๘.๓ ความพึงพอใจของผูที่เกี่ยวของ ทําการสํารวจความพึงพอใจ และเจตคติตอวิทยาศาสตรผูเรียน และผูปกครอง
๘.๔ ประสบการณที่เกิดขึ้นจากการนําวิธีการไปใช ๘.๔.๑ ผูเรียนมีเจตคติที่ดี และมีความกระตือรือรนตอการเรียนวิทยาศาสตร ๘.๔.๒ ผูเรียนมีความมั่นใจและภูมิใจในตัวเอง ๘.๔.๓ ผูเรียนประสบความสําเร็จไดรับรางวัลในการเขารวมในการแขงขันทักษะทางวิชาการทั้ง ในระดับกลุมโรงเรียนและในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ๘.๔.๔ โรงเรียนและชุมชนมีปฏิสัมพันธดีตอกัน มีความภาคภูมิใจในสถานศึกษาของตน
๙. ขบวนการทบทวน กลั่นกรอง ตรวจสอบ ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้ํา BP สํารวจความพึงพอใจ และเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตรของผูเรียนและผูปกครอง ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้ําเพื่อการพัฒนาปรับปรุง BP ผูสอนออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรูวิทยาศาสตร แบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อ สรางแรงบันดาลใจทางวิทยาศาสตร (Inspiring Science) ๙.๓ นํามาใชและพัฒนาขั้นตอนกระบวนการใหเหมาะสมกับผูเรียน
๑๐. รูปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ/ เผยแพร และการขยายผล การเผยแพร โดยเอกสารในกลุมเครือขายและในระดับเขตพื้นที่การศึกษา โดยการนําเสนอรายชื่อของผูเรียนที่ไดรับรางวัลจากการแขงขันทักษะทางวิชาการตอ สาธารณชนในโอกาสตาง ๆ ที่โรงเรียน เชน การประชุมผูปกครองประจําภาคการศึกษา เปนตน
การขยายผล ผูบริหารสถานศึกษาและครูผูสอนในโรงเรียนบานแกงหลวง
นําแนวคิดและหลักการไปจัดการ
เรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนไดรับการพัฒนาเต็มศักยภาพอยางตอเนื่องและมี ความสุข นําไปสูการเรียนรูอยางยั่งยืนตอไป