Best Practice น.ส.สุวิมล ภูริเภรีฤกษ์ ครู ร.ร.บ้านหนองสองห้อง

Page 1


คำนำ เอกสารฉบับนี้จัดท าเพื่อ เสนอขอรับการประเมิ นรับ รางวัล ทรงคุณค่า OBEC AWARDS ครูผู้สอน ยอดเยี่ยม ประเภทบุคคลากรยอดเยี่ยม ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียน กลุ่ม สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยผู้จัดทาได้รวบรวม สรุปผลงานตามหัวข้อ การประเมินที่กาหนด พร้อมแนบหลักฐาน เอกสารอ้างอิงไว้ด้วยแล้ว เอกสารประกอบเพื่ อ ขอรั บ การประเมิ นฉบับ นี้ เสร็ จ สมบูร ณ์ไ ด้ด้ ว ยดี ต้อ งขอขอบพระคุ ณ ท่านผู้อานวยการสุจินต์ หอมเสมอ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองสองห้อง คณะครู ผู้ปกครอง และ นักเรียนที่ ได้ให้ความร่วมมือ และสนับสนุนในการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาการศึกษาเป็นอย่างดีเ ยี่ยม จึง ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ นางสาวสุวิมล ภูริเภรีฤกษ์ ผู้จัดทา


สำรบัญ หน้า คานา สารบัญ ชื่อผลงาน

1

ข้อมูลทั่วไปของผู้พฒ ั นา BP เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนา BP

1 1 1

ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย แนวคิด หลักการ ทฤษฎี รูปแบบการพัฒนา/กระบวนการ

1 2 5

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP

7 7 7

ประวัติผจู้ ัดทา ภาคผนวก

8 9


1

ผลกำรปฏิบัติงำนที่ภำคภูมิใจ Best Pratices 1. ชื่อผลงำน การจัดการเรียนรู้โดยใช้ Facebook เพื่อพัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ด้าน นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียน 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนำ 2.1 ชื่อผู้พัฒนำ นางสาวสุวิมล ภูริเภรีฤกษ์ 2.2 โรงเรียนบ้ำนหนองสองห้อง เครื อ ข่ า ยพั ฒ นาคุ ณ ภาพการศึ ก ษาหนองตากยา อ าเภอท่ า ม่ ว ง จั ง หวั ด กาญจนบุ รี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 โทรศัพท์ 082-2414514 e-mail yeva9@hotmail.com 3. เป้ำหมำย/วัตถุประสงค์ของกำรพัฒนำ 1. เพื่อพัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดย ใช้ Facebook 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ประโยชน์จาก Facebook อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ และเกิดการ เรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 4. ระยะเวลำในกำรพัฒนำ ระยะเวลาที่เริ่มการพัฒนาวันที่ 1 กรกฎาคม – 30 กันยายน 2557 5. ควำมเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่ำง BP กับเป้ำหมำย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ./สถำนศึกษำ สอดคล้องกับจุดเน้นของนโยบำยและยุทธศำสตร์กำรพัฒนำกำรศึกษำของกระทรวงศึกษำธิกำร ดังนี้ 1. เร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยปฏิรูปให้มีความเชื่อมโยงกันทั้งหลักสูตรและการเรียนการสอน ให้ ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับการเรียนรู้ยุคใหม่ การพัฒนาครู และการพัฒนาระบบการทดสอบ การวัดและประเมินผลทีไ่ ด้มาตรฐานและเชื่อมโยงกับหลักสูตรและการเรียนการสอนและการพัฒนาผู้เรียนโดย 1.2 พัฒนากระบวนการเรียนการสอนในปัจ จุบันและรองรับ หลักสูตรใหม่ เพื่อให้ผู้เรียน สามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง มีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น สอดคล้องกับการ เรียนรู้ในโลกยุคใหม่ โดยเริ่มจากวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ 3. เร่งนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการปฏิรูปการเรียนรู้ สร้างมาตรฐานการเรียน การสอนด้วยคอมพิวเตอร์แบบพกพา (Tablet) และพัฒนาเสื้อหาสาระ พัฒนาครู และการวัดและประเมินผล ที่ได้มาตรฐาน รวมทั้งเพื่อเป็นเครื่องมือให้เกิดระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในสังคมไทย


2

สอดคล้องกับกลยุทธ์ สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ประจำปีงบประมำณ 2557 ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถ ด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ สอดคล้องกับมำตรฐำนกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ด้ำนคุณภำพผู้เรียน ดังนี้ มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทั กษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักเรียนรู้ และพัฒ นาตนเองอย่าง ต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่าง ๆ รอบตัว ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนาเสนอผลงาน มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียน มีความรู้และทักษะที่จ่าเป็นตามหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ Facebook เพื่อพัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ให้แก่ ผู้เรียน เนื่องจากปัญหาที่พบในชั้นเรียนส่วนใหญ่คือ ผู้เรียนขาดทักษะการใช้อุปกรณ์เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ ส่ง ผลให้เ ป็นอั นตรายต่อ ร่างกายและทรัพ ย์ สิน และผลการทดลองทางวิ ท ยาศาสตร์ที่ อ อกมาเกิ ดความ คลาดเคลื่อนไม่ถูกต้องตรงตามทฤษฎี ทาให้การเรียนรู้ไม่สัมฤทธิ์ผลตามวัตถุประสงค์ นอกจากนี้ การที่เครือข่ายสังคมออนไลน์เข้ามามีบทบาทกับกลุ่มผู้เรียนในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Facebook ดังจะเห็นได้ว่าผู้เรียนโดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น ให้ความสนใจและมีการติดต่อสื่อสารผ่าน Facebook กันอย่างแพร่หลาย แต่ก็ยังมีบางคนที่ใช้ Facebook ในทางที่ไม่เหมาะสม ดังนั้นจึงเกิดแนวคิดในการพัฒนาและประยุกต์ใช้ Facebook สาหรับการจัดการเรี ยนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ขึ้น เพื่อให้การเรียนวิทยาศาสตร์มีประสิทธิภาพมากขึ้น และให้ เกิดข้อผิดพลาดในการทดลองน้อยลง นอกจากนี้ยังเป็นส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการใช้ Facebook อย่างสร้างสรรค์ และเกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ 6. แนวคิด หลักกำร ทฤษฎีที่นำมำใช้ในกำรพัฒนำ BP แนวคิดและทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP คือ 1. แนวคิดเกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอน 2. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3. แนวคิดเกี่ยวกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 4. แนวคิดเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้งาน Facebook เพื่อการจัดการเรียนรู้ แนวคิดเกี่ยวกับกำรประยุกต์ใช้งำน Facebook เพื่อกำรจัดกำรเรียนรู้ 1.1 ควำมหมำยของสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) สื่อสัง คมออนไลน์ (Social Media) หมายถึง สื่อดิจิทัล ที่ ท างานอยู่บ นพื้นฐานของระบบเว็บ หรือ เว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ตที่เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคม ที่มีผู้สื่อสารจัดทาขึ้น โดยที่ผู้เขียนจัดทาขึ้น เองหรือพบเจอสิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวต่างๆ เหตุการณ์ บทความ ประสบการณ์ รูปภาพ วิดีโอและเพลง แล้วนามาแบ่งปันเนื้อหา ข้อมูล ข่าวสาร ประสบการณ์และพูดคุยให้ผู้ใช้ในโลกออนไลน์ในเครือข่ายของตนได้ รับรู้ ทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง กับคนที่อยู่ในสังคมเดียวกันได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ รวมถึงการใช้ประโยชน์ร่วมกัน (Elizabeth, 2012; Jan 2011, อรวรรณ วงศ์แก้วโพธิ์ทอง, 2553)


3

1.2 หลักปรัชญำกำรเรียนรู้ของสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) Siemens (2004 cited in Mason and Rennie , 2008 : 18-19) กล่ าวถึง หลัก ปรัช ญาการ เรียนรู้ที่เรียกว่า “Connectivism” ว่ามีหลักการสาคัญซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากเทคโนโลยีเว็บ 2.0 โดยส่งผล ต่อการเปลี่ยนแปลงในขอบข่ายแห่งการเรียนรู้โดยเฉพาะในเชิงบูรณาการของปรัชญาการเรียนรู้ใน 3 ปรัชญา สาคัญคือ ปรัชญาพฤติกรรมนิยม Behaviorism) ปรัชญาพุทธินิยม (Cognitivism) และปรัชญาสรรคนิยม (Constructivism ) ส่งผลต่อการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ที่เกิดการเชื่อมโยงข้อมูลเครือข่ายระหว่างกัน เพื่อสร้าง ทักษะองค์ความรู้ที่เรียกว่า “ปรัชญาการเชื่อมโยง (Connectivism)” ซึ่งปรัชญาดังกล่าวจะตั้งอยู่บ นหลัก แนวคิดพื้นฐานที่สาคัญดังต่อไปนี้ 1. การเรียนรู้และองค์ความรู้เกิดจากพลังทางความคิดของมนุษย์ที่เกิดขึ้นต่อเนื่องไม่หยุดนิง่ 2. การเรียนรูเ้ ป็นกระบวนการเชื่อมโยงจากแหล่งข้อมูลหรือคลังความรู้ทหี่ ลากหลาย 3. การเรียนรู้อาจมิใช่รปู แบบปกตินิยมที่มนุษย์จะใช้กันแบบทั่วๆไปก็เป็นได้ 4. ประสิทธิภาพของการสร้างองค์ความรู้นั้น เกิดจากความรู้ที่ได้มีพฒ ั นาการอย่างต่อเนือ่ ง 5. การพัฒนาและสะสมองค์ความรู้ เป็นสิ่งจาเป็นที่จะก่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องของมวล มนุษย์ 6. ความสามารถในการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์ ความคิด และมโนทัศน์ คือปัจจัย หลักที่สาคัญในการสร้างทักษะการเรียนรู้ 7. องค์ความรู้ที่ถูกต้องเป็นปัจจุบัน เป็นจุดเน้นสาคัญของการสร้างกิจกรรมในการเชื่อมโยงการเรียนรู้ ให้บังเกิดขึ้น 8. การตัดสินใจ เป็นกระบวนการเรียนทีส่ าคัญทีเ่ กิดขึ้น ประเด็นสาคัญคือการเลือกทีจ่ ะเรียนรูอ้ ย่างมี ความหมาย ผ่านข้อมูลสารสนเทศที่ได้รับอย่างมีวิจารณญาณและมีความรอบคอบ เพื่อส่งผลต่อการตัดสินใจใน การเรียนรูท้ ี่เกิดขึ้นนั้น 1.3 กำรใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ในกำรจัดกำรเรียนรู้ เหตุผ ลสาคัญของการนาเอาสื่อสัง คมออนไลน์ (Social Media) มาใช้ในการเรียนการสอนนั้ นมี 2 ประการสาคัญที่ Kommers (2011 : online ) ได้กล่าวไว้อย่างน่าสนใจว่า 1. สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) เป็นสื่อที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทาให้ผู้เรียนมีอิสระใน การเรียนรู้มากยิ่งขึ้น ซึ่งการนาเอาสื่อประเภทเหล่านี้เข้ามาใช้ในโรงเรียน จะสนองต่อจุดประสงค์สาคัญและ เป้าหมายที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนได้ 2. การนาเอาสื่อ สังคมออนไลน์ (Social Media) มาใช้ในโรงเรียน ยังเป็นการจ ากัดช่องทางและมี ความเหมาะสมสาหรับผู้เรียนที่จะสามารถพัฒนารูปแบบการสื่อสารได้ด้วยตนเองโดยเฉพาะการสื่อสารจาก การใช้เว็บไซต์ และยังเป็นระบบการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียนระดับต้นได้อีกด้วย 1.4 ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ที่ใช้งานกันในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 5 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ 1. Blog มาจากคาเต็มว่า Weblog บางครั้งอ่านว่า Weblog , Web Log ซึ่ง Blog ถือเป็น เครื่องมือสื่อสารที่ใช้งานบนเว็บไซต์มีลักษณะเหมือนกับเว็บบอร์ด ผู้ใช้ Blog สามารถเขียนบทความของตนเอง และเผยแพร่ลงบนอินเทอร์เน็ตได้โดยง่าย Blog เปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความสามารถในด้านต่างๆ เผยแพร่ ความรู้ด้ว ยการเขีย นได้อ ย่า งเสรี ตัว อย่างเว็ บ ไซต์ที่ เ ป็ น Blog เช่น Learners, GotoKnow, wordpress, blogger เป็นต้น


4

2. Social Networking หรือเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นรูปแบบของเว็บไซต์ในการสร้าง เครือข่ายสังคมในอินเทอร์เน็ต เพื่อให้ผู้ใช้เขียนและอธิบายความสนใจหรือกิจกรรมที่ทาเพื่อเชื่อมโยงความ สนใจและกิ จกรรมกั บผู้อื่นในเครือ ข่ายสังคมด้วยการสนทนาออนไลน์ การส่งข้อความ การส่ง อีเมล์ การ อัปโหลดวิดีโอ เพลง รูปถ่ายเพื่อแบ่งปันกับสมาชิกในสังคมออนไลน์ เป็นต้น เครือข่ายสังคมที่เป็นที่นิยมใน ปัจจุบัน เช่น Facebook, Hi5, Bebo, MySpace และ Google+ เป็นต้น 3. Microblog เป็นรูปแบบหนึ่งของ Blog ที่จากัดขนาดของข้อความที่เขียน ผู้ใช้สามารถ เขียนข้อความได้สั้นๆ ตัวอย่างของ Micro Blog เช่น Twitter, Pownce, Jaiku และ tumblr เป็นต้น โดย Twitter เป็น Micro Blog ที่ มี ผู้นิยมใช้ม ากที่ สุด กล่าวคือสามารถเขียนข้อความแต่ล ะครั้ง ได้เ พียง 140 ตัวอักษร 4. Media Sharing เป็นเว็บไซต์ที่ให้ผู้ใช้สามารถอัพโหลดรูปภาพ แฟ้มข้อมูล เพลง หรือ วิดีโ อเพื่อแบ่ง ปันให้กั บ สมาชิก หรือ เผยแพร่ต่อสาธารณชน ตัวอย่างเว็บ ไซต์ที่ เ ป็น Media Sharing เช่น Youtube, Flickr และ 4shared เป็นต้น 5. Social News and Bookmaking เป็นเว็บไซต์ที่เชื่อมโยงไปยังบทความหรือเนื้อหาใน อินเทอร์เน็ต โดยผู้ใช้เป็นผู้ส่งและสามารถให้คะแนนและเลือกบทความหรือเนื้อหาใดที่น่าสนใจที่สุดได้ ผู้ใช้ สามารถ Bookmark เนื้อหาหรือเว็บไซต์ที่ชื่นชอบได้ รวมทั้งยังแบ่งปันให้กับผู้อื่นได้ด้วย 1.4 กำรประยุกต์ใช้งำน Facebook เพื่อกำรเรียนกำรสอน เว็บ “พีซีเทคแม็กกาซีน (www.pctechmagazine.com)”ได้อ้างถึงเหตุผล 4 ประการที่ครูผู้สอนควร พิจารณาเลือกใช้ Facebook เป็นศูนย์แห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา 1. การพัฒนาด้านภาษาซึ่งครูผู้สอนและผู้เรียนจาเป็นต้องใช้ Facebook ในการติดต่อสื่อสารและ แสดงความเห็นต่างๆ เกี่ยวกับวิชาที่เรียนบน Facebook ทั้งนี้ การใช้ Facebook เป็นประจาในการเขียนและ อ่านข้อความต่างๆ จะช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกการเขียน การสะกดคา และการใช้ไวยากรณ์ที่ถูกต้อง 2. การสื่อสารระหว่างบุคคลซึ่งเป็นสร้างสัม พันธภาพที่ ดีระหว่างครูผู้ส อนกั บ ครูผู้ส อน ระหว่าง ครูผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียนในการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน รวมถึง สนับสนุนให้ผู้เรียนกล้าที่จะแสดงความคิดเห็นต่างๆ มากยิ่งขึ้น 3. การทางานร่วมกันเป็นกลุ่มซึ่ง Facebook เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนผู้ใดผู้หนึ่ง จะต้องรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกับผู้เรียนผู้อื่นเป็นกลุ่ม ซึ่งเป็นการฝึกทักษะการเป็นผู้นาและการ เป็นผู้ตาม 4. เพิ่มทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งการใช้ Facebook ในการเรียนการสอน จะช่วยผู้เรียนมีความสนใจและมีความกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ ส่ ว นดร.แว็ ก เนอร์ ( Ronald Wagner , Ph.D. ) แห่ ง California University of Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับ การนา Facebook มาปรับ ใช้ในการเรียนการสอนดังต่อไปนี้ (Wagner , 2011 : online) 1. ใช้ Facebook เสมื อ นหนึ่ ง เป็ น การสร้ า งระบบบริ ห ารจั ด การความรู้ ( Use as Learning Management Systems : LMS) 2. ใช้ Facebook เพื่อเป็นแหล่งสาหรับการสืบค้นอ้างอิง (Reference Citations) 3. ใช้สาหรับการประกาศหรือประชาสัมพันธ์ (Announcements) 4. ใช้ในการสื่อสารข้อความภายหลังการสอนหรือจบบทเรียนในชั้นเรียน (Post Class Notes) 5. ใช้ในการอภิปรายกลุ่มเชิงสร้างสรรค์ (Create Group Discussions)


5

1.5 ลักษณะของกำรใช้ Facebook กับชั้นเรียน เราสามารถแบ่งลักษณะของการใช้ Facebook กับชั้นเรียน ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ เพื่อการ เรียนรู้อย่างเป็นทางการ และ เพื่อการเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการและการเรียนรู้นอกเวลา การใช้ Facebook กับการเรียนรู้ทั้งสองแบบแสดงในตารางด้านล่างนี้

เพื่อกำรเรียนรู้อย่ำงเป็นทำงกำร เพื่อกำรเรียนรู้อย่ำงไม่เป็นทำงกำรและกำรเรียนรู้นอกเวลำ ใช้ Timeline หรือ Facebook group กับ  ใช้เพื่อการจัดการระบบสมาชิกของชมรมต่างๆ การเรียนการสอนในชั้นเรียน ใช้หน้า Wall เพื่อโพสรายละเอียดของ  เพื่อเป็นพื้นที่ให้ผเู้ รียนในชั้นปีต่างๆ ได้พูดคุยในเรื่องทั่วๆ ไป ไม่ เฉพาะเจาะจงเฉพาะเรือ่ งเรียนเท่านั้น ช่วยให้ผู้เรียนน้องใหม่ การบ้านหรือแหล่งค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม กลมกลืนกับผูเ้ รียนในชั้นปีอื่นๆ ได้ง่ายขึ้น ใช้เพื่อการอภิปราย โต้เถียง โต้วาที ออนไลน์ เพื่อเป็นพื้นที่แบ่งปันความรู้ พูดคุย สาหรับผู้ประกอบวิชาชีพเฉพาะ ด้านหรือเพื่อจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง (CPD: ในหัวข้อที่ชั้นเรียนให้ความสนใจ Continuing Professional Development) ต่างๆ เป็นพื้นทีท่ ี่ผเู้ รียนได้ติวหนังสือ ได้ให้ความ  ใช้การกด Like แสดงถึงแรงสนับสนุนจากเพื่อนร่วมชั้น อาจนาไปใช้ ช่วยเหลือด้านการเรียนซึง่ กันและกัน ในโปรเจคหรือกิจกรรมต่างๆ เพื่อเป็นเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าผ่าน การโพสข้อความ แบ่งปันความคิดเห็น วีดีโอ เพื่อแบ่งปัน social and video podcasts ระหว่างผูเ้ รียนโดยไม่ จากัดชั้นเรียน Link และแหล่งข้อมูลอื่นๆ ใช้ Facebook group ของโรงเรียนหรือ สถาบันการศึกษา ในการประชาสัมพันธ์  ใช้ Private Group เพื่อให้ผู้สอนเข้าถึงภาควิชาหรือสมาพันธ์ต่างๆ ข่าวสารต่างๆ ของอาจารย์และเจ้าหน้าที่ 7. รูปแบบ/กระบวนกำรพัฒนำ BP 7.1 กลุ่มเป้ำหมำยในกำรนำ BP ไปใช้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง จานวน 35 คน 7.2 ขั้นตอนกำรพัฒนำ BP การจั ด การเรี ย นรู้ โ ดยใช้ Facebook เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะการใช้ เ ครื่ อ งมื อ พื้ น ฐานทาง วิทยาศาสตร์ ได้ดาเนินงานตามวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง ดังนี้


6

• ศึกษาสภาพปัญหา ด้านการเรียนรู้ของ นักเรียน • ศึกษาและวิเคราะห์ เนื้อหา • กาหนดแนวทางใน การดาเนินการ

ขั ้นวางแผน

ขั ้นดาเนินงาน

P

D

ขั ้นตรวจสอบ

ขั ้นปรับปรุง

C

A

• ตรวจสอบผลการ ดาเนินการ

• พัฒนานวัตกรรม www.facebook.com / Coolneungclub เพื่อ พัฒนาทักษะการใช้ เครื่องมือพื ้นฐานทาง วิทยาศาสตร์ • ทดลองใช้นวัตกรรม

• ดาเนินการแก้ไข ข้อบกพร่อง • ปรับปรุงวิธีการทางาน

แผนภำพขั้นตอนกำรพัฒนำ BP 7.3 กำรตรวจสอบคุณภำพ BP วิธีการตรวจสอบคุณภาพ BP โดยใช้เครื่องมือดัง ตอไปนี้ - แบบประเมินผล - แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน - แบบประเมินความพึงพอใจ และนาผลที่ได้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบ ปรับปรุงเพื่อดูคุณภาพของ BP 7.4 แนวทำงกำรนำ BP ไปใช้ประโยชน์ - ใช้ในการพัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 - ใช้ในการพัฒนาสมรรถนะสาคัญของผู้เรียนด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นทางการในห้องเรียน - ใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างไม่เป็นทางการ - ใช้ในการจัดการเรียนรู้นอกเวลา


7

ทักษะการใช้เครื่องมือ พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

ความรู้/ทักษะ

ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี

เจตคติ

ใช้ Facebook อย่าง สร้างสรรค์

นวัตกรรมการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้ Facebook

รักการเรียนรู้ เรียนรู้ตลอดชีวิต แผนภำพแนวทำงกำรนำ BP ไปใช้ประโยชน์ 8. ผลสำเร็จที่เกิดขึ้นจำกกำรพัฒนำ BP 8.1 ผลสำเร็จเชิงปริมำณ นักเรียนกลุมเปาหมายรอยละ 80 สามารถใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานได้ถูกต้องตามหลัก ปฏิบัติทักษะทางวิทยาศาสตร์ 8.2 ผลสำเร็จเชิงคุณภำพ นวัตกรรมที่สร้างขึ้นสามารถเข้าถึงนักเรียนได้ และนักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ 8.3 ควำมพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP นักเรียนรอยละ ๘๕ มีความพึงพอใจในระดับมาก – มากที่สุด ซึ่งข้อมูลไดมาจากแบบประเมิน ความพึงพอใจโดยใหนักเรียนเปนผูประเมิน 9. กระบวนกำรตรวจสอบซ้ำเพื่อพัฒนำปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่ำงต่อเนื่อง 9.1 วิธีกำรตรวจสอบซ้ำ BP ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุข้อบกพร่องแต่ละขั้นแล้วนามาปรับปรุงแก้ไข แล้วนากลับมาใช้ซ้า 9.2 ผลกำรตรวจสอบซ้ำเพื่อกำรพัฒนำและปรับปรุง BP นักเรียนสามารพัฒนาการเรียนวิทยาศาสตร์ไดดีขึ้น มีเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร์ มีความสุขใน การเรียนและนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 10. กำรประชำสัมพันธ์ผลสำเร็จของ BP และกำรเผยแพร่ ขยำยผล ในวงกว้ำง การเผยแพร่ผลงานโดยการนาวิธีการ ขั้นตอน และสื่อที่ผลิตขึ้นไปใช้ให้ความรู้ในโรงเรียน และได้ นาไปเผยแพร่ใน www.facebook.com/coolneungclub และเว็บไซต์ต่าง ๆ อาทิเช่น www.thinkttt.com www.youtube.com ลงชื่อ

ผู้ขอรับการประเมิน (นางสาวสุวิมล ภูรเิ ภรีฤกษ์ ) ตาแหน่ง ครู คศ.1


8

ประวัติผู้จัดทา

ชื่อ

นางสาวสุวมิ ล ภูริเภรีฤกษ์

เกิด

วันที่ 7 สิงหาคม 2522

การศึกษา

ระดับปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต สาขาเอกวิชาเคมี วิชาโทเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา

ที่อยู่

2/2 หมู่ 5 ตาบลรางสาลี่ อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

ที่ทางาน

โรงเรียนบ้านหนองสองห้อง ตาบลหนองตากยา อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี


9

ภาคผนวก


กำรสร้ำง Fan page บน Facebook เพื่อใช้ในกำรเรียนกำรสอน 1. สมัครเป็นสมาชิกกับ Facebook 2. เมื่อสมั ครสมาชิก เสร็จ เรียบร้อ ยแล้วให้คลิก ที่ https://www.facebook.com/pages/create.php ให้ เลือกประเภทของ fan page ที่เหมาะสม โดยเลือกไปที่ ศิลปิน วง หรือบุคคลสาธารณะ

3. จากนั้นให้คลิกเลือกหมวดหมู่ ครู ใส่ชื่อแล้วกด ยอมรับเงื่อนไข จากนั้นก็กด เริ่ม

.l

ใส่ชื่อ


4. กรอกข้อมูล และรายละเอียดที่จาเป็น

5. ตั้งค่าพื้นฐาน

6. หน้า fan page ที่ได้


www.facebook.com/coolneungclub เพื่อการพัฒนาทักษะการใช้เครือ่ งมือพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์


ความคิดเห็นของผู้เช้าชม www.facebook.com/coolneungclub


ผู้เรียนมีการเรียนรู้ในเรื่องอุปกรณ์พื้นฐานในห้องวิทยาศาสตร์ผ่านทาง www.facebook.com/coolneungclub


ผู้เรียนส่งงานผ่านทาง www.facebook.com/coolneungclub โดยไม่ติดขัดเรื่องเวลา ( ส่งงานเวลา 20.53 น.)

ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กบั ครูได้ตลอดเวลาแม้ในวันหยุดราชการ ผ่านทาง www.facebook.com/coolneungclub


ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตลอดเวลาทัง้ ในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ผ่านทาง www.facebook.com/coolneungclub


ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองตลอดเวลาทัง้ ในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ผ่านทาง www.facebook.com/coolneungclub


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.