Best Practice ๑. ชื่อผลงาน BP บูรณาการสานต่ อพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ด้ าน ( / ) วิชาการ ( )บริหารจัดการศึกษา
( ) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรียนการสอน
๒. ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้พฒ ั นา BP ๒.๑ ชื่ อผู้พฒ ั นา BP นางอรุ ณี เสริมใหม่ ๒.๒ โรงเรียน เครือข่ าย ๒.๓ โทรศัพท์
บ้ านท่ามะนาว เครือข่ ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวังด้ ง – ช่ องสะเดา 0890233400
e-mail arunee@hotmail.com
๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา BP ๓.๑ เพื่อให้ครู นักเรี ยน ผูป้ กครอง เห็นความสาคัญ ตระหนักในประโยชน์ของการอยูแ่ บบพอเพียง ๓.๒ มีผลิตภัณฑ์ปลอดสารพิษ ปลอดสารเคมี ช่วยรักษาสิ่ งแวดล้อม ๓.๓ ช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ พัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้ ึน ๓.๔ เพื่อส่ งเสริ มครู นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชน ปลูกพืชสมุนไพร ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่ มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ช่วงเริ่ มต้นการพัฒนา เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๗ ถึง เดือนตุลาคม ๒๕๕๗ ระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา เดือนเมษายน ๒๕๕๕ จนถึงปัจจุบนั ๕. ความเชื่อมโยง/สั มพันธ์ ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้ นของ สพป. สพม. สพฐ. สถานศึกษา เชื่อมโยงกับเป้ าหมาย และ จุดเน้น - กระทรวงศึกษาธิ การ มีดงั นี้ นโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑) เป้ าหมายปฏิรูปการศึกษา ข้อที่ ๓ ส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนในการบริ หารและจัด การศึกษา - สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีดงั นี้
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาทัดเทียมนานาชาติ จุดเน้นในปี ๒๕๕๖ ข้อ ๑.๑ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ๕ กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ ๕ และเพิ่มศักยภาพนักเรี ยนด้านเทคโนโลยี และด้านภาษาอังกฤษเตรี ยมพร้อมสู่ ประชาคมอาเซี ยน - สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ มีดงั นี้ กลยุทธ์ขอ้ ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสู ตรและส่ งเสริ มความสามารถ ด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู้ - โรงเรี ยนบ้านท่ามะนาว ดังนี้ กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาสถานศึกษาเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ที่ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีและภูมิปัญญาท้องถิ่น ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ ในการพัฒนา BP ๖.๑ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง ที่ ทรงปรั บ ปรุ งพระราชทานเป็ นที่ ม าของนิ ยาม "3 ห่ วง 2 เงื่ อนไข" ที่ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ น ามาใช้ ใ นการรณรงค์ เ ผยแพร่ ป รั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งผ่ า นช่ อ งทางสื่ อ ต่ า ง ๆ อยู่ ใ นปั จ จุ บ ัน ซึ่ ง ประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม" ระบบเศรษฐกิจ พอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยัง่ ยืน และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกาลังของเงิ นของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ ยืมสิ น และถ้ามี เงิ นเหลื อ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่ วน ช่ วยเหลื อผูอ้ ื่นบางส่ วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปั จจัยเสริ มอีกบางส่ วน สาเหตุที่แนวทางการดารงชี วิตอย่าง พอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดารงชี วิตของสังคมทุนนิ ยมในปั จจุบนั ได้ถูก ปลู ก ฝั ง สร้ า ง หรื อกระตุ ้น ให้เกิ ดการใช้จ่า ยอย่า งเกิ นตัว ในเรื่ อ งที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้องหรื อ เกิ นกว่า ปั จจัย ในการ ดารงชี วิต เช่น การบริ โภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรู ปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชัน่ การพนันหรื อเสี่ ยงโชค เป็ นต้น จนทาให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ส่ งผลให้เกิดการ กูห้ นี้ยมื สิ น เกิดเป็ นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถหลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการดารงชีวติ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่ วง ห่วง ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผูอ้ ื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ ห่วง ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็ นไปอย่างมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่าง รอบคอบ
ห่วง ๓. การมีภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว หมายถึงการเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้าน ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒ เงื่อนไข ๑. เงื่ อนไข ความรู ้ ประกอบด้วย ความรอบรู ้ เกี่ ย วกับวิชาการต่ าง ที่ เกี่ ย วข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนาความรู ้ เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่ อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังใน ขั้นปฏิบตั ิ ๒. เงื่ อนไข คุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่ อสัตย์ สุ จริ ต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวติ
๖.๒ ทฤษฎีความพึงพอใจ ความพึงพอใจเป็ นปั จจัยสาคัญที่มีผลต่อความสาเร็ จของงาน นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ได้รับการ ตอบสนองต่อแรงจูงใจหรื อความต้องการที่เห็นผลงาน อยากทดลอง ค้นคว้า อยากผลิตของใช้ดว้ ยตนเอง มีจิต วิญญาณของการเป็ นผูผ้ ลิ ต มี ค วามตระหนัก ในการเป็ นอยู่อย่า งพอเพี ย ง ผูศ้ ึ ก ษาค้นคว้า ได้ศึ ก ษาเกี่ ย วกับ ความหมายของความพึงพอใจและมีผใู้ ห้ ความหมายของความพึงพอใจไว้ในด้านต่างๆกันพอสรุ ปได้ดงั นี้ กูด ( Good.๑๙๗๓, p.๓๒๐ ) ให้ความหมายของความพึงพอใจ หมายถึง คุณภาพหรื อ ระดับความพึง พอใจ ซึ่งเป็ นผลจากความสนใจต่างๆและทัศนคติของบุคคลกิจกรรม ขนิษฐา นาคน้อย ( ๒๕๕๐, น. ๒๕ ) ให้ความหมายของความพึงพอใจว่าเป็ นเรื่ องเกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความรู ้ สึก ทัศนคติ ของบุ คคล อันเนื่ องมาจากสิ่ งเร้ าและแรงจูงใจ ซึ่ งปรากฏออกมาทางพฤติกรรม และเป็ น องค์ประกอบที่สาคัญในการทากิจกรรมต่างๆของบุคลากรที่บุคคลจะเกิดความพึงพอใจจะต้องอาศัยปั จจัยหลาย
อย่างมากระตุน้ ให้เกิดความรักหรื อมีเจตคติที่ดีต่อสิ่ งนั้นๆ บุคคลจะเกิดความพึงพอใจนั้นจะต้องมีการจูงใจให้ เกิดขึ้น วิธีการสร้ างความพึงพอใจในการเรียน มีการศึกษาในด้านความสัมพันธ์เชิ งเหตุผลและผลระหว่างสภาพจิตใจกับผลการเรี ยนจุดที่น่าสนใจจุด
หนึ่ ง คือ การสร้างความ พอใจในการเรี ยนตั้งแต่เริ่ มต้น
ภาพที่ ๔ แสดงความพึงพอใจนาไปสู่ การปฏิบัติงานทีม่ ีประสิ ทธิภาพ จากแนวคิดดังกล่าว ครู ผสู ้ อนที่ตอ้ งการให้กิจกรรมการเรี ยนที่เน้นนักเรี ยนเป็ นศูนย์กลางบรรลุผลสาเร็ จ จึงต้องคานึ งถึงการจัดบรรยากาศและสถานการณ์ รวมทั้งสื่ อ อุปกรณ์ การเรี ยนการสอนที่เอื้ออานวยต่อการเรี ยน เพื่ อตอบสนองความพึ ง พอใจของนัก เรี ย น ให้มี แ รงจู ง ใจในการท ากิ จกรรมจนบรรลุ ต ามวัตถุ ป ระสงค์ข อง หลักสู ตร ผลของการปฏิ บตั ิงานนาไปสู่ ความพอใจ และผลการปฏิ บตั ิงานจะถู กเชื่ อมโยงโดยปั จจัยอื่ นๆ ผลการ ปฏิ บตั ิ งานที่ ดี จะนาไปสู่ ผลตอบแทนที่ เหมาะสม ซึ่ งในที่ สุดจะนาไปสู่ การตอบสนองความพึงพอใจ ผลการ ปฏิบตั ิงานย่อมได้รับการตอบสนองในรู ปของรางวัล หรื อ ผลตอบแทน ซึ่ งแบ่งออกเป็ น ผลตอบแทนภายใน ( Intrinsic Rewards ) และผลตอบแทนภายนอก ( Extrinsic Rewards ) โดยผ่านการรับรู ้เกี่ยวกับความยุติธรรมของ ผลตอบแทน ซึ่ ง เป็ นตัวบ่ ง ชี้ ป ริ ม าณของผลตอบแทนที่ ผูป้ ฏิ บ ตั ิ ง านได้รับ นั่นคื อ ความพึ ง พอใจในงานของ ผูป้ ฏิ บตั ิงานจะถูกกาหนดโดย ความแตกต่างระหว่างผลตอบแทนที่เกิ ดขึ้นจริ งและการรั บรู ้ เรื่ องเกี่ ยวกับความ ยุติธรรมของผลตอบแทนที่รับรู ้แล้ว ความพึงพอใจย่อมเกิดขึ้น จากแนวคิดพื้นฐานดังกล่าว เมื่อนามาใช้ในการจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอน ผลตอบแทนภายในหรื อ รางวัลภายในเป็ นผลด้านความรู ้สึกของนักเรี ยนที่เกิดแก่ตวั นักเรี ยนเอง เช่น ความรู ้สึกต่อความสาเร็ จที่เกิดขึ้นเมื่อ เอาชนะความยุง่ ยากต่างๆ และสามารถดาเนิ นงานภายใต้ความยุง่ ยากทั้งหลายได้สาเร็ จ ทาให้เกิดความภาคภูมิใจ ความมัน่ ใจ ตลอดจนได้รับการยกย่องจากบุคคลอื่น ส่ งผลตอบแทนภายนอก เป็ นรางวัลที่ผอู ้ ื่นจัดหาให้มากกว่าที่ ตนเองให้ตนเอง เช่น การได้รับคายกย่องชมเชยจากครู ผสู ้ อน พ่อแม่ ผูป้ กครอง หรื อแม้แต่ได้คะแนนผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนในระดับที่น่าพอใจ
สรุ ปได้วา่ ความพึงพอใจในการเรี ยนและผลการเรี ยนจะมีความสัมพันธ์กนั ในทางบวก ทั้งนี้ ข้ ึนอยูก่ บั ว่า กิจกรรมที่นกั เรี ยนได้ปฏิ บตั ิน้ นั ทาให้นกั เรี ยนได้รับการตอบสนองความต้องการทางด้านร่ างกายและจิตใจ ซึ่ ง เป็ นส่ ว นส าคัญ ที่ จ ะท าให้ เ กิ ด ความสมบู ร ณ์ ข องชี วิ ต มากน้ อ ยเพี ย งใดนั่น คื อ สิ่ ง ที่ ค รู ผู ้ส อนจะค านึ ง ถึ ง องค์ประกอบต่างๆในการเสริ มสร้างความพึงพอใจในการเรี ยนรู ้ให้กบั ผูเ้ รี ยน ๖.๓ การบูรณาการข้ ามวิชา ๑. ความหมายของบูรณาการ สาหรับความหมายของคาว่า บูรณาการ นั้น อาจพิจารณาได้ 2 ลักษณะ คือ ความหมายทัว่ ไป คือ การ ทาให้สมบูรณ์ หรื อการทาให้หน่ วยย่อยๆ ที่สัมพันธ์ ซึ่ งอาศัยกันอยูเ่ ข้ามาร่ วมทาหน้าที่อย่างประสานกลมกลื น เป็ นองค์รวมส่ วนอี ก ความหมายหนึ่ งเป็ นความหมายในสาขาวิชาทางศึ ก ษาศาสตร์ หรื อคุ รุศ าสตร์ บูรณาการ หมายถึง การนาเอาศาสตร์ สาขา วิชาต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมาผสมผสานเข้าด้วยกัน เพื่อประโยชน์ ในการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน การจัดการ เรี ยนการสอน จึงจาเป็ นต้องใช้วิธีบูรณาการ คือ เน้นที่องค์รวมของความรู้ มากกว่าเนื้ อหาย่อยของแต่ละวิชา และเน้นที่กระบวนการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนสาคัญยิ่งกว่าการบอก เนื้ อหาของครู การเรี ยนการสอนแบบบูรณาการจะประสบผลสาเร็ จได้น้ นั จาเป็ นจะต้องได้ผสู ้ อนที่ดีเพื่อทาหน้าที่ ให้ผเู ้ รี ยน เกิด ความซาบซึ้ งและส่ งเสริ มการพัฒนาความสามารถเต็มตามศักยภาพของตนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ดัง นั้ น อาจสรุ ป ได้ ว่ า การเรี ยนการสอนบู ร ณาการ เป็ นนวัต กรรมที่ ส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้เ รี ยนมองเห็ น ความสัมพันธ์ระหว่าง วิชาชีพที่เรี ยนกับวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องความรู ้กบั กระบวนการเรี ยนรู ้ พัฒนาการทางความรู ้กบั พัฒนาการทางจิตใจ ความรู ้กบั การกระทา ซึ่ งจะทาให้เกิดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ได้กว้างขวางรวมทั้งทาให้เกิดทักษะ ความสามารถในการแก้ปั ญหาทั้ง ผูเ้ รี ย นและผูส้ อน จะเห็ นได้ว่า การเรี ย นการสอนแบบบู รณาการคงไม่ พ น้ ความสามารถ ที่ผสู ้ อนจะทาได้หากให้ความเอาใจใส่ อย่างต่อเนื่อง บูรณาการ นั้นได้มีผทู ้ ี่ให้ความหมายมากมายหลายหลาก ดังนั้นเราจึงได้แยกจาแนกความหมาย ของคาว่าบูรณาการได้ดงั นี้ ๑. กาญจนา คุณารักษ์ ได้ให้ความหมายของคาว่า บูรณาการ หมายถึง กระบวนการหรื อการปฏิบตั ิ เกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบทางจิตพิสัย และพุทธิ พิสัย หรื อกระบวนการ หรื อการปฏิบตั ิ ในอันที่จะรวบรวมความคิด มโนภาพ ความรู ้ เจตคติ ทักษะ และประสบการณ์ในการแก้ปัญหา เพื่อให้ชีวิตมี ความสมดุลนัน่ เอง ๒. เสริ มศรี ไชยศร และคนอื่น ๆ ได้ให้ความหมายของคาว่า บูรณาการ หมายถึง ลักษณะของการ ผสมผสานประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ซึ่ งอาจจะเป็ นการผสมผสานเนื้ อหาจากวิชาต่าง ๆ ที่อยูใ่ นสาขาเดียวกันหรื อ เป็ นการผสมผสานเนื้อหาวิชาต่าง ๆ ที่อยูต่ ่างสาขากันก็ได้ ๓. บันลือ พฤกษะวัน ได้ให้ความหมายของคาว่า บูรณาการ 2 นัย คือ - นัยแรก บูรณาการเป็ นจุดมุ่งหมายปลายทางของการจัดการเรี ยนการสอน คือ มุ่งให้ผเู ้ รี ยนมีพฒั นาการทุก ๆ ด้าน - นัยที่สอง บูรณาการคือการจัดเนื้อหาวิชาต่าง ๆ ให้ผสมผสานผูกพันกัน
จากความหมายที่กล่าวมาข้างต้น พอที่จะสรุ ปได้วา่ คาว่า บูรณาการ นั้นหมายถึง ลักษณะของการ ผสมผสานเนื้อหาวิชาหรื อวิธีสอน เพื่อส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ และมีประสบการณ์ในอันที่จะรวบรวม ความคิด มโนภาพ ความรู ้ เจตคติ ทักษะ และประสบการณ์ในการแก้ปัญหา ๒. ความหมายของการสอนแบบบูรณาการ การสอนแบบบูรณาการ หมายถึง การสอนเพื่อจัดประสบการณ์ให้แก่นกั เรี ยน เน้นความสนใจ ความสามารถ และความต้องการของผูเ้ รี ยน โดยใช้กิจกรรมการเรี ยนการสอนที่สอดคล้องกับจุดประสงค์ เพื่อให้นกั เรี ยนสามารถแก้ไขปั ญหาได้ดว้ ยตนเอง และยังผลให้เกิดการดัดแปลงและปรับปรุ งพฤติกรรมของ นักเรี ยนให้เข้ากับสภาพชีวติ ได้ดียงิ่ ขึ้นกว่าเดิม จากคากล่าวข้างต้นนี้ ได้มีผใู ้ ห้ความหมายของการสอนแบบบูรณาการได้ดงั นี้ ๑. สุ มานิน รุ่ งเรื องธรรม ให้ความหมายว่า การสอนแบบบูรณาการ หมายถึง การสอนเพื่อจัด ประสบการณ์ให้แก่ผเู ้ รี ยน เพื่อการเรี ยนรู ้ที่มีความหมาย ให้เข้าใจลักษณะความเป็ นไปอันสาคัญของสังคม เพื่อดัดแปลงปรับปรุ งพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนให้เข้ากับสภาพชีวติ ได้ดียงิ่ กว่าเดิม ๒. นที ศิริมยั กล่าวว่า การสอนแบบบูรณาการ หมายถึง เทคนิคการสอนโดยเน้นความสนใจ ความสามารถและความต้องการของผูเ้ รี ยน การผสมผสานของเนื้ อหาวิชาในแง่มุมต่าง ๆ อย่างสัมพันธ์กนั เป็ นการสร้างความคิดรวบยอดให้เกิดขึ้นในตัวผูเ้ รี ยน และยังสามารถนาความคิดรวบยอดไปสร้างเป็ นหลักการ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ดว้ ย ๓. ผกา สัตยธรรม กล่าวว่า การสอนแบบบูรณาการ หมายถึง ลักษณะการสอนที่นาเอาวิชาต่าง ๆ เข้ามาผสมผสานกัน โดยใช้วิชาใดวิชาหนึ่งเป็ นแกนหลักและนาเอาวิชาต่าง ๆ มาเชื่ อมโยงสัมพันธ์กนั ตามความ เหมาะสม ๓. รู ปแบบการบูรณาการ ๑.การบูรณาการภายในวิชา เป็ นการเชื่ อมโยงการสอนระหว่างเนื้ อหาวิชาในกลุ่มประสบการณ์ หรื อรายวิชาเดียวกันกันเข้าด้วยกัน ๒.บูรณาการระหว่างวิชา มี 4 รู ปแบบ คือ ๒.๑ การบูรณาการแบบสอดแทรก เป็ นการสอนในลักษณะที่ครู ผสู้ อนในวิชา หนึ่งสอดแทรกเนื้อหาวิชาอื่น ๆ ในการสอนของตน ๒.๒ การสอนบูรณาการแบบคู่ขนาน เป็ นการสอนโดยครู ต้ งั แต่สองคนขึ้นไป วางแผนการสอนร่ วมกันโดยมุ่งสอนหัวเรื่ องหรื อความคิดรวบยอดหรื อ ปั ญหาเดียวกันแต่สอนต่างวิชาและต่างคนต่างสอน ๒.๓ การสอนแบบบูรณาการแบบสหวิทยาการ เป็ นการสอนลักษณะเดียวกับ การสอนบูรณาการแบบคู่ขนาน แต่มีการมอบหมายงานหรื อโครงงาน ร่ วมกัน
๒.๔ การสอนบูรณาการแบบข้ามวิชา หรื อสอนเป็ นคณะ เป็ นการสอนที่ ครู ผสู ้ อนวิชาต่าง ๆ ร่ วมกันสอนเป็ นคณะหรื อเป็ นทีม มีการวางแผน ปรึ กษาหารื อร่ วมกันโดยกาหนดหัวเรื่ อง ความคิดรวบยอด หรื อปั ญหา ร่ วมกัน แล้วร่ วมกันสอนนักเรี ยนกลุ่มเดียวกัน ๔. การแบ่ งลักษณะการบูรณาการในหลักสู ตร ๔.๑ บูรณาการเชิงเนื้ อหาวิชา คือ การผสมผสานเนื้อหาวิชาลักษณะของการหลอมรวมแบบแกน หรื อแบบสหวิทยาการ จะเป็ นหน่วยก็ได้หรื อจะเป็ นโปรแกรมก็ได้ นอกจากนี้อาจจะเป็ นการผสมผสานของ เนื้อหาวิชาในแง่ของทฤษฎีกบั การปฏิบตั ิหรื อเนื้อหาวิชาที่สอนกับชีวติ จริ ง ในการจัดบูรณาการเชิงเนื้ อหาวิชา ได้ แบ่งวิธีการจัดบูรณาการเชิงเนื้อหาออกเป็ น 2 วิธี คือ - บูรณาการส่ วนทั้งหมด (Total Integration) คือ การรวมเนื้อหาประสบการณ์ต่าง ๆ ที่ ต้องการจะให้เด็กเรี ยนรู ้หลักสู ตรหรื อโปรแกรม จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่ยดึ ปั ญหาหรื อแนวเรื่ อง (Theme) เป็ นแกน ซึ่ งปั ญหาหรื อแนวเรื่ องที่จะเป็ นตัวชี้บ่งถึงความรู ้มาจากวิชาต่าง ๆ ในโปรแกรมซึ่ งมีเนื้ อหา เกี่ยวข้องกับชีวติ ประจาวันและปั ญหาสังคมทั้งหมด - บูรณาการเป็ นบางส่ วน (Partial Integration) เป็ นการรวมรวมประสบการณ์ของบาง สาขาวิชาเข้าด้วยกัน อาจจะเป็ นลักษณะของหมวดวิชาหรื อกลุ่มวิชาซึ่ งภายในสัมพันธ์กนั เป็ นอย่างดี ดังนั้นการ จัดบูรณาการเป็ นบางส่ วนอาจจะจัดได้ท้ งั ภายในสาขาวิชาและระหว่างสาขาวิชา หรื อจัดเป็ นบูรณาการแบบ โครงการ ซึ่ งการจัดแบบโครงการนี้ แต่ละรายวิชาก็จะเป็ นรายวิชาเช่นปกติ แต่จะจัดประสบการณ์ให้เป็ นบูรณา การในรู ปของโครงการ อาจจะเป็ นโครงการสาหรับนักเรี ยนรายบุคคล หรื อรายกลุ่ม ๔.๒ บูรณาการเชิงวิธีการ คือ การผสมผสานวิธีการเรี ยนการสอนแบบต่าง ๆ โดยใช้สื่อประสม และใช้วธิ ีการประสมให้มากที่สุด ๕. ลักษณะการสอนแบบบูรณาการ สุ มิตร คุณานุกร กล่าวว่า การสอนแบบบูรณาการเป็ นการสัมพันธ์ความรู้ ซึ่งแยกออกเป็ นวิธี ย่อยได้ ๔ วิธี คือ - นาเอาความรู ้อื่นที่ใกล้เคียงกับเรื่ องที่กาลังสอนมาสัมพันธ์กนั - นาเอาความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องอื่น ๆ ที่เป็ นเหตุเป็ นผลเกี่ยวเนื่องกับเรื่ องที่กาลังสอนมาสัมพันธ์กนั - รับงานที่ให้เด็กทาให้มีลกั ษณะสอดคล้องกับสภาพความเป็ นจริ งในสังคม - พยายามนาสิ่ งที่เป็ นแกนเข้าไปผนวกกับสิ่ งที่กาลังสอนทุกครั้งที่มีโอกาสจะสอดแทรกแกน ดังกล่าวนี้อาจเป็ นความคิดรวบยอด ทักษะ และค่านิยม ๖. ขั้นตอนการจัดการเรี ยนการสอนแบบบูรณาการ ๖.๑ กาหนดเรื่ องที่จะสอน โดยการศึกษาหลักสู ตรและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของเนื้อหาที่มีความ เกี่ยวข้องกัน เพื่อนามากาหนดเป็ นเรื่ องหรื อปั ญหาหรื อความคิดรวบยอดในการสอน
๖.๒ กาหนดจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ โดยการศึกษาจุดประสงค์ของวิชาหลักและวิชารองที่จะนามา บูรณาการ และกาหนดจุดประสงค์การเรี ยนรู้ในการสอน สาหรับหัวเรื่ องนั้น ๆ เพื่อการวัดและประเมินผล ๖.๓ กาหนดเนื้อหาย่อย เป็ นการกาหนดเนื้ อหาหรื อหัวเรื่ องย่อย ๆ สาหรับการเรี ยนการสอนให้สนอง จุดประสงค์การเรี ยนรู ้ที่กาหนดไว้ ๖.๔ วางแผนการสอน เป็ นการกาหนดรายละเอียดของการสอนตั้งแต่ตน้ จนจบ โดยการเขียนแผนการ สอน/แผนการจัด การเรี ย นรู้ ซึ่ งประกอบด้ว ยองค์ป ระกอบส าคัญ เช่ น เดี ย วกับ แผนการสอนทั่ว ไป คื อ สาระสาคัญ จุดประสงค์ เนื้อหา กิจกรรมการเรี ยนการสอน การวัดและประเมินผล ๗. ประโยชน์ ทไี่ ด้ รับจากการสอนแบบบูรณาการ ช่ วยให้เกิ ดการเชื่ อมโยงของการเรี ยนรู ้ (Transfer of learning) ความรู้ ที่เรี ยนไปแล้ว จะถูกนามา สัม พันธ์ ก ับความรู ้ ที่จะเรี ย นใหม่ ๆ จะทาให้เกิ ดการเรี ย นรู ้ ได้เร็ วขึ้ นช่ วยจัดเนื้ อหาวิช า หรื อความรู ้ ให้อยู่ใ น ลักษณะเหมือนชีวิตจริ ง คือ ผสมผสานและสัมพันธ์เป็ นความรู้ที่ อยูใ่ นลักษณะหรื อรู ปแบบที่เอื้อต่อการนาไปใช้ กับชี วิต ช่ วยให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจสภาพและปั ญหาสังคมได้ดีกว่า การกระทาหรื อปรากฏการณ์ ต่าง ๆ ในสังคมเป็ น ผลรวมจากหลาย ๆ สาเหตุ การที่จะเข้าใจปั ญหาใดและสามารถแก้ปัญหานั้นได้ ควรพิจารณาปั ญหาและที่มาของ ปั ญหาอย่างกว้าง ๆ ใช้ความรู ้จากหลาย ๆ วิชามาสัมพันธ์กนั เพื่อสร้างความเข้าใจใหม่ ๆ ขึ้น ช่วยให้การสอนและ การให้การศึกษามีคุณค่ามากขึ้น แทนที่จะเป็ นขบวนการถ่ายทอดความรู ้หรื อสาระแต่เพียงประการเดียว กลับช่วย ให้สามารถเน้นการพัฒนาทักษะที่จาเป็ น ให้เกิดความคิดรวบยอดที่กระจ่างถูกต้อง และให้สามารถปลูกฝังค่านิ ยม ที่ปรารถนาได้อีกด้วย ทาให้เกิ ดบูรณาการขึ้น การบูรณาการความรู ้ ทาให้วตั ถุ ประสงค์ในการจัดการศึกษาหรื อ การสอนเปลี่ ยนไป จากเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้รับความรู ้ไปเป็ นเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้เห็นคุ ณค่าและนาความรู ้ ไปใช้ให้เกิ ด ประโยชน์ ๘. การเรี ยนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ ๘.๑ การเรี ยนรู ้โดยใช้ทกั ษะการอ่าน ทักษะการอ่านมีความจาเป็ นต่อการเรี ยนรู ้ในทุกสาขาวิชา ผูเ้ รี ยนจะเกิดการเรี ยนรู ้ได้ดี หากมีความสามารถในการอ่าน ซึ่ งครู ผสู ้ อนสามารถพัฒนาทักษะการอ่านและการ เรี ยนรู ้โดยใช้ทกั ษะการอ่านได้ การเรี ยนรู ้โดยใช้ทกั ษะการอ่าน มีข้ นั ตอนและองค์ประกอบ ดังนี้ - ขั้นเตรี ยมการ เตรี ยมเอกสารบทเรี ยนให้ผเู ้ รี ยนอ่าน โดยให้ผเู ้ รี ยนตัดสิ นใจ เลือกเองอย่างมีเหตุผล หรื อครู เป็ นผูช้ ่วยกาหนดกรอบเนื้ อหาให้ การตั้งคาถาม เพื่อตอบคาถามในขณะที่อ่านเอกสารบทเรี ยน - ขั้นการอ่าน การอ่านเพื่อสารวจขั้นต้น เป็ นการสารวจเนื้อหาหลักของเอกสาร บทเรี ยนเพื่อช่วยให้ผเู ้ รี ยนทราบแนวทางการเรี ยบเรี ยงของผูแ้ ต่ง การอ่านและเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ผูเ้ รี ยนใช้เทคนิคการอ่าน แบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม และใช้พ้นื ความรู ้เดิมเชื่อมโยงกับเอกสาร
บทเรี ยนการอธิ บายและทาหมายเหตุประกอบ อาจทาคาอธิ บายเพิม่ เติม ลงไปในเอกสารบทเรี ยนนั้น เพื่อช่วยให้เกิดความเข้าใจมาก ยิง่ ขึ้น
- ขั้นสรุ ป ๑. การจา ผูเ้ รี ยนอาจใช้เค้าโครงของเรื่ องและการสรุ ปมาเป็ น เครื่ องช่วยในการจาบทเรี ยน ๒. การประเมิน ผูเ้ รี ยนสามารถประเมินการทางานของตนเอง และ พิจารณาผลสัมฤทธิ์ ตามจุดมุ่งหมายที่ได้กาหนด การใช้วิธีก ารเรี ย นรู ้ แบบนี้ อาจใช้ใ นลักษณะของการสอนรายบุ คคลได้ โดยแยกตามระดับ ความสามารถของผูเ้ รี ยนแต่ละคน นอกจากนี้อาจใช้การเรี ยนเป็ นทีมเพื่อให้เด็กที่กา้ วหน้าได้รวดเร็ วมาเป็ นพี่เลี้ยง ให้กบั ผูเ้ รี ยนที่ยงั ไม่ค่อยคล่อง ๒. การเรี ยนรู้เพื่อสร้างความรู้ (Constructivism) การเรี ยนรู้เพื่อสร้างความรู เป็ นการจัดสถานการณ์ที่ ทาให้เกิดการคิด โดยสถาน-การณ์ปัญหาที่จดั ให้จะทาให้เกิดความไม่ สมดุล สับสนในความคิด เนื่ องจากข้อมูลความรู ้ที่มีอยูเ่ ดิมไม่เพียงพอหรื อไม่สอดคล้องกับปั ญหา/สถานการณ์ที่ ได้รับ ทาให้เกิดการพิจารณา ไตร่ ตรอง พินิจพิเคราะห์หาข้อมูลเพิม่ เติม โดยการอภิปราย แลกเปลี่ยนความรู้ จากซึ่ งและกัน นาความรู ้ ใหม่และความรู ้ เดิ มมาสัมพันธ์กนั จนเกิ ดความรู ้ ความคิดใหม่ แล้วนามาเปรี ยบเทียบ พิจารณาตรวจสอบ นาไปใช้ได้อย่างถูกต้อง การเรี ยนรู ้เพื่อสร้างความรู ้ มีข้ นั ตอนและองค์ประกอบ ดังนี้ ๑. ขั้นนา เป็ นขั้นที่ผเู ้ รี ยนจะรับรู ้ถึงจุดมุ่งหมาย และเกิดแรงจูงใจในการเรี ยน ๒. ขั้นดึงความคิด เป็ นขั้นที่ผเู ้ รี ยนแสดงออกถึงความเข้าใจเดิมที่มีอยูเ่ กี่ยวกับเรื่ องที่เรี ยน อาจ ให้ผเู ้ รี ยนอภิปรายกลุ่มหรื อเขียนเพื่อแสดงความรู ้ความเข้าใจที่มีอยู่ ขั้นนี้จะทาให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญา ๓. ขั้นปรับเปลี่ยนแนวความคิด เป็ นขั้นตอนที่สาคัญของบทเรี ยน ขั้นนี้ประกอบด้วยขั้นย่อย คือ ๓.๑ ทาความกระจ่างและแลกเปลี่ยนความคิด ผูเ้ รี ยนจะเข้าใจดีข้ ึนเมื่อได้พิจารณาความ แตกต่าง และความขัดแย้งระหว่างความคิดของตนเองกับความคิดของผูอ้ ื่น ๓.๒ สร้างความคิดใหม่ จากการอภิปรายและการสาธิ ต ผูเ้ รี ยนจะเห็นแนวทางรู ปแบบ วิธีการที่หลากหลายในการตีความจากปรากฏการณ์ แล้วกาหนดเป็ นความคิดใหม่ ๓.๓ ประเมิ น ความคิ ด ใหม่ โดยการทดลองหรื อ การคิ ด อย่า งลึ ก ซึ้ ง ผูเ้ รี ย นควรหา แนวทางที่ดีที่สุด ในการทดสอบความคิดที่เลือก ในขั้นตอนนี้ ผเู ้ รี ยนอาจจะรู ้สึกไม่พึงพอใจความคิดความเข้าใจที่ เคยมีอยู่ เนื่องจากหลักฐานการทดลองสนับสนุนแนวความคิดใหม่มากกว่า - ขั้นนาความคิดไปใช้ เป็ นขั้นตอนที่ผเู ้ รี ยนมีโอกาสใช้แนวคิด หรื อความรู ้ความเข้าใจที่ พัฒนาขึ้นมาใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คุน้ เคยและไม่คุน้ เคย
- ขั้นทบทวน เป็ นขั้นตอนสุ ดท้าย ผูเ้ รี ยนจะได้ทบทวนว่าความคิดความเข้าใจของตนเอง ได้เปลี่ยนไป โดยการเปรี ยบเทียบความคิดเมื่อเริ่ มต้นบทเรี ยนกับความคิดของตนเมื่อสิ้ นสุ ดบทเรี ยน บทบาทของครู ในการเรี ยนรู ้ตามแนวทางนี้ ๑. เปิ ดโอกาสให้ผเู้ รี ยนสังเกต สารวจ เพื่อให้เห็นปัญหา ๒. มีปฏิสัมพันธ์กบั ผูเ้ รี ยน เช่น แนะนา ถามให้คิด เพื่อให้ผเู ้ รี ยนค้นพบ หรื อ สร้างความรู ้ ด้วยตนเอง ๓. ช่วยพัฒนาผูเ้ รี ยนให้คิดค้นต่อ ๆ ไป ให้ทางานเป็ นกลุ่ม พัฒนาให้ผเู ้ รี ยนมี ประสบการณ์กว้างไกล ๔. ประเมินความคิดรวบยอดของผูเ้ รี ยน ตรวจสอบความคิด และ ทักษะการคิดต่าง ๆ การปฏิบตั ิในการแก้ปัญหา และพัฒนาการเคารพความคิดเห็นของผูอ้ ื่น
๗. กระบวนการพัฒนา BP
๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุ่มเป้ าหมาย) ครู ๘ คน นักเรี ยน ๘๕ คน ผูป้ กครองและชุมชน ๑๐๐ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็ นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) เริ่ มจากการวิเคราะห์บริ บทและปั ญหาต่างๆ โดยกระบวนการมีส่วนร่ วม เพื่อให้ทราบถึงปั ญหาและเพื่อ สร้างความตระหนักในการแก้ปัญหาร่ วมกันของทุกฝ่ าย วางแผนและดาเนิ นการตาแผนที่วางไว้ ทั้งนี้ ให้มีการ วิเคราะห์การดาเนินงานเป็ นระยะๆ ดังแผนภูมิต่อไปนี้
๗.๔ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวธิ ีการและผลการตรวจสอบคุณภาพทีไ่ ด้ )
- สังเกตพฤติกรรมของครู นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชน - แบบประเมินความพึงพอใจ - ภาพถ่าย เอกสารหลักฐานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ ประโยชน์ - พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน - ประหยัดค่าครองชีพ ลดค่าใช้จ่าย ๘. ผลสาเร็จทีเ่ กิดขึน้ จากการพัฒนา BP (เปรี ยบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP ) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิ งปริมาณ นักเรี ยนกลุ่มเป้ าหมาย ร้อยละ ๑๐๐ สามารถนาความรู ้ และมีทกั ษะในการทาน้ ายาเอนกประสงค์ใช้ใน ครัวเรื อน ๘.๒ ผลสาเร็จเชิ งคุณภาพ - นักเรี ยนสามารถสร้างผลิตภัณฑ์ข้ ึนใช้เอง มีความภาคภูมิใจในความสาเร็ จ - นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชน เปลี่ยนค่านิยม จากการบริ โภคผลิตภัณฑ์จากสารเคมี มาเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ มีตามธรรมชาติ ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกีย่ วข้ องต่ อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผูเ้ กี่ยวข้องและวิธีการได้มา เกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชน ร้อยละ ๑๐๐ มีความพึงพอใจในระดับ มากที่สุด สามารถนาความรู้และ ทักษะไปขยายผลต่อไป ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์ เรียนรู้ จากการนา BP ไปใช้ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP มีดงั ต่อไปนี้ - ความร่ วมมือจากผูป้ กครอง และชุมชน - ครู และนักเรี ยน มีความรู ้และเข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ครู มีความรู ้ความสามารถเกี่ยวกับการสอนแบบโครงงาน - ครู มีความรู้ความสามารถในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริ ง ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุ ง BP ให้ เกิดผลดีอย่างต่ อเนื่อง
๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้ า BP ตรวจสอบปั ญหาเพื่อหาสาเหตุ ข้อบกพร่ องในการทาน้ ายาเอนกประสงค์แต่ละขั้นตอน นามาปรับปรุ ง แก้ไข นากลับมาทดลองทาใหม่ ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้ าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุ ง BP นักเรี ยนสามารถทาน้ ายาเอนกประสงค์ได้ดีข้ ึนจนเป็ นที่ยอมรับของบุคคลทัว่ ไป ๑๐. การประชาสั มพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวนั เวลา และรู ปแบบ/วิธีการ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) การเผยแพร่ ผลงาน โดยการนาวิธีการ ขั้นตอน กระบวนการผลิตน้ ายาเอนกประสงค์ น้ ายาอเนกประสงค์ที่ สาเร็ จเป็ นผลิตภัณฑ์ออกเผยแพร่ นักเรี ยนสาธิ ตการทาแก่ชุมชนต่อไป
การสอนแบบโครงงาน เรื่อง “ การทานา้ ยาเอนกประสงค์ ”
การสอนแบบโครงงาน เรื่อง “ การเพาะเห็ดฟาง ”
กิจกรรมอาเซียน