ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยม (Best Practice)
โดย นาง ณภาภัช ภุมภารินทร์ ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ โรงเรียนวัดท่าน้าตื้น สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คำนิยำม ข้าพเจ้านางณภาภัช ภุมภาริน ทร์ ตาแหน่ง ครู คศ.3 โรงเรียนวัดท่าน้าตื้น ได้ศึกษาค้นคว้า ทดลองการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Based Learning) ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (Best Practice) เรื่อง การบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างจิตสานึกรัก ความเป็นไทยโดยใช้กระบวนการคิดสืบค้นเสาะหาความรู้จากชุดการเรียนรู้เรื่องแหล่งท่องเที่ยวทัศนศึกษาเชิง ประวัติศาสตร์ในจังหวัดกาญจนบุรี สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ข้าพเจ้าได้นากระบวนการจั ดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Based Learning) มา ใช้ในการจัดการเรียนการสอนจริงในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดท่าน้าตื้น ตาบล แก่งเสี้ยน อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ได้ผลดีเป็นที่น่าพอใจ นักเรียนได้มีทักษะกระบวนการทางสืบ เสาะหาความรู้สู่กระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ที่น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ นายสมยศ สาเนียงงาม ศึกษานิเทศก์ สพป.กจ.เขต ๑ นายชัชชน ทองแย้ม ผู้อานวยการโรงเรียนวัดท่าน้าตื้น และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ พร้อมกับให้ข้อคิด และข้อเสนอแนะในการจัดทา Best Practice ให้สาเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดี ผู้จัดทาหวังว่า จะเป็นประโยชน์ และเป็นแนวทางต่อครูผู้สอน และผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องตลอดจนผู้ที่สนใจทั่วไป
นางณภาภัช ภุมภารินทร์ ครู คศ.3 โรงเรียนวัดท่าน้าตื้น
ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยม (Best Practice ) 1.
ชื่อผลงาน BP
การบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างจิตสานึกรักความเป็นไทยโดยใช้กระบวนการคิดสืบค้นเสาะหา ความรู้จากชุดการเรียนรู้เรื่องแหล่งท่องเที่ยวทัศนศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดกาญจนบุรี สาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
2.
ข้อมูลทั่วไปของผูพ้ ัฒนา BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา BP นาง ณภาภัช ภุมภารินทร์ 2.2 โรงเรียน วัดท่าน้าตื้น จังหวัดกาญจนบุรี ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการศึกษาหนองบัว- แก่งเสี้ยน 2.3 โทรศัพท์ 08-9532-5280
3.
เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP 3.1 เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้แหล่งเรียนรู้เชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดกาญจนบุรี 3.2 เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา 3.3 เพื่อสร้างจิตสานึกรักความเป็นไทยและค่านิยมพื้นฐาน 12 ประการ 3.4 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาให้มีผลสัมฤทธิ์พัฒนาสูงขึ้นและดาเนินชีวิตสอดคล้องกับแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักพอประมาณ
หลักมีเหตุผล
หลักสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี
๑. วิเคราะห์ผู้เรียนตามลาดับ ๒. เนื้อหาและกิจกรรมเหมาะสม กับผู้เรียน ๓. เลือกใช้สื่อ/การวัดผล ประเมินผล/เวลา ให้เหมาะสม กับผู้เรียน
๑. เข้าใจความแตกต่างระหว่าง บุคคล ๒. ศักยภาพในการเรียนที่ต่างกัน ๓. ส่งเสริมการทางานเป็นกลุ่ม และเดี่ยว ๔. ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น/ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม
๑. มีความรู้ในการเรียนการสอน ๒. ปลูกฝังให้นักเรียนแต่ละคน สามารถนาความรู้ไปสร้าง ภูมิคุ้มกันให้ตนเองในด้านการ รู้จักและเข้าใจตนเอง การ แสวงหาและใช้ข้อมูล สารสนเทศ การตัดสินใจและ การแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล สามารถปรับตัวและดารงชีวิต ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ความรู้
คุณธรรม
มีความรู้ เกี่ย วกับ การจั ดการเรี ย นรู้เพื่อสร้าง จิ ต ส านึ ก รั ก ความเป็ น ไทยโดยใช้ ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู้จากชุดการเรียนรู้เรื่องแหล่งท่องเที่ยว ทั ศ นศึ ก ษาเชิ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ใ นจั ง หวั ด กาญจนบุ รี สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ครูมีค วามพร้อ มเตรี ยมการสอน ใฝ่ เรี ยนรู้ เพื่อ พัฒ นา ตนเอง รักเมตตาต่อศิษย์ รอบคอบ และ ประหยัด และ นั ก เรี ย นมี คุ ณ ลั ก ษณะอั น พึ ง ประสงค์ ปฏิ บั ติ ต นตาม พื้นฐานค่านิยม 12 ประการ
นาไปสู่ เศรษฐกิจ เป็นแบบอย่างที่ดีในการ ดาเนินชีวิต สอนให้ นักเรียนรู้จักใช้สิ่งของ อย่างรู้คุณค่า
สังคม เป็นแบบอย่างที่ดีในการอยู่ ร่วมกันในสังคม มีจิตสานึก รักความเป็นไทย สร้าง สังคมให้เป็นสังคมที่น่าอยู่
สิ่งแวดล้อม ร่วมดูแลและเผยแผ่ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้อยู่ กับสังคมไทยสืบไป
วัฒนธรรม ร่วมอนุรักษ์และเผยแผ่ วัฒนธรรมที่ดีในสังคม
4.
ระยะเวลาในการพัฒนา BP ปีการศึกษา 2556- ปีการศึกษา 2557
5.
ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย จุดเน้นของ สพป. สพฐ. สถานศึกษา
เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์รวมทั้งพัฒนานักเรียน ด้านความรู้ทักษะกระบวนการ และเจตคติเพิ่มศักยภาพทางการเรียนอย่างต่อเนื่องการพัฒนาการจัดการ เรียนรู้เพื่อสร้างจิตสานึกรักความเป็นไทยโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้จากชุดการเรียนรู้เรื่องแหล่ง ท่องเที่ยวทัศนศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดกาญจนบุรี สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ ชุดการเรียนรู้เรื่องแหล่งท่องเที่ยวทัศนศึกษาเชิง ประวัติศาสตร์ใน จังหวัดกาญจนบุรีเป็นการส่งเสริมช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถรู้จักคิดวิเคราะห์สิ่งที่ได้เรียนรู้ ปลูกฝัง จิตสานึกรักความเป็นไทย สรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง และนาไปเป็นข้อมูลในการเรียนรู้สิ่งใหม่ต่อไป เป็นไปตาม จุดเน้นของผู้เรียนมีทักษะการคิด มีทักษะชีวิต มีคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักการทางาน มีจิตสาธารณะ และมีค่านิยมพื้นฐาน 12 ประการ
6.
แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ความเป็นมา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวดที่ 4 ว่าด้วยแนวทางการจัดการศึกษา มาตราที่ 22 กล่าวว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียน มีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ถือ ว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด กระบวนการในการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มศักยภาพเน้ น การเรีย นรู้ด้วยตนเองโดยให้ ผู้เรียนได้ฝึกทักษะกระบวนการคิดและฝึกปฏิบัติให้คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น สอดคล้องกับความสนใจในความถนัดและความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ เรียนจากประสบการณ์จริงแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (กรมวิชาการ 2543 : 2) ดังนั้นในการจัดกิจกรรม การสอนจึงควรให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมและได้ปฏิบัติจริงด้วยตนเอง โดยให้ผู้ เรียนได้เรียนรู้จากสิ่งที่ใกล้ตัวของ ผู้เรียน คือ ชุมชนและท้องถิ่นให้มากที่สุด ข้าพเจ้าดาเนินการวิเคราะห์จุดเน้นและเป้าหมายของสถานศึกษา และนามากาหนดการจัดการ เรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาแบบกระบวนการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Based Learning)ตลอดจนการบูรณาการการจัดการเรียนรู้สู่หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการวางแผนการ ดาเนินการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางปีการศึกษา ๒๕๕๑ ๒. วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา ๓. วิเคราะห์ผู้เรียน ๔. จัดทาหน่วยการเรียนรู้ 5. จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนสังคมศึกษา
นอกจากการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ( Inquiry Based Learning ) พร้อมกับการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดทางอย่าง ต่อเนื่อง และสนับสนุนส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนสู่ความเป็นเลิศกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ๖. แนวคิด หลักกำร ทฤษฎีที่นำมำใช้ในกำรพัฒนำ ในการสืบเสาะความความรู้ (scientific inquiry) การแก้ปัญหา โดยผ่านการสังเกตการณ์สารวจ ตรวจสอบ (investigation) การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบและการสืบค้นข้ อมูล ทาให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ เพิ่มพูน ตลอดเวลา ความรู้และกระบวนการดังกล่ าวมีการถ่ายทอดต่อเนื่องกันเป็นเวลายาวนานแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา Best Practice กระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้ (inquiry process) วีรยุทธ วิเชียรโชติ (๒๕๔๖ : ๓๖) กล่าวว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้เป็นการสอนที่ครู มุ่งพัฒนาความสามารถในการคิดของนักเรียน โดยส่งเสริมให้นักเรียนได้มีการค้นพบด้วยตนเอง โดยครูจะใช้ คาถามเป็นสื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้ใช้ความคิดอยู่ตลอดเวลา การสอนลักษณะนี้จะยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ครู จะมีบทบาทเป็นเพียงผู้ชี้แนะแนวทางเท่านั้น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท. ๒๕๔๘:๑๔-๑๕) ได้แบ่งขั้นตอน ของกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ไว้ ๕ ขั้นตอน ดังนี้ ๑.) ขั้นสร้างความสนใจ (engagement) เป็นการนาเข้าสู่บทเรียนหรือเรื่องที่น่าสนใจอาจ เกิดจากความสงสัยหรือเริ่มจากความสนใจของนักเรียนเอง หรือเริ่มจากการอภิปรายในกลุ่มเป็นตัวกระตุ้นให้ นักเรียนสร้างคาถาม กาหนดประเด็นที่จะศึกษา มีแนวทางที่ใช้ในการสารวจตรวจสอบอย่างหลากหลาย ๒.) ขั้นสารวจและค้นหา (explanation) เมื่อทาความเข้าในประเด็นปัญหาหรือคาถามที่ สนใจจะศึกษาแล้ว มีการวางแผนกาหนดแนวทางการสารวจตรวจสอบ ตั้งสมมติฐาน กาหนดทางเลือกที่ เป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการตรวจสอบอาจทาได้หลายวิธี เช่น ทาการทดลอง ทา กิจกรรมภาคสนาม ๓.) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (explanation) เมื่อได้ข้อมูลอย่างเพียงพอจากการสารวจ ตรวจสอบแล้ว จึงนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์แปลผล สรุปผลและนาเสนอในรูปต่าง ๆ เช่น บรรยาย สรุป วาด รูป สร้างตาราง การค้นพบอาจเป็นไปได้หลายทาง เช่นสนับสนุนหรือโต้แย้งกับสมมติฐานที่ตั้งไว้และช่วยให้ เกิดการเรียนรู้ ๔.) ขั้นขยายความรู้ (elaboration) เป็นการนาความรู้ที่สร้างขึ้นไปเชื่อมโยงกับความรู้เดิม หรือแนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม หรือนาแบบจาลองหรือข้อสรุปที่ได้ไปใช้อธิบายสถานการณ์หรือเหตุการณ์อื่น ๆ ถ้าใช้อธิบายเรื่องต่าง ๆ ได้มากก็แสดงว่าข้อจากัดน้อย จะช่วยเชื่อมโยงกับเรื่องต่าง ๆ ทาให้เกิดความรู้ กว้างขวางขึ้น ๕.) ขั้นประเมินผล (evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่า นักเรียนมีความรู้อะไรบ้าง อย่างไร และมากน้อยเพียงใด จากขั้นนี้จะนาไปสู่การนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน เรื่องอื่น ๆ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ผู้เรียนทุกคนต้อง เรียน เพราะกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ให้ความรู้แก่ผู้เรียนในเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ จริยธรรม สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย ประชากรศึกษา และสิ่ ง แวดล้ อ ม และมุ่ ง ให้ ผู้ เ รี ย นสามารถแสวงหาความรู้ โ ดยการอ่ า น การฟั ง การสั ง เกต และมี ความสามารถในการสื่อสารโดยการพูด การเขียน และการนาเสนอ ความสามารถในการตีความ การสร้าง แผนภูมิ แผนที่ และการจดบันทึก ดังนั้น ผู้จัดทาจึงได้ดาเนินการจัดทาชุดการเรียนรู้ เรื่องแหล่งท่องเที่ยวทัศนศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ ในจังหวัดกาญจนบุรี สาหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาประวัติศาสตร์ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมของชุมชนในท้องถิ่นจากแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในจังหวัดกาญจนบุรี ทาให้รักและภูมิใจใน ความเป็นไทย รักท้องถิ่น และยังเป็นการปลูกจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมด้วย และได้จัดทาคู่มือการใช้ ชุดการเรียนรู้ เรื่องแหล่งท่องเที่ยวทัศนศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ ในจังหวัดกาญจนบุรี สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อสะดวกในการนาชุดการเรียนรู้ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ นักเรียน โดยยึดหลักแนวคิด ทฤษฎี ดังนี้
ความหมายของชุดการเรียนรู้ เพลินพิศ ชุนนะวรรณ์ (2538 : 19) ให้ความหมายของชุดการเรียนรู้ว่า หมายถึง สื่อการเรียน ชนิดหนึ่งซึ่งมีกระบวนการเบ็ดเสร็จในตัว ทั้งเนื้อหา กิจกรรม และภาพประกอบ วิธีการเรียน ทาให้ผู้เรียนเกิด ความความรู้ความเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์ของการเรียน ชัยยงศ์ พรหมวงศ์ (2538 , อ้างถึงใน พิเศษ ภัทรพงษ์ 2540 : 16) ให้ความหมายของชุดการเรียนรู้ สอดคล้องกัน ว่า ชุดการเรียนรู้ หมายถึง การรวบรวมสื่อการเรียนสาเร็จรูปให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง จากชุด การเรียนรู้ด้วยความสะดวกเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ชุดการเรียนรู้จะต้องประกอบด้วยสื่อ ต่างๆ ทาให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียน เพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเภทของชุดการเรียนรู้ บุญเกื้อ ควรหาเวช (2543 : 94-95) แบ่งชุดการเรียนรู้ไว้ 3 ประเภท ดังนี้ 1. ชุดการเรียนรู้ประกอบคาบรรยายเป็นชุดการเรียนรู้สาหรับใช้สอนผู้เรียนเป็นกลุ่มใหญ่หรือเป็นการ สอนที่ต้องการปูพื้นฐานให้ผู้เรียนรู้ส่วนใหญ่รู้และเข้าใจในเวลาเดียวกัน มุ่งในการขยายเนื้อหาสาระให้ชัดเจน ยิ่งขึ้นชุดการเรียนรู้แบบนี้จะช่วยให้ผู้สอนลดให้น้อยลงและใช้สื่อการสอนที่มีอยู่พร้อมในชุดการเรียนรู้ในการ เสนอเนื้อหามากขึ้น สื่อที่ใช้อาจได้แก่ รูปภาพ แผนภูมิ สไลด์ ฟิล์มสตริป ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง หรือกิจกรรมที่กาหนดไว้เป็นต้น
2. ชุดการเรียนรู้แบบกลุ่มกิจกรรม เป็นชุดการเรียนรู้สาหรับให้ผู้เรียนเรียนร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ประมาณ 5 - 7 คน โดยใช้สื่อการสอนที่บรรจุไว้ในชุดการเรียนรู้แต่ละชุด มุ่งที่จะฝึกทักษะในเนื้อหาวิชาที่ เรียนและให้ผู้เรียนมีโอกาสทางานร่วมกัน ชุดการเรียนรู้ชนิดนี้มักจะใช้ในการเรียนแบบกิจกรรมกลุ่ม เช่น แบบศูนย์การเรียน การเรียนแบบกลุ่มสัมพันธ์ เป็นต้น 3. ชุดการเรียนรู้แบบรายบุคคลหรือชุดการเรียนรู้ตามเอกัตภาพ เป็นชุดการเรียนรู้สาหรับเรียนด้วย ตนเองเป็นรายบุคคล คือ ผู้เรียนจะต้องศึกษาหาความรู้ตามความสามารถและความสนใจของตนเอง อาจจะ เรียนที่โรงเรียนหรือที่บ้านก็ได้ ส่วนมากจะมุ่งให้ผู้เรียนได้ทาความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนเพิ่มเติม ชุดการ เรียนรู้ชนิดนี้อาจจะจัดในลักษณะของหน่วยการเรียนย่อย หรือโมดูลก็ได้ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2541:114) ได้จาแนกชุดการเรียนรู้และแนวคิดในการผลิตชุดการเรียนรู้ ออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้คือ 1. ชุดการเรี ย นประกอบการบรรยาย เป็น ชุดการเรียนรู้ที่มุ่ งขยายเนื้อหาสาระการสอนแบบ บรรยายให้ชัดเจนขึ้น โดยกาหนดกิจกรรมและสื่อการสอนให้ครูใช้ประกอบการบรรยายบางครั้งเรียกว่ า “ชุด การเรียนการสอนสาหรับครู” ชุดการเรียนรู้นี้จะมีเนื้อหาวิชาเพียงหน่วยเดียวและใช้กับผู้เรียนทั้งชั้น โดยแบ่ง หัวข้อที่จะบรรยายและกิจกรรมไว้ตามลาดับขั้น ทั้งนี้เพื่ออานวยความสะดวกแก่ครูผู้สอน และเพื่อเปลี่ยน บทบาทการพูดของครูให้น้อยลงเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีส่วนในการจัดกิจกรรมการเรียนมากยิ่งขึ้น ชุดการเรียนรู้ประกอบการบรรยายนี้นิยมใช้กับการฝึกอบรมและการสอนในระดับอุดมศึกษา สื่อการสอนที่ใช้ อาจเป็น แผ่นคาสอน แผนภูมิ รูปภาพ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ หรือกิจกรรมกลุ่ม เป็นต้น สื่อการสอนชุด การเรียนรู้มักจะบรรจุในกล่องที่มีขนาดเหมาะสม แต่ถ้าเป็นวัสดุอุปกรณ์ที่มีราคาแพง หรือขนาดเล็ก หรือ ขนาดใหญ่เกินไป ตลอดจนเสียหายง่ายหรือเป็นสิ่งที่มีชีวิตก็จะไม่บรรจุในกล่องแต่จะกาหนดไว้ในคู่มือครูเพื่อ จัดเตรียมการสอน 2. ชุดการเรียนรู้สาหรับกิจกรรมแบบกลุ่ม เป็นชุ ดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นที่ตัวผู้เรียนได้ประกอบ กิจกรรมร่ว มกัน ครูจะเปลี่ย นบทบาทจากผู้บรรยายมาเป็นผู้แนะนาช่วยเหลือผู้เรียน ชุดการเรียนรู้แบบ กิจกรรมกลุ่มอาจจัดเรียนในห้องเรียนแบบศูนย์การเรียน ชุดการเรียนรู้แต่ละชุดจะประกอบด้วยชุดการเรียนรู้ ย่อยที่มีจานวนเท่ากับจานวนศูนย์ที่แบ่งไว้ในแต่ละหน่วย ในแต่ละศูนย์มีชื่อหรือบทเรียนครบชุดตามจานวนใน ศูนย์กิจกรรมนั้น ๆ ซึ่งจัดไว้ในรูปสื่อประสมอาจใช้เป็นสื่อรายบุคคลหรือทั้งกลุ่มใช้ร่วมกันก็ได้ ในขณะทา กิจกรรมการเรียนหากมีปัญหานักเรียนสามารถซักถามครูได้เสมอ เมื่อจบการเรียนในแต่ละศูนย์แล้วผู้เรียน สนใจที่จะเรียนเสริมก็สามารถศึกษาได้จากศูนย์สารองที่จัดเตรียมไว้โดยไม่ต้องเสียเวลารอคอยผู้อื่น 3. ชุดการเรียนรู้รายบุคคล เป็นชุดการเรียนรู้ที่จัดไว้ให้ผู้เรียนเรียนด้วยตนเองตามคาแนะนาที่ระบุไว้ แต่อาจมีการปรึกษากันระหว่างเรียนได้และเมื่อสงสัยไม่เข้าใจบทเรียน ตอนไหนสามารถไต่ถามครูได้ การ เรียนจากชุดการเรียนรู้รายบุคคลนี้นิยมใช้ห้องเรียนที่มีลักษณะพิเศษแบ่งเป็นสัดส่วนสาหรับผู้เรียนแต่ละคน ซึ่งเรี ย กว่า “ห้ องเรี ย นรายบุ คคล” ชุดการเรี ยนรู้ร ายบุค คลนี้ผู้ เรียนอาจน าไปเรียนที่ บ้านได้ด้ ว ย โดยมี
ผู้ปกครองหรือบุคลากรคอยให้ความช่วยเหลือ ชุดการเรียนรู้รายบุคคลนี้เน้นหน่วยการสอนย่อย จึงนิยม เรียกว่า บทเรียนโมดูล (Instructional module) 4. ชุดการเรียนรู้ทางไกล เป็นชุดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนที่อยู่ต่างถิ่น ต่างเวลา มุ่งสอนให้ผู้เรียน ศึกษาด้วยตนเองโดยไม่ต้องมาเข้าชั้นเรียน ประกอบด้วย สื่อประเภทสิ่งพิมพ์ รายการวิทยุกระจายเสียง วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และการสอนเสริมตามศูนย์บริการการศึกษา เช่น ชุดการเรียนการสอนทางไกล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นต้น
องค์ประกอบของชุดการเรียนรู้ บุญเกื้อ ควรหาเวช ( 2543 : 95-96 ) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของชุดการเรียนรู้ว่าสามารถ จาแนกได้ 4 ส่วน คือ 1. คู่มือ เป็นคู่มือสาหรับผู้เรียน ภายในจะมีคาชี้แจงถึงวิธีการใช้ชุดการเรียนรู้อย่างละเอียด อาจทาเล่มหรือแผ่นพับก็ได้ 2. บัตรคาสั่ง หรือคาแนะนา จะเป็นส่วนที่บอกให้ผู้เรียนดาเนินการเรียนหรือประกอบกิจกรรมแต่ ละอย่างตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ ประกอบด้วย 1.1 คาอธิบายในเรื่องที่จะศึกษา 1.2 คาสั่งให้ผู้เรียนดาเนินกิจกรรม 1.3 การสรุปบทเรียน บัตรคาสั่งนี้มักนิยมใช้กระดาษแข็งตัดเป็นบัตร ขนาด 6 x 8 นิ้ว 3. เนื้อหาสาระและสื่อ จะบรรจุไว้ในรูปของสื่อการสอนต่าง ๆ อาจจะประกอบด้วยบทเรียน โปรแกรม สไลด์ แผ่นภาพ วัสดุกราฟฟิก ฯลฯ ผู้เรียนจะศึกษาสื่อการสอนต่างๆ ที่บรรจุ อยู่ในชุดการเรียนรู้ ตามบัตรคาสั่งที่กาหนดไว้ 4. แบบประเมินผลผู้เรียนจะทาการประเมินผลความรู้ของตนเองก่อนและหลังเรียน แบบประเมินผลอาจเป็นแบบฝึกให้เติมคาลงในช่องว่าง เลือกคาตอบ จับคู่ ดูผลจากการทดลองหรือทา กิจกรรม เป็นต้น
บุญชม ศรีสะอาด (2541:95-96 ) ได้กล่าวว่า องค์ประกอบของชุดการเรียนที่สาคัญ 4 ด้าน ดังนี้
คู่มอื การใช้ชดุ
บัตรงาน
การเรียน
แบบทดสอบวัดผล
สื่อการ
ความก้าวหน้าของผู้เรียน
เรียน ต่าง ๆ
ภาพประกอบ 1 องค์ประกอบที่สาคัญของชุดการเรียน คู่มือการใช้ชุดการเรี ยน เป็ นคู่มือที่จัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้ ใช้ชุดการเรียนศึกษาและปฏิบัติตามเพื่อให้ บรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพ อาจประกอบด้วยแผนการสอน สิ่งที่ครูต้องเตรียม ก่อนสอน บทบาทของ ผู้เรียน การจัดชั้นเรียน (ในกรณีของชุดการเรียนที่มุ่งใช้กับกลุ่มย่อย เช่น ในศูนย์การเรียน) บัตรงาน เป็นบัตรที่มีคาสั่งว่าจะให้ผู้เรียนปฏิบัติอะไรบ้าง โดยระบุกิจกรรมตามลาดับขั้นตอนของ การเรียน แบบทดสอบวัดความก้าวหน้าของผู้เรียน เป็นแบบทดสอบที่ใช้สาหรับตรวจสอบว่าหลังจากเรียนชุด การเรียนจบแล้ว ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้หรือไม่ สื่อการเรียนต่าง ๆ เป็นสื่อสาหรับผู้เรียนได้ศึกษา มีหลายชนิดประกอบกัน อาจเป็นประเภทสิ่งพิมพ์ เช่น บทความ เนื้อหาเฉพาะเรื่อง จุลสาร บทเรียนโปรแกรมหรือประเภทโสตทัศนูปกรณ์ เช่น รูปภาพ แผนภูมิต่าง ๆ เทปบันทึกเสียง ฟิล์มสตริป สไลด์ ขนาด 2 × 2 นิ้ว ของจริง เป็นต้น
ประโยชน์ของชุดการเรียนรู้ ชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นชุดที่เพิ่มความรู้ให้กับผู้เรียนซึ่งเรียนตามลาดับขั้นตอน ในคาแนะนา ของแต่ละชุด ทาให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์ตรงตามความต้อ งการความสามารถของผู้เรียน ซึ่งมีนักการศึกษา กล่าวไว้หลายท่านดังนี้
หทัยรัตน์ อันดี (2544 : บทคัดย่อ) ศึกษาเรื่องการพัฒนาชุดการเรียนรู้เพื่อถ่ายทอดภูมิ ปัญญาท้องถิ่น สาหรับนักเรียนประถมศึกษาพบว่า ชุดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80 และนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยก่อนและหลังการใช้ชุดการเรียนรู้แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังการใช้ชุดการเรียนรู้มีคะแนนสูงกว่าก่อนใช้ชุดการเรียนรู้ อัมพร เต็มดี (2545 : บทคัดย่อ) ศึกษาเรื่องการพัฒนาชุด การเรียนรู้เรื่องการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวใน ชุมชน สาหรับนักเรียนประถมศึกษา พบว่า ชุดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ซึ่งทา ให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยว โดยทั้งก่อนและหลังการใช้ชุดการเรียนรู้ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังการใช้ชุดการเรียนรู้มีคะแนนสูงกว่าก่อนใช้ชุดการ เรียนรู้ จิตตานันท์ สุขสวัสดิ์ (2546 : บทคัดย่อ) ที่ได้ศึกษาเรื่องการพัฒนาชุดการเรียนรู้เรื่อง ท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์แหล่งเรียนรู้ในชุมชน สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ผลการวิจัยพบว่าเกิดประโยชน์ทาให้ นั ก เรี ย นมี ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นเรื่ อ งการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ์ แ หล่ ง การเรี ย นรู่ ใ นชุ ม ชน ประเภท โบราณสถาน – โบราณวัตถุก่อนและหลังการใช้ชุดการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยหลังการใช้ชุดการเรียนรู้มีคะแนนสูงกว่าก่อนใช้ชุดการเรียนรู้ นักเรียนมีความคิดเห็นที่ดีต่อชุดการเรียนรู้ การท่องเที่ยวทัศนศึกษาเชิงอนุรักษ์แหล่งการเรียนรู้ในชุมชน ประเภทโบราณสถาน – โบราณวัตถุ รู้สึกรักและ ภูมิใจในชุมชนของตนเองมากขึ้น และนักเรียนมีสามารถทาชิ้นงาน ได้แก่ ปริศนาอักษรไขว้ แผ่นพับ ป้าย นิเทศ วาดภาพประกอบเขียนกลอน และหนังสือเล่มเล็กได้อยู่ในระดับดี
การท่องเที่ยวทัศนศึกษา ความหมายของการท่องเที่ยวทัศนศึกษา ความหมายของการท่องเที่ยวและทัศนศึกษา มีนักการศึกษาได้ให้ความหมายไว้หลายท่าน พอสรุปได้ ดังนี้ สานักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2540 :1) ให้ความหมายของการท่องเที่ยวว่า การ ท่องเที่ยว หมายถึง การเดินทางตามเงื่อนไขสากล 3 ประการ คือ 1) เป็นการเดินทางชั่วคราว 2) เป็น การเดินทางโดยสมัครใจ 3) ไม่เป็นการเดินทางเพื่อประกอบอาชีพ ส่วนวรรณา วงษ์วานิช (2541 : 17) ให้ความหมายของการท่องเที่ยวว่า หมายถึง การที่คนเดินทางไปยังสถานที่ต่าง ๆ และตลอดระยะเวลา เหล่านั้นได้มีกิจกรรมต่าง ๆ เกิดขึ้น การไปเที่ยวชมสถานที่ที่สวยงามหรือทัศนียภาพแปลก ๆ หรือเดินซื้อ สิ่งของต่าง ๆ ราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 521) ให้ความหมายของ ทัศนศึกษาไว้ว่า หมายถึง ท่องเที่ยวเพื่อแสวงหาความรู้ การเรียนรู้ด้วยการดูการเห็น การศึกษานอกสถานที่
การ
ประเภทของการของการท่องเที่ยว ทรัพยากรการท่องเที่ยว หมายถึง สถานที่ท่องเที่ยว กิจกรรมวัฒนธรรม และประเพณีที่สะท้อนให้ เห็นถึงอารยธรรมท้องถิ่นที่มีลักษณะเด่นดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวได้ ทรัพยากรอาจแยกตามลักษณะ และความต้องการของนักท่องเที่ยวได้เป็น 3 ประเภท 1. ประเภทธรรมชาติ เป็นแหล่งธรรมชาติที่มีความสวยงามเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งได้แก่ ภูเขา น้าตก ถ้า น้าพุร้อน บ่อน้าร้อน เขตสงวนพันธุ์สัตว์ สวนสัตว์ อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน สวนรุกขชาติ ทะเล หาดทราย หาดหิน ทะเลสาบ เกาะ แหล่งน้าจืด (ห้วย หนอง คลอง บึง) อ่างเก็บน้า และเขื่อน 2. ประเภทประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณวัตถุ และศาสนา ซึ่งเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวที่มี ความสาคัญในทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี หรือศาสนา ได้แก่ วัด โบราณสถาน อุทยาน ประวัติศาสตร์ ชุมชนโบราณ พิพิธภัณฑ์ ศาสนสถาน กาแพงเมือง คูเมืองและอนุสาวรีย์ อนุสรณ์สถาน ตัวอย่างแหล่งท่องเที่ยวประเภทนี้ ได้แก่ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุทยาน ประวัติศาสตร์สุโขทัย เป็นต้น 3. ประเภทศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และกิจกรรม ซึ่งเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวอีกรูปแบบหนึ่ง ในลักษณะของพิธี งานประเพณี ความเป็นอยู่ วิถีชีวิต ศูนย์วัฒนธรรม สินค้าพื้นเมือง สวนผัก ผลไม้ และ เหมือง ตัวอย่างเช่น ตลาดน้าดาเนินสะดวก งานช้างจังหวัดสุรินทร์ สวน สามพราน เป็นต้น (สานักงาน การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 2540 :12) วรรณา วงษ์วานิช (2541:58 - 61) แบ่งประเภทของทรัพยากรการท่องเที่ยวออกตาม ลักษณะและความต้องการของนักท่องเที่ยวเป็น 2 ประเภท 1. ทรัพยากรการท่องเที่ยวอันเกิดมาจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ( Natural Attraction) ทรัพยากรประเภทนี้เป็นสิ่งที่สามารถดึงดูดใจนักท่องเที่ยวได้มากที่สุด เพราะเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติมีความสวยงามแปลกตา เช่น น้าพุร้อน น้าตก ถ้า หินงอกหินย้อย ชายหาด แนวทาง ปะการัง และเขตอุทยานแห่งชาติต่าง ๆ ซึ่งประเทศไทยมีทรัพยากรประเภทนี้ เป็นแหล่งท่องเที่ยว จานวนมาก 2. ทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มนุษย์สร้างขึ้น (Manufactured Attraction) มีลักษณะ ตรงข้ามกับทรัพยากรการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น พระราชวัง ศาสนสถาน สถาปัตยกรรม พิพิธภัณฑ์ สวนสนุก ศูนย์การค้า ตลอดจนศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่สามารถดึงดูด นักท่องเที่ยวได้มากเช่นเดียวกัน ประเทศไทยมีประวัติศาสตร์อันยาวนานมีชุมชนโบราณทิ้งร่องรอยทางอารยธรรม ที่เก่าแก่ ควรแก่การทานุบารุงควรแก่การรักษาให้เป็นมรดกสืบทอดแก่ชนรุ่นหลัง ในปัจจุบัน ซากโบราณสถาน โบราณวัตถุและแหล่งโบราณคดีร่องรอยทางอารยธรรมต่าง ๆ เหล่านี้ถูกบุกรุกทาลายเป็นจานวนมาก
(กรมศิลปากร 2542 : 63) เนื่องจากเจ้าหน้าที่กรมศิลปากรมีไม่เพียงพอ ผู้รายงานจึงสรุปได้ว่าการ อนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุมีวิธีหนึ่ง คือ การรณรงค์ปลูกฝังให้ทุกคนในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและ อนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุ ซึ่งในการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์นั้นจาเป็นต้องทราบข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้น เกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญ วิธีการอนุรักษ์ของโบราณสถาน โบราณวัตถุซึ่งมีความสาคัญต่อการ ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และเป็นแหล่งให้ความรู้ด้านความเจริญรุ่งเรืองในอดีตที่ผ่านมาแก่บุคคลทั่วไปที่มี ความสนใจในประวัติศาสตร์ ชาติไทย ความหมายของการท่องเที่ยว Western (1993, อ้างถึงใน ฤทัยวัลคุ์ มโนสา 2544 : 9) ได้ให้ความหมายของการท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์ว่า “การเดินทางท่องเที่ยวที่รับผิดชอบต่อแหล่งธรรมชาติ ซึ่งมีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และทา ให้ชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนท้องถิ่นดีขึ้น” สานักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2540 : 9) ได้ให้ความหมายของการท่องเที่ยว เชิง ประวัติศาสตร์ (Eco - tourism) ไว้ว่า เป็นการเดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวแห่งใดแห่งหนึ่ง โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาชื่นชมและเพลิดเพลินไปกับทัศนียภาพ สภาพธรรมชาติ สภาพสังคมวัฒนธรรม วิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นบนพื้นฐานของความรู้และความรับผิดชอบต่อระบบนิเวศ เสรี เวชชบุษกร (2540 : 20) ได้ให้ความหมายของการท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์ ไว้ว่า การ ท่องเที่ยวที่มีความรับผิดชอบต่อแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติและต่อสิ่งแวดล้อมทางสังคม ซึ่งหมายรวมถึง วัฒนธรรมของชุมชนในท้องถิ่นตลอดจนโบราณสถาน โบราณวัตถุที่มีอยู่ในท้องถิ่น การท่องเที่ยวทัศนศึกษา หมายถึง การเดินทางท่องเที่ยวไปยังสถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อแสวงหาความรู้นอกสถานที่ เพื่อศึก ษาชื่นชม และเพลิดเพลินไปกับทัศนียภาพ สภาพ ธรรมชาติ โบราณสถาน โบราณวัตถุ สภาพสังคมวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นบนพื้นฐานความรู้ ความ รับผิดชอบต่อแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ ต่อสิ่งแวดล้อม ต่อประเพณี วัฒนธรรม และสร้างโอกาสทาง เศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น ปลูกจิตสานึกรักความเป็นไทยและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภูมิหลังของจังหวัดกาญจนบุรี (อ้างอิงจากhttp://nakornpathom.com/cq/data/history.php เข้าถึง เมื่อ 8 พฤษภาคม 2555 , http://www.kpsw.ac.th/teacher/krongngern/nakhonpathom2.htm เข้าถึงเมื่อ 2 พฤษภาคม 2555 ) ประวัติความเป็นมาของจังหวัดกาญจนบุรี พื้นที่ก่อสร้างเมืองกาญจนบุรีเป็นบริเวณที่ลาน้าแควน้อยไหลมาบรรจบกั บลาน้าแควใหญ่ เรียก กันว่า "ปากแพรก" ซึ่งมีชัยภูมิอันเหมาะต่อการเป็นเส้นทางสัญจรและค้าขาย ตลอดจนการเป็นเมืองหน้า ด่านรับศึกพม่า พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองนี้ขึ้นเมื่อ พ.ศ.2374
พื้นที่กว้างใหญ่ซึ่งเป็นที่ตั้งจังหวัดกาญจนบุรีในปัจจุบันมีประวัติความเป็นมาที่ต่อเนื่อง และยาวนาน ประวัติหน้าสุดท้ายของกาญจนบุรีย้อนกลับไปเชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์หน้าแรกได้อย่างบังเอิญ เมื่อเชลยศึก ที่ถูกเกณฑ์มาสร้างทางรถไฟคนหนึ่งค้นพบเครื่องมือหินของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์ระหว่างการก่อสร้างทาง รถไฟบริเวณสถานีบ้านเก่า ตาบลจระเข้เผือก อาเภอเมือง ทาให้เกิดการขุดค้นทางโบราณคดีและสามารถ ค้นพบหลักฐานของมนุษย์ก่อนประวัติศาสตร์จานวนมากแม้จนถึงปัจจุบันยังขุดพบอยู่ ในสมัยทวารวดีซึ่งอยู่ในสมัยประวัติศาสตร์ของประเทศไทย พบซากโบราณสถาน และโบราณวัตถุที่ ตาบลปรังเผล อาเภอสังขละบุรี (ปัจจุบันเป็นพื้นที่อ่างเก็บน้าเขื่อนเขาแหลม) ซึ่งเป็นเจดีย์ลักษณะเดียวกับ จุลประโทณเจดีย์ จังหวัดนครปฐม เจดีย์ที่บ้านคูบัว จังหวัดราชบุรี และที่เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี นอกจากนี้ยังพบฐานเจดีย์และพระพิมพ์สมัยทวารดีจานวนมากที่บ้านท่าหวี ริมแม่น้าแควใหญ่ ตาบลลาด หญ้า อาเภอเมือง อีกด้วย แสดงว่าในสมัยนั้น พื้นที่ริมแม่น้าหลายแห่งซึ่งเป็นเส้นทางคมนาคมสาคัญ มีชุมชนหรือเมืองโบราณซึ่งมีความสัมพันธ์กับชุมชนโบราณใกล้เคียงกัน ในสมัยพุทธศตวรรษที่ 16-18 ขอมได้แผ่อิทธิพลเข้ามาในประเทศไทย ซึ่งพบหลักฐานสาคัญ คือ ปราสาทเมืองสิงห์ ซึ่งมีลักษณะเป็นศิลปะขอมสมัยบายน มีอายุในช่วงสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ในพุทธ ศตวรรษที่ 18 นอกจากนี้ยังพบหลักฐานที่เป็นศิลปะขอมสมัยเดียวกันที่เมืองครุฑ และเมืองกลอนโด อาเภอไทรโยค ในสมัยสุโขทัยพบหลักฐานในพงศาวดารเหนือว่า กาญจนบุรีตกเป็นเมืองขึ้นของ สุพรรณบุรี ตามที่ กล่าวว่า พญากงได้มาครองเมืองกาญจนบุรีแต่ก็ไม่มีหลักฐานอื่นมาสนับสนุน ต่อมาในสมัยอยุธยากาญจนบุรีมี ฐานะเป็นเมืองหน้าด่านสาคัญโดยตัวเมืองตั้งอยู่ที่บ้านท่าเสา ตาบลลาดหญ้าใกล้เขาชนไก่ และยังปรากฏ หลักฐานเป็นซากโบราณสถาน และโบราณวัตถุ ดังที่เห็นในปัจจุบัน กาญจนบุรียังคงเป็นเมืองหน้าด่านสืบเนื่องมาจนถึงสมัยกรุงธนบุรีและรัตนโกสินทร์ โดยในสมัยรัชกาล ที่ 1 พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายเมืองกาญจนบุรีมาตั้งใหม่ที่บ้านปากแพรกเพื่ อมาตั้งรับทัพพม่าที่เดินทัพลง มาตามลาน้าแม่กลองเพื่อเข้าตีกรุงเทพฯ และได้มีการสร้างกาแพงล้อมรอบเมืองอย่างมั่นคงในสมัยรัชกาลที่ 3 และให้มีเจ้าเมืองคือ พระประสิทธิสงคราม นอกจากนั้นยังตั้งหัวเมืองเล็ก ๆ ตามรายทางเป็นหน้าด่านอีก เจ็ดแห่ง สมัยรัชกาลที่ 5 เมื่อมีการจัดรูปแบบการปกครองประเทศใหม่เป็นมณฑลเทศาภิบาล เมือง กาญจนบุรีถูกโอนมาขึ้นกับมณฑลราชบุรี และแบ่งการปกครองเป็นสามอาเภอคือ อาเภอเมือง อาเภอเหนือ (ปัจจุบันคือ อาเภอท่าม่วง) และอาเภอใต้ (ปัจจุบัน คือ อาเภอพนมทวน) และต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2467 ได้ตั้ง กิ่งอาเภอเพิ่ม 1 แห่งและอาเภอเพิ่มอีกสองแห่งคือ กิ่งอาเภอสังขละบุรี อาเภอท่ามะกา อาเภอทองผาภูมิ ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา ญี่ปุ่นตัดสินใจสร้างทางรถไฟสาย ไทย - พม่า เชื่อมจากสถานี หนองปลาดุกจังหวัดราชบุรี ผ่านกาญจนบุรี เลาะริมแม่น้าแควน้อยไปเชื่อมกับทางรถไฟ ที่สร้างมาจากพม่าที่ ด่านเจดีย์สามองค์ เป็นทางรถไฟที่มีชื่อเสียงไปทั่วโลก และมีผู้คนจานวนมาก เดินทางมาเยี่ยมชมเพื่อคาราวะ ต่อดวงวิญญาณผู้เสียชีวิต และราลึกถึงความโหดร้ายทารุณของ สงคราม กาญจนบุรีเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางที่มีผู้คนนิยมเดินทางไปท่องเที่ยว เต็มไปด้วยเรื่องราวในอดีตที่ น่าสนใจ เป็นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เป็นสถานที่ตั้งของสะพานข้ามแม่น้าแควซึ่งเป็น
สถานที่ ส าคัญ ทางประวัติ ศาสตร์ ของไทยในสมัย สงครามโลกครั้ง ที่ ๒ และมีชื่ อเสี ย งโด่ง ดังไปทั่ว โลก นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ไม่ว่าจะเป็นป่าเขาลาเนาไพร ถ้าหรือน้าตก กาญจนบุรีอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ 129 กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ 19,483 ตารางกิโลเมตร ใหญ่เป็นอันดับสามของประเทศ รองจากนครราชสีมาและเชียงใหม่ ภูมิประเทศ ส่วนใหญ่เป็นป่า มีทั้ง ป่าโปร่งและป่าดงดิบ มีแม่น้าสาคัญสองสายคือ แม่น้าแควใหญ่และแม่น้าแควน้อย ซึ่งไหลมาบรรจบรวมกัน เป็นแม่น้าแม่กลองที่บริเวณอาเภอเมือง กาญจนบุรีแบ่งการปกครองออกเป็น 13 อาเภอ คือ อาเภอเมือง อาเภอบ่อพลอย อาเภอเลาขวัญ อาเภอพนมทวน อาเภอไทรโยค อาเภอสังขละบุรี อาเภอศรีสวัสดิ์ อาเภอ ท่ามะกา อาเภอท่าม่วง อาเภอทองผาภูมิ อาเภอด่านมะขามเตี้ย อาเภอหนองปรือ และอาเภอห้วยกระเจา อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดอุทัยธานีและจังหวัดตาก ทิศใต้
ติดต่อกับจังหวัดราชบุรี
ทิศตะวันออก
ติดต่อกับจังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดนครปฐม
ทิศตะวันตก
ติดต่อกับประเทศสหภาพเมียนมาร์
คาขวัญของจังหวัด แคว้นโบราณ ด่านเจดีย์ มณีเมืองกาญจน์ สะพานข้ามแม่น้าแคว แหล่งแร่น้าตก
7.
ขั้นตอนการพัฒนาBest Practice
การพัฒ นาการจั ด การเรี ย นรู้ เพื่อ สร้ างจิต ส านึ กรั กความเป็นไทยโดยใช้ กระบวนการสื บ เสาะหาความรู้จากชุดการเรียนรู้เรื่องแหล่งท่องเที่ยวทัศนศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ในจังหวัดกาญจนบุรี สาหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีรายละเอียดและขั้นตอนการดาเนินการพัฒนาดังต่อไปนี้ 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา Best Practie ไปใช้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2556-2557 7.2 ขั้นตอนการพัฒนาBest Practice (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา)
ขั้นตอนการพัฒนา การจัดการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการ ๔ ร. มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินการ ดังนี้
7.3 การตรวจสอบคุณภาพBest Practice 1. การตรวจสอบคุณภาพชุดการเรียนรู้โดยผู้เชี่ยวชาญ 2. การหาค่าประสิทธิภาพของชุดการเรียนรู้ 3. การใช้แบบสอบถาม สอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนรู้โดยใช้ชุด
๑. รับ
- ความรู้เดิม - ความรู้ใหม่ - พร้อมรับการเรียนรู้
รับ รัฟับงรู้
* ทบทวนความรู้เดิม เสริมความรู้ใหม่ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
๒. รับ
เร้าความสนใจ เร้าระดมความคิด
- กระตุ้น - ระดมความคิด - ร่วมดาเนินการวางแผน
*สร้างความสนใจให้กับผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นโดยใช้ปัญหาในการหาคาตอบด้วยกระบวนการ คิดแบบสืบเสาะหาความรู้ *แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 - 6 คน ในการระดมความคิดในการวางแผนการดาเนินการ เรียนรู้ด้วยวิธีการ Out door ให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในกระบวนการเรียนรู้
๓. เร่ง
เร่งรัด เร่งปฏิบัติ
- ลงมือปฏิบัติ - เกิดทักษะการคิด 1. ขั้นสร้างความสนใจ Engagement 2. ขั้นสารวจและค้นหา Explanation 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป Explanation 4. ขั้นขยายความรู้ Elaboration 5. ขั้นประเมินผล Evaluation
* กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสืบค้นเสาะหาความรู้พร้อมบูรณาการ
๔. รู้
รู้จา รู้คิด รู้ใช้
- เกิดความรู้ - ประยุกต์ความรู้ - นาเสนอผลงานที่ หลากหลายวิธีอย่างสร้างสรรค์
*น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนในการสร้างองค์ ความรู้ใหม่สู่ผลงานอย่างสร้างสรรค์
ขั้นตอนการพัฒนาชุดการเรียนรู้
นาไปใช้จริงกับนักเรียน ชั้นป.6 ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบและปรับปรุง แก้ไข ปรับปรุงแก้ไขชุดการเรียนรู้ ทดลองใช้กับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที 6 จัดทาชุดการเรียนรูเ้ รื่องการท่องเที่ยวทัศนศึกษาเชิงประวัตศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ ศึกษารูปแบบแนวคิดทฤษฎีรปู แบบลักษณะการสร้างชุดการเรียนรู้ วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรสถานศึกษามาตรฐานตัวชี้วดั หาแนวทางแก้ไขโดยใช้ชุดการเรียนรู้เรื่องการท่องเที่ยวทัศนศึกษาเชิงประวัติศาสตร์
ศึกษาสภาพปัญหาการเรียนการสอนสังคมศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
7.3 แนวทางการนา Best Practiceไปใช้ประโยชน์ 1. นาไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. นาไปใช้กับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาทุกระดับชั้น 3. ทาให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุขได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ทางประวัติศาสตร์ ได้รับ ประสบการณ์ตรงเกิดการเรียนรู้ที่ชัดเจน 4. ทาให้นักเรียนมีจิตสานึกรักความเป็นไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย รักท้องถิ่นของตนเอง มีจิตสานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โบราณสถาน โบราณวัตถุและวัฒนธรรมประเพณีของชุมชน
8.ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา Best Practice ในการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Based Learning) ส่งผลให้ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายในสถานศึกษา พร้อมด้วยคณะกรรมการสถานศึกษามีความพอใจ ที่เห็นการพัฒนาและ เปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา เกิดความภูมิใจในความสาเร็จ ดังผลงานที่ ปรากฏ ดังนี้
8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาสูงขึ้น 2. นักเรียนทุกคนปฏิบัติตนตามตามค่านิยมพื้นฐาน 12 ประการ ๓. ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ Best Practice ในการจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาได้ประเมินความ พึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบรูปแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Based Learning) โดยใช้กระบวนการ PDCA จากผู้ปกครองนักเรียน ครู คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน และนักเรียน จากการรวบรวมข้อมูล ด้วยเครื่องมือที่ได้จัดทาขึ้น ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจ มีผลสรุป ดังนี้ - คณะครู บุคลากรและนักเรียน มีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ ๙๕ - คณะกรรมการสถานศึกษา ตัวแทนผู้ปกครองและชุมชน มีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อนละ ๙0
8.2 ผลสัมฤทธิ์เชิงคุณภาพ 1. ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ความรู้และสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง 2. โรงเรียนได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา รอบสาม (พ.ศ.25542558) จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) ๓. นักเรียนมีจิตสานึกรักความเป็นไทยและค่านิยมพื้นฐาน 12 ประการ 4. ผู้เรียนดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยได้รับรางวัลและเกียรติบัตรยก ย่องจากสานักงานสหกรณ์จังหวัดกาญจนบุรี ดังนี้ 1. เด็กหญิงจิรพรรณ ยิ้มศรีแพร ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดสุดยอดเด็กดีมีเงินออม ประเภท” คนดีที่ ๑” โครงการส่งเสริมและพัฒนาการออมในระบบสหกรณ์ 2.เด็กหญิงกอแก้ว ศรีหกุล ได้รับรางวัลรองชนะเลิศการประกวดสุดยอดเด็กดีมีเงินออม ประเภท “คนดีที่ ๑” โครงการส่งเสริมและพัฒนาการออมในระบบสหกรณ์ 3.เด็กหญิงเกศราภรณ์ ม้าวงษ์ได้รับรางวัลรองชนะเลิศการประกวดสุดยอดเด็กดีมีเงินออม ประเภท”คนดีท๑ี่ ”โครงการส่งเสริมและพัฒนาการออมในระบบสหกรณ์ 4.เด็กหญิงสุธิดา อ้นเกตุ ได้รับรางวัลชมเชยการประกวดสุดยอดเด็กดีมีเงินออมประเภท” คนดีท๑ี่ ” โครงการส่งเสริมและพัฒนาการออมในระบบสหกรณ์
8.3 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการเรียนรู้จากการนา BPไปใช้ 1. นักเรียนมีการพัฒนาการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาสูงขึ้น 2. ครูผู้สอนมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียน 3. ครูผู้สอนมีการพัฒนาความรู้ความสามารถโดยการศึกษาความรู้ด้วยตนเองและเข้าร่วมการ อบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการต่างๆและนาความรู้มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน 4. บุคลากรภายในโรงเรียนให้คาแนะนาและช่วยเหลือด้านต่างๆ 5. ได้รับความร่วมมือจากผู้บริหารให้การสนับสนุนงบประมาณ
การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practice และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง 1. เผยแพร่ใ นงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 2.เผยแพร่ ผ ลงานให้ แก่ คณะครู ในโรงเรียน ในสั งกัดและผู้ มาศึกษาดูงานของโรงเรียนปี การศึกษา 25555 - 2557 ๓. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความสาเร็จของ Best Practice งานวิชาการของสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๔. เผยแพร่ในเว็ปไซต์ OBEC AWARDS ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑
(นางณภาภัช ภุมภารินทร์) ผู้ส่งผลงาน
(นายชัชชน ทองแย้ม) ผู้อานวยการโรงเรียนวัดท่าน้าตื้น