วิธีปฏิบัตทิ ี่เป็ นเลิศ (BEST PRACTICE) 1. ชื่ อผลงาน การพัฒนาทักษะนาฏศิลป์ ไทยสู่ ความเป็ นเลิศ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ศิลปะ (นาฏศิลป์ ) ด้านบริ หารจัดการยอดเยีย่ ม 2. ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้พฒ ั นา 2.1 ชื่อผูพ้ ฒั นา นางพรรษา มูลประวัติ 2.2 โรงเรี ยนบ้านใหม่(จีนาภักดิ์วทิ ยา) ตาบลบ้านใหม่ อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เครื อข่ายส่ งเสริ มประสิ ทธิ ภาพการจัดการศึกษาบ้านใหม่ ระดับประถมศึกษา 2.3 โทรศัพท์ 081-3654861 E-mail : Phansa.jan@hotmail.com 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา BP 3.1 เพื่อฝึ กฝนนักเรี ยนให้เกิดการพัฒนาทักษะทางด้านนาฏศิลป์ ไทยที่ถูกต้องสวยงาม 3.2 เพื่อพัฒนานักเรี ยนที่มีความสามารถด้านนาฏศิลป์ ไทยได้แสดงออกซึ่งความสมารถในโอกาส ต่างๆ และสนับสนุนให้นกั เรี ยนได้เข้าร่ วมแข่งขันทักษะด้านนาฏศิลป์ ไทย เพื่อเพิ่ม ประสบการณ์ดา้ นการแสดงออกให้กบั นักเรี ยน 3.3 เพื่อปลูกฝังให้นกั เรี ยนกล้าแสดงออก เกิดความรัก ความภาคภูมิใจ ร่ วมกิจกรรมนาฏศิลป์ ไทย 4. ระยะเวลาในการพัฒนา ตลอดปี การศึกษา ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยปรับปรุ งและพัฒนาตลอด 5. ความเชื่อมโยง/สั มพันธ์ ระหว่างBPกับเป้าหมาย/จุดเน้ นของสพป/สพม/สพฐ/สถานศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กาหนดไว้ในหมวดที่ 1 บททัว่ ไป ความมุ่ง หมายและหลักการมาตรา 6 ว่าการศึกษาต้องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ งั กาย จิตใจ สติปัญญา ความรู ้ คุณธรรมจริ ยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยู่ ร่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุ ข การศึกษาที่ก่อให้เกิดคุณลักษณะที่เกิดจากการบริ หารและจัดการ เรี ยนรู ้อย่างมีคุณภาพ การปฏิรูปการศึกษาทาให้เกิดพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2542
โดยเฉพาะมาตราที่ 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผูเ้ รี ยนทุกคนมีความสามารถในการเรี ยนรู ้ และการพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผูเ้ รี ยนสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่ งเสริ มให้ ผูเ้ รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ และมาตราที่
24
ข้อที่ 1 การจัด
กระบวนการเรี ยนรู ้ จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรม ให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของ ผูเ้ รี ยน โดยคานึงถึงความตกต่างระหว่างบุคคล มาตราที่ 24 ข้อ 3 จัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้จาก ประสบการณ์จริ ง ฝึ กการปฏิบตั ิให้ทาได้ คิดเป็ น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่ รู ้อย่างต่อเนื่อง(กรม วิชาการ, 2542) ดังนั้นเพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่คาดหวัง ให้ผเู้ รี ยนได้รับการพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ กระบวนการจัดการเรี ยนรู้เน้นการ ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์จากกิจกรรม และจากการปฏิบตั ิจริ ง เพื่อให้เกิดประสบการณ์ การเรี ยนรู ้เต็มความสามารถ สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจและความต้องการของผูเ้ รี ยน ทา ให้สร้างความรู้ได้ดว้ ยตนเอง ตลอดจนมีแนวทางในการเรี ยนรู้เป็ นของตนเอง รู้วธิ ีการเรี ยนรู้ และ เรี ยนรู ้จากแหล่งการเรี ยนรู ้ต่างๆ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาการเรี ยนรู ้สาระนาฏศิลป์ อีกทั้งเป็ นการ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของชาติไทยให้คงอยูส่ ื บไป โรงเรี ยนบ้านใหม่(จีนาภักดิ์วทิ ยา) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 เล็งเห็นความสาคัญของนาฏศิลป์ ไทย จึงได้กาหนดนาฏศิลป์ ไทยเป็ นอัตลักษณ์ของโรงเรี ยน เพื่อส่ งเสริ ม ปลูกฝังวัฒนธรรม คุณลักษณะและค่านิยมที่พ่ งึ ประสงค์ซ่ ึ งเป็ นเยาวชนที่เติบโตอย่างมี คุณภาพ มีจิตใจที่ดีงาม รักและหวงแหนวัฒนธรรมของไทย 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีทนี่ ามาใช้ ในการพัฒนาBP วิธีการสอนแบบค้ นพบโดยใช้ ทกั ษะ 7 ส วิธีการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทกั ษะ 7 ส เป็ นการนาทฤษฎีการสอนของเจอร์รูม บรู เนอร์ (Jerome Bluner) ผูส้ นับสนุนวิธีการสอนแบบค้นพบ และทฤษฎีการเรี ยนรู้โดยการกระทาของจอห์น ดิว อี้ (John Dewey)โดยนาวิธีการจัดการเรี ยนรู้ 2 แบบมาประยุกต์ให้เป็ นวิธีการสอนเพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการการเรี ยนรู้ที่เน้นให้ผเู้ รี ยนแสวงหาความคาตอบ และการสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง และ สามารถนาทักษะกระบวนการไปปรับใช้ในการดาเนินชีวติ ประจาวันได้ ซึ่งวิธีการจัดการเรี ยนรู้ที่มาจาก แนวคิดดังกล่าวประกอบด้วย 1. วิธีสอนแบบค้นพบ (Discovery Method)
2. กระบวนการเรี ยนรู้แบบค้นพบ (Discovery Learning Process : DLP) โดยใช้ทกั ษะ 7 ส ความหมาย วิธีการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทกั ษะ 7 ส คือ กระบวนการสอนที่ครู ใช้ในการช่วย ให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการนาตัวอย่าง ข้อมูล ความคิด เหตุการณ์ สถานการณ์ ปัญหา หรื อ ความคิดรวบยอด ข้อสรุ ป กฎเกณฑ์ มาให้ผเู้ รี ยนใช้ทกั ษะสงสัย สังเกต สัมผัส สารวจ สื บค้น สั่งสม และสรุ ปผล ในการค้นคว้าหาข้อสรุ ป หรื อหาหลักการ แนวคิด ด้วยตนเอง วัตถุประสงค์ วิธีการสอนแบบค้นพบโดยใช้ทกั ษะ 7 ส เป็ นวิธีการสอนที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนฝึ ก ใช้ทกั ษะสงสัย สังเกต สัมผัส สารวจ สื บค้น สั่งสม และสรุ ปผล เป็ นกระบวนการในการคิดหาคาตอบ หา ข้อสรุ ป ได้ดว้ ยตนเอง กระบวนการเรี ยนรู้แบบ Discovery Learning Process เป็ นกระบวนการเรี ยนรู้ที่จะมีบทบาท สาคัญต่อการพัฒนาการเรี ยนรู ้ และการปฏิรูปการเรี ยนการสอนของไทยเนื่องจากเป็ นกระบวนการที่มุ่งเน้น การพัฒนาศักยภาพของเด็กเป็ นสาคัญ เพื่อเป็ นบุคคลที่มีจิตใจรักการเรี ยนรู้ อีกทั้งยังสนับสนุนส่ งเสริ มให้ผู ้ ที่มีบทบาทสาคัญต่อกระบวนการเรี ยนรู ้ของเด็กได้มีความเข้าใจและพัฒนาการควบคู่กนั ไปด้วย จึงเป็ น กระบวนการที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาของโลกปั จจุบนั ที่เป็ นสังคมแห่งการเรี ยนรู ้ ครู อาจารย์ ผูเ้ กี่ยวข้องด้นการเรี ยนรู ้ต่างๆ สามารถนากระบวนการดังกล่าวไปใช้เป็ นเครื่ องมือการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน ในรายวิชาหรื อกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ต่าง ๆ โดยทาหน้าที่ในการสร้างบรรยากาศเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยน ได้ใช้ ทักษะ 7 ส ทั้งการเรี ยนภายในห้องเรี ยน ในโรงเรี ยน ในชุมชนหรื อแหล่เรี ยนรู ้ต่าง ๆ Discovery Learning Process คือ กระบวนการเรี ยนรู้แบบ สนุกคิด สนุกค้น ที่มุ่งหวังให้ นักเรี ยนเกิดการแสวงหาความรู ้ดว้ ยตัวเอง ด้วยการใช้ ทักษะ 7 ส ที่เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนทดลองค้าหา พัฒนากระบวนการคิด ความเข้าใจ ความสามารถในการเรี ยนรู้ของตนเอง จนค้นพบวิถีการเรี ยนรู้เฉพาะตน เพื่อช่วยให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง มีส่วนร่ วมในกระบวนการที่ก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้ ผ่านความคิด แล้วลงมือปฏิบตั ิ ลองผิดลองถูก และสามารถสรุ ปความคิดรวบยอดได้ นักเรี ยนจะเกิดการ พัฒนาทางความคิด สามารถคิดแบบมีเหตุผล แก้ปัญหาได้ ควบคู่กบั ความสนุกสนาน นักเรี ยนจะเกิดความ ภาคภูมิใจในการเรี ยนรู้ และท้ายสุ ดนักเรี ยนจะเป็ นผูใ้ ฝ่ รู้และเรี ยนรู้ วิธีที่จะค้นหาคาตอบ นาไปสู่ การจดจา สิ่ งที่เรี ยนรู ้ได้นาน การเรี ยนรู้แบบ DLP โดยทักษะ 7 ส จะเกิดประโยชน์ต่อการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยน เนื่องจาก ทักษะทั้ง 7 จะบ่มเพาะให้นกั เรี ยนมีกระบวนการเรี ยนรู ้อย่างเป็ นระบบและมีหลักการ ส-สงสัย ฝึ กฝนการเป็ นคนช่างคิด ช่างสงสัย รู ้จกั ตั้งคาถาม นาไปสู่ การเป็ นคนใฝ่ รู ้ ตื่นตัว คิดเป็ น สนุกกับการเรี ยนรู ้
ส-สังเกต ส-สัมผัส ส-สารวจ ส-สืบค้ น ส-สั่งสม ส-สรุปผล
ฝึ กฝนให้นกั เรี ยนรู ้จกั เก็บรายละเอียด ไม่รีบร้อน ไม่มองข้าม นาไปสู่ การเป็ นคน ละเอียดรอบคอบ ฝึ กฝนให้นกั เรี ยนรู ้จกั การใช้ทกั ษะของร่ างกาย หู ตา จมูก กาย ลิ้น กระตุน้ และ พัฒนาสัมผัสทั้ง 5 เพิม่ มิติการเรี ยนรู ้เกิดพัฒนาสมองเชื่อมโยง ฝึ กฝนให้นกั เรี ยนมองหาความเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ ความเกี่ยวข้องของ สิ่ งแวดล้อมกับสิ่ งที่นกั เรี ยนเรี ยนรู ้ เป็ นการพัฒนาไปสู่ การมองแบบองค์รวม ฝึ กฝนให้นกั เรี ยนรู้จกั การค้นคว้าหาข้อมูล ความรู ้จากแหล่งต่าง ๆ นาไปสู่ การเป็ น คนใฝ่ รู้ รักการอ่าน การค้นคว้า ทดลอง ฝึ กฝนให้นกั เรี ยนมีหลักคิดทางวิทยาศาสตร์ ทบทวนความถูกต้องแม่นยา รู้จกั ฝึ กฝนหาทางออกเพื่อแก่ปัญหา พัฒนาตนเองสู่ ความชานาญ ฝึ กให้นกั เรี ยน รู้จกั คิดวิเคราะห์ ฝึ กความคิดรวบยอด สังเคราะห์ ประมวลความคิด
ลาดับขั้นตอน รู ้จกั กล้านาเสนอความคิดหรื อคาตอบในมุมมองหรื อแตกต่างด้วยตนเอง ถ้านักเรี ยนนาทักษะทั้ง 7 มาใช้ต่อเนื่องเป็ นประจาจนกลายเป็ นนิสัย เมื่อไปเรี ยนรู ้ในเรื่ องใดก็สามารถใช้ ทักษะทั้ง 7 ได้ดว้ ยตนเอง นักเรี ยนก็จะสามารถหาความรู ้ หรื อสร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง คิดเป็ น ทาเป็ น แก้ปัญหาเป็ น ทักษะทีใ่ ห้ นักเรียน บทบาทของครู ด้ วยกระบวนการเรียนรู้ แบบ DLP ฝึ กฝน ส-สงสัย ชักชวนให้สงสัย อะไร ทาไม อย่างไร ตั้งคาถามปลายเปิ ด ไม่รีบให้คาตอบ ไม่ มองข้ามเรื่ องเล็กน้อย ส-สังเกต ให้เวลากับการสังเกตของเด็กไม่เร่ งรัด ให้เวลาในการพินิจพิเคราะห์ ใช้บนั ทึก ช่วยจา ส-สัมผัส ไม่ปิดกั้นการเรี ยนรู ้ดว้ ยการสัมผัส ไม่รีบใช้ ห้าม อย่า หยุด กระตุ่นให้ใช้ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการเรี ยนรู้ ส-สารวจ สนับสนุนให้นกั เรี ยนสารวจสิ่ งต่าง ๆ ช่วยหาเครื่ องมือที่เหมาะสม เป็ นผูช้ ่วย ในการสารวจแนะนาให้เก็บผลลัพธ์จากการสารวจ ส-สื บค้น ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนสื บค้นด้วยตนเองแนะนาแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม ช่วยเชื่อมโยง ข้อมูลความรู้ ส-สั่งสม ให้โอกาสนักเรี ยนทาซ้ าเพื่อให้เกิดการสั่งสม เชื่อว่าการทาซ้ าช่วยให้เกิดความ ชานาญ และเกิดการเรี ยนรู ้ใหม่ ไม่เบื่อหน่ายราคาญการทาซ้ า ส-สรุ ปผล ฝึ กให้นกั เรี ยนสรุ ปผลด้วยตนเอง ไม่ยดึ ติดคาตอบเดียว ให้อิสระกับคาตอบ และฟังคาอธิ บายชื่นชมและให้กาลังใจทุกครั้งของการเรี ยนรู ้
7
7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเป้ าหมายในการนา BP ไปใช้ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3-4 โรงเรี ยนบ้านใหม่ (จีนาภักดิ์วทิ ยา) จานวน 32 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP
1.ศึกษา/วิเคราะห์หลักสู ตร สาระการเรี ยนรู้ 2. ศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์/สมรรถนะ 3. วิเคราะห์นกั เรี ยนเป็ นรายบุคคล เพื่อเป็ น ข้อมูลพื้นฐานของนักเรี ยนด้านความสามารถ
P
พิเศษ ปัญหาการเรี ยนรู้ และแนวทางการ ส่ งเสริ ม 4. ศึกษาหลักการ ทฤษฎีการสอนที่เกี่ยวข้อง 5. วางแผนการบริ หารจัดการเรี ยนรู้ 5. จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตามที่ได้วางแผนไว้
D C A
6. สังเกตพฤติกรรม ตรวจสอบการร่ วมกิจกรรม 7. ประเมินผล/ตรวจสอบ
8. พัฒนา/ปรับปรุ ง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ 2. ซื่อสัตย์สุจริ ต 3. มีวนิ ยั 4. ใฝ่ เรี ยนรู้ 5. อยูอ่ ย่างพอเพียง 6. มุ่งมัน่ ในการทางาน 7. รักความเป็ณนภาพ ไทย BP 7.3 การตรวจสอบคุ 8. มีจวิิตธสาธารณะ 7.3.1 ีการตรวจสอบคุณภาพ
สมรรถนะหลักของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่ อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
ครู ผสู ้ อนต้องสร้างความตระหนักให้แก่นกั เรี ยน ไม่สร้างความทุกข์ให้กบั นักเรี ยน ให้ กาลังใจ คาชมเชย ใช้การสังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยน ใช้แบบประเมินความพึงพอใจ ผูบ้ ริ หารมีการกากับติดตาม การเรี ยนรู ้มีการยืดหยุน่ ทุกสิ้ นปี มีการประเมินผล นาผลการ ประเมินที่ได้มาวิเคราะห์ เปรี ยบเทียบ ปรับปรุ ง เพื่อดูคุณภาพของ BP 7.3.2 ผลการตรวจสอบคุณภาพ 1. นักเรี ยนได้รับความรู ้และพัฒนาความสามารถด้านนาฏศิลป์ อย่างเต็มศักยภาพ 2. นักเรี ยนเกิดการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ได้ตามศักยภาพและมีเจตคติที่ดีต่อนาฏศิลป์ ไทย 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ ประโยชน์ 7.4.1 ใช้ในการบริ หารจัดการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะความสามารถด้านนาฏศิลป์ ไทย 7.4.2 ใช้ในการปลูกฝังให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ เกิดความรัก และกล้าแสดงออกใน ศิลปวัฒนธรรมของไทย 8. ผลสาเร็จทีเ่ กิดขึน้ จากการพัฒนา BP(เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ ของBP) 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1. ครู มีความรู้ความสามารถในการบริ หารจัดการเรี ยนรู้ พัฒนาทักษะและความสามารถ ด้านนาฏศิลป์ ของนักเรี ยน 2. นักเรี ยนในกลุ่มเป้ าหมายมีพฒั นาการความสามารถด้านนาฏศิลป์ ไทย 3. นักเรี ยนกล้าแสดงออก เกิดความรัก และภาคภูมิใจ ร่ วมอนุรักษ์นาฏศิลป์ ไทย 8.2 ผลสาเร็จเชิ งคุณภาพ 1. ครู จดั การเรี ยนรู้พฒั นาความสามารถด้านนาฏศิลป์ ไทยของนักเรี ยน 2. นักเรี ยนได้พฒั นาความสามารถด้านนาฏศิลป์ ไทยในระดับที่ยากขึ้นได้ 3. นักเรี ยนมีโอกาสได้ใช้ความรู ้ความสามารถในการแสดงในโอกาสต่างๆ และแข่งขัน ทักษะวิชาการ 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกีย่ วข้ องต่ อ BP 1. นักเรี ยนเกิดความพึงพอใจในการพัฒนาทักษะด้านนาฏศิลป์ ไทยร้อยละ 80 2. ผูบ้ ริ หารและครู เกิดความพึงพอใจในการพัฒนาทักษะด้านนาฏศิลป์ ไทยร้อยละ 80 3. ผูป้ กครองและชุมชนเกิดความพึงพอใจในการพัฒนาทักษะด้านนาฏศิลป์ ไทยร้อยละ 80 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP / ประสบการณ์ การเรียนรู้ จากการนา BP ไปใช้ 1. นักเรี ยนมีแรงจูงใจในการพัฒนาทักษะความรู ้ความสามารถด้านนาฏศิลป์ ไทยเพิม่ ขึ้น 2. ครู มีความรู ้ความสามารถ เสี ยสละ มุ่งมัน่ ตั้งใจในการพัฒนาทักษะความรู ้ความสามารถ ด้านนาฏศิลป์ ไทยเพิ่มขึ้น
3. ผูบ้ ริ หารและคณะครู ให้ความร่ วมมือในการทางานและการบริ หารจัดการเรี ยนรู ้ดา้ น นาฏศิลป์ เป็ นอย่างดี 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ การพัฒนา ปรับปรุ ง BP ให้ เกิดผลดีอย่างต่ อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP 1. หาสาเหตุขอ้ บกพร่ อง แต่ละขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุ งแก้ไข 2. หารู ปแบบใหม่ๆที่น่าสนใจเหมาะสมกับวัยของนักเรี ยนแล้วดาเนินการ 3. ดาเนินกิจกรรมในรู ปแบบ เน้น ย้า ซ้ า ทวน 4. นานักเรี ยนออกแสดงนาฏศิลป์ ไทยในโอกาสต่างๆ 5. นานักเรี ยนเข้าประกวดการแข่งขันนาฏศิลป์ ไทยในโอกาสต่างๆ 9.2 ผลการตรวจสอบซ้า เพือ่ การพัฒนาและปรับปรุ ง BP 1. นักเรี ยนมีพฒั นาการด้านนาฏศิลป์ ไทยดีข้ ึน 2. นักเรี ยนได้รับประสบการณ์จากการแสดงนาฏศิลป์ ในโอกาสต่างๆ 3. นักเรี ยนได้รับรางวัลต่างๆจากการแข่งขันกิจกรรมนาฏศิลป์ ไทย 10. การประชาสั มพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง(ระบุวนั เวลาและรู ปแบบ/ วิธีการประชาสั มพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล 10.1 การประชุมผูป้ กครองนักเรี ยน ณ โรงเรี ยนบ้านใหม่(จีนาภักดิ์วทิ ยา) ใช้วธิ ีการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ ผลงานโดยเอกสารแผ่นพับ 10.2 การประชุมคณะครู โรงเรี ยนบ้านใหม่(จีนาภักดิ์วทิ ยา) ใช้วธิ ี การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ผลงานโดยเอกสารแผ่นพับและนาเสนอผลงานโดยใช้โปรแกรมพาวเวอร์ พอย์ 10.3 การประชุมคณะครู กลุ่มเครื อข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาบ้านใหม่ ณ. ศูนย์เครื อข่ายพัฒนา คุณภาพการศึกษาบ้านใหม่ใช้วธิ ี การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ผลงานโดยเอกสารแผ่นพับ 10.4 ผูบ้ ริ หารและคณะครู โรงเรี ยนตลาดสารองศึกษาดูงาน วันที่ 8 สิ งหาคม 2557 ใช้วธิ ีการ ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ผลงานโดยเอกสารแผ่นพับ 10.5 กลุ่มโรงเรี ยนพหลโยธิ น อาเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี เข้าศึกษาดูงานในวันที่ 1 สิ งหาคม 2557 ใช้วธิ ี การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ผลงานโดยเอกสารแผ่นพับ
10.6 ผูบ้ ริ หารและคณะครู โรงเรี ยนวัดไทยวิวฒั นาราม ต.หนองหญ้า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี เข้าศึกษา ดูงาน ในวันที่ 10 กรกฎาคม 2557 ใช้วธิ ี การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ผลงานโดยเอกสารแผ่นพับ 10.7 เผยแพร่ ผลงานทางเว็ปไซต์ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 10.7 เผยแพร่ ผลงานทางเฟสบุคโรงเรี ยนบ้านใหม่(จีนาภักดิ์วทิ ยา) 10.8 เผยแพร่ ผลงานทางเฟสบุค phansa.jan@hotmail.com รางวัลทีไ่ ด้ รับ 1. กิจกรรมการแข่งขันราวงมาตรฐาน ป.1-ป. 6 งานศิลปหัตถกรรมระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 เหรี ยญเงิน ปี การศึกษา 2555 2. กิจกรรมการแข่งขันขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ป.1-ป. 6 ประเภทชาย งานศิลปหัตถกรรม ระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 เหรี ยญเงิน ปี การศึกษา 2555 3. กิจกรรมการแข่งขันราวงมาตรฐาน ป.1-ป. 6 งานศิลปหัตถกรรมระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 เหรี ยญทอง ปี การศึกษา 2556 4. กิจกรรมการแข่งขันนาฏศิลป์ ไทยอนุรักษ์ ป.1-ป. 6 งานศิลปหัตถกรรมระดับเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 เหรี ยญทอง รองชนะเลิศอันดับสอง ปี การศึกษา 2556 5. กิจกรรมการแข่งขันราวงมาตรฐาน ป.1-ป. 6 งานศิลปหัตถกรรมระดับเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 เหรี ยญทอง ปี การศึกษา 2557 6. กิจกรรมการแข่งขันนาฏศิลป์ ไทยอนุรักษ์ ป.1-ป. 6 งานศิลปหัตถกรรมระดับเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 เหรี ยญทอง รองชนะเลิศอันดับสอง ปี การศึกษา 2557 7. กิจกรรมการแข่งขันขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ ประเภทหญิง ป.1-ป. 6 งานศิลปหัตถกรรม ระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 เหรี ยญทอง ปี การศึกษา 2557
ภาคผนวก