Best Practice นางประกายมาศ บุญสมปอง ครู ร.ร.บ้านไทรทอง

Page 1

~1 ~


~1 ~ คานา เอกสารฉบับนี้จัดทาเพื่อเสนอขอรับการประเมินรับรางวัล ทรงคุณค่า OBEC AWARDS ครูผู้สอน ยอดเยี่ยม ประเภทบุคคลากรยอดเยี่ยม ด้าน นวัตกรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยผู้จัดทาได้รวบรวม สรุปผลงานตามหัวข้อการประเมินที่ กาหนด พร้อมแนบหลักฐาน เอกสารอ้างอิงไว้ด้วยแล้ว เอกสารประกอบเพื่อขอรับการประเมินฉบับนี้เสร็จ สมบูรณ์ได้ด้วยความร่วมมือของนักเรียน บุคลากรโรงเรียนบ้านไทรทอง ที่ได้ช่วยรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ทา ให้สะดวกต่อการจัดทารายงานฉบับนี้ หวังว่าเอกสารฉบับนี้คงจะอานวยความสะดวกให้แก่คณะกรรมการการ ประเมินในการพิจารณา ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอขอรับการประเมินต่อไป

นางประกายมาศ บุญสมปอง


~1 ~ สารบัญ เรื่อง คานา ผลงานที่เป็นเลิศ (Best Practice)ชื่อผลงาน ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนา BP ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับ เป้าหมาย/จุดเน้น สพป./สพฐ./สถานศึกษา แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP กระบวนการพัฒนา BP ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP กระบวนการตรวจสอบซ้า เพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง ประวัติผู้จัดทา ภาคผนวก บรรณานุกรม

หน้า 1 1 1 1 1 2 3 5 5 5 6 7 17


1 ~ ~1 ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice 1. ชื่อผลงาน Best Practice : การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยแนวคิดการสร้างความสัมพันธ์ DREAM ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2. ข้อมูลผู้เสนอผลงาน ชื่อ นางประกายมาศ บุญสมปอง โรงเรียน บ้านไทรทอง อาเภอ ด่านมะขามเตี้ย เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาจรเข้เผือก โทรศัพท์ 087-9373379 e-mail boonsompong_14@hotmail.com 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP 3.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.2 เพื่อส่งเสริมและ พัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบและใช้ความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา สู่ การปฏิบัติจริง 3.3 เพื่อส่งเสริมและพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความเป็นเลิศทางวิชาการให้สูงขึ้น 3.4 เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของนักเรียนและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 3.5 เพื่อให้นักเรียนมีความตระหนักในการดาเนินชีวิตที่สอดคล้องตามหลักปรัชญาความพอเพียง 4. แผนการดาเนินงาน/ระยะเวลาในการดาเนินงาน 4.1 แผนการดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 4.2 เป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านไทรทอง ตาบลจรเข้เผือก อาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี จานวน 24 คน 4.3 ระยะเวลาในการดาเนินงาน มิถุนายน – กรกฎาคม 2557 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา ข้าพเจ้าดาเนินการวิเคราะห์จุดเน้นและเป้าหมาย นโยบายการศึกษา หลักสูตรสถานศึกษา โดยนาวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของโรงเรียน เป็นตัวชี้วัดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตลอดจนการบูรณาการให้เข้ากับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ จัดการเรียนการสอนรายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา โดยการวางแผนแบบมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้าน เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ สอดคล้องกับเป้าหมายของสถานศึกษา 1. ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรใฝ่เรียนรู้ สามารถและทักษะที่จาเป็นตาม หลักสูตรใฝ่เรียนรู้ สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีแนวคิดในการแก้ปัญหาอย่างมี เหตุผลมีความทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี


~12 ~ 3. ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการทางาน ทางานร่วมรับอื่นได้ มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต 4. ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่าง มีคุณภาพ 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยแนวคิดการสร้างความสัมพันธ์ DREAM ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 D การชี้ทางเป็นกระบวนการหนึ่งของเทคนิคการสอนของครู โดยครูต้องมีจุดมุ่งหมายที่จะนาทางให้ นักเรียนได้เรียนรู้ มีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อมุ่งหวังสู่ความสาเร็จของนักเรียน R การศึกษาค้นคว้าเพื่อหาความจริง ด้วยการกระทาบนพื้นฐานแห่งปัญญาโดยมุ่งส่งเสริม และ กระตุ้นการเรียนรู้ของนักเรียนให้เกิดแรงจูงใจใคร่แสวงหาความรู้ด้วยวิธีการ และรูปแบบต่างๆ ที่ตนสนใจ E การดาเนินการเพื่อปฏิบัติสู่การเรียนรู้ โดยการกระทาจริง ศึกษาจากสถานการณ์ เหตุการณ์สภาพ จริง บนพื้นฐานของการค้นพบและลงมือปฏิบัติ A การติดตามประเมินผล เป็นกิจกรรมหนึ่งของการจัดการเรียนรู้ที่ครูผู้สอนต้องกากับ ติดตาม ประเมินผลด้วยวิธีการที่หลากหลาย M การจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เมื่อนักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ปฏิบัติกิจกรรมอย่าง หลากหลายตามลาดับขั้นตอน จนถึงขั้นการประเมินผล ครูผู้สอนได้นาผลมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาปรับปรุง ให้ผลการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้มีการพัฒนาที่สูงขึ้น จากแนวคิดการสร้างความสัมพันธ์ DREAM ซึ่งมีความสอดคล้องกับ กระบวนการเรียนรู้แบบ DLP โดยการ อ้างอิงทฤษฎีการสอนของเจอร์รูม บรูเนอร์ (Jerome Bluner) ผู้สนับสนุนวิธีการสอนแบบค้นพบ และทฤษฎีการ เรียนรู้โดยการกระทาของจอห์น ดิวอี้ (John Dewey) ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้โดยการใช้แนวคิดการสร้าง ความสัมพันธ์ DREAM เข้าไปเชื่อมโยงโดยประยุกต์วิธีการสอนเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการเรียนรู้ ครูผู้สอนจึงได้ ดาเนินการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง DREAM กับ DLP โดยใช้ทักษะ 7 ส ดังต่อไปนี้ ส-สงสัย ฝึกฝนการเป็นคนช่างคิด ช่างสงสัย รู้จักตั้งคาถาม นาไปสู่การ D (Direction) เป็นคน ใฝ่รู้ ตื่นตัว คิดเป็น สนุกกับการเรียนรู้ ส-สังเกต ฝึกฝนให้นักเรียนรู้จักเก็บรายละเอียด ไม่รีบร้อนไม่มองข้าม นาไปสู่การเป็นคนละเอียดรอบคอบ R (Research) ส-สัมผัส ฝึกฝนให้นักเรียนรู้จักการใช้ทักษะของร่างกาย หู ตา จมูก กาย ลิ้น กระตุ้นและพัฒนาสัมผัสทั้ง 5 เพิ่มมิติการเรียนรู้เกิด พัฒนาสมองเชื่อมโยง ส-สารวจ ฝึกฝนให้นักเรียนมองหาความเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ความ เกี่ยวข้อง ของสิ่งแวดล้อมกับสิ่งที่นักเรียนเรียนรู้เป็นการพัฒนา ไปสู่การมองแบบองค์รวม E (Enforce) ส-สืบค้น ฝึกฝนให้นักเรียนรู้จักการค้นคว้าหาข้อมูลความรู้จากแหล่งต่างๆ นาไปสู่การเป็นคนใฝ่รู้ รักการอ่านการค้นคว้า ทดลอง


~13 ~ A (Assessment)

ส-สั่งสม

ฝึกฝนให้นักเรียนมีหลักคิดทางวิทยาศาสตร์ ทบทวนความถูก ต้องแม่นยา รู้จักฝึกฝนหาทางออกเพื่อแก่ปัญหา พัฒนาตนเอง สู่ความชานาญ ส-สรุปผล ฝึกให้นักเรียน รู้จักคิดวิเคราะห์ ฝึกความคิดรวบยอด M (Meliorate) สังเคราะห์ ประมวลความคิดลาดับขั้นตอน รู้จักกล้านาเสนอ ความคิดหรือคาตอบในมุมมองหรือแตกต่างด้วยตนเอง จากการศึกษาทฤษฎีดังกล่าวข้างต้นมีความสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนแสวงหา และค้นพบความรู้ด้วยตนเอง ซึง่ มีลักษณะสาคัญ กล่าวโดยสรุปตามขั้นตอนดังนี้ ขัน้ ที่ 1 จุดประกายความสนใจ ขัน้ ที่ 2 วางแผนการเรียนรู้ ขัน้ ที่ 3 ลงมือเรียนรู้ตามแผน ขัน้ ที่ 4 นาเสนอข้อมูลการเรียนรู้ คือกิจกรรมที่ผู้เรียนได้นาข้อมูลข้อค้นพบที่ได้จากการเรียนรู้ มาร่วมกันวิเคราะห์อภิปรายเปรียบเทียบ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ ประเมินค่า สรุปความคิดรวบยอด คุณค่าความสาคัญ แนวคิดแนวทางปฏิบัติใน ชีวิตประจาวัน และสรุปขั้นตอนกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ขัน้ ที่ 5 จัดทาชิ้นงานเพื่อรายงานผลการเรียนรู้ การที่ผู้เรียนนาความรู้ข้อค้นพบ ข้อสรุปที่ได้จากการเรียนรู้ค้นพบโดยการศึกษาเรียนรู้แบบโครงงาน มานาเสนอในรูปแบบต่างๆตามความสนใจ พร้อมทั้งบอกเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีการเรียนรู้ แสดงความรู้สึก ต่อผลงานแล้วนามาแสดงเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประเมินซึ่งกันและกัน 7.กระบวนการพัฒนา BP การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยแนวคิดการสร้างความสัมพันธ์ DREAM ในรายวิชาสุขศึกษาและ พลศึกษา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ดาเนินการจัดการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบ ดังต่อไปนี้ 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านไทรทอง จานวน 24 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP ขั้นตอนการพัฒนา Best Practice


~14 ~


~15 ~ 7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP วิธีการตรวจสอบคุณภาพ BP โดยใช้เครื่องมือดังต่อไปนี้ - แบบประเมินผล - แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน - แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน และนาผลที่ได้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบ ปรับปรุงเพื่อดูคุณภาพของ BP 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ - นาไปใช้ พัฒนานักเรียนชั้นอื่น ๆ ให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ได้ - สามารถนาเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้นี้ไปประยุกต์ใช้กับวิชาอื่นได้ - เป็นแนวทางในการจัดรูปแบบการจัดการเรียนรู้ให้กับครูผู้สอนท่านอื่นและผู้ที่สนใจได้ 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ80 สามารถเรียนรู้ตามหลักการแนวคิดการสร้างความสัมพันธ์ของ DREAM ได้ 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนกลุ่มเป้าหมายสามารถเรียนรู้และมีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน ดังที่กล่าวข้างต้นตาม แนวคิดการสร้างความสัมพันธ์ของ DREAM ได้ 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP นักเรียนร้อยละ 95 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และเสนอแนะให้จัดกิจกรรมที่หลากหลาย ในการสอนที่สะท้อนภาพความพึงพอใจและมีความสนุกสนานในการจัดการเรียนรู้ 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุข้อบกพร่องแต่ละขั้นตอนในการจัดการเรียนรู้แล้วนามาพัฒนาปรับปรุง แก้ไขเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ 9.2 ผลการตรวจสอบซ้า เพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรียนสามารถ ทากิจกรรมที่ดาเนินการพัฒนา ด้วยตัวเอง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง การเผยแพร่ผลงานโดยการนาวิธีการ ขั้นตอน และสื่อที่ผลิตขึน้ ไปใช้ให้ความรู้กับเพื่อนครู และนักเรียน ใน โรงเรียน อีกทั้งยังนาไปเผยแพร่ในสื่อสังคมออนไลน์และเว็บไซต์ของ www.kan1.go.th/ อีกด้วย

( นางประกายมาศ บุญสมปอง ) ผู้ขอรับการประเมิน ครู โรงเรียนบ้านไทรทอง


~16 ~ ประวัติผ้ จู ัดทา

ชื่ อ นางประกายมาศ บุญสมปอง เกิดวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2524 การศึกษา ปริ ญญาตรี ค.บ. สาขาพลศึกษา โท นันทนาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ที่อยู่ บ้ านเลขที่ 64/4 หมู่ 2 ตาบลจรเข้ เผือก อาเภอด่ านมะขามเตีย้ จังหวัดกาญจนบุรี ที่ทางาน โรงเรี ยนบ้ านไทรทอง หมู่ 5 ตาบลจรเข้ เผือก อาเภอด่ านมะขามเตีย้ จังหวัดกาญจนบุรี


~17 ~

ภาคผนวก


~18 ~ กิจกรรมที่เกิดจากการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยแนวคิดการสร้างความสัมพันธ์ DREAM ใน รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ผลงานทีค่ รูได้รับรางวัลในด้านการสอนสุขศึกษาและพลศึกษา ชื่อ – สกุล ชื่อรางวัลที่ได้รับ/หน่วยงานที่ให้ นางประกายมาศ บุญสมปอง ครูผู้สอนดีเด่นกลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา/ สมาคมครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษาอาเภอ ด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี นางประกายมาศ บุญสมปอง ครูผู้ฝึกสอนนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม “ศักยภาพเป็น เลิศ”เข้าร่วมการแข่งขันตอบปัญหาสุขภาพระดับภาค กลางและภาคตะวันออก/ มัธยมศึกษาตอนต้น /สพฐ. นางประกายมาศ บุญสมปอง ครูผู้ฝึกสอนนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม “ศักยภาพเป็น เลิศ”เหรียญเงินแข่งขันตอบปัญหาสุขภาพระดับภาค กลางและภาคตะวันออก/มัธยมศึกษาตอนต้น /สพฐ. นางประกายมาศ บุญสมปอง ครูผู้ฝึกสอนนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม “ศักยภาพเป็น เลิศ”เหรียญทอง ตอบปัญหาสุขภาพ ระดับ ประถมศึกษา /เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรีเขต 1/สพฐ. นางประกายมาศ บุญสมปอง ครูผู้ฝึกสอนนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม “ศักยภาพเป็น เลิศ”เหรียญเงินแข่งขันตอบปัญหาสุขภาพระดับภาค กลางและภาคตะวันออก/มัธยมศึกษาตอนต้น /สพฐ. นางประกายมาศ บุญสมปอง ครูผู้ฝึกสอนนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม “ศักยภาพเป็น เลิศ”เหรียญทอง ตอบปัญหาสุขภาพ ระดับ ประถมศึกษา /เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรีเขต 1/สพฐ.

ปีที่ได้รับ 2556

2556

2555

2555

2554

2554


~19 ~ ผลงานของนักเรียนที่เกิดจากการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ด้วยแนวคิดการสร้างความสัมพันธ์ DREAM ในรายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ชื่อ – สกุล เด็กชายสิทธิศักดิ์ ศรีพุทรา เด็กหญิงวิลาวัลย์ กิจประเสริฐ เด็กหญิงทัศติวัลย์ ประภาเคน เด็กชายสิทธิศักดิ์ ศรีพุทธา ด.ช.บุญญฤทธิ์ น่วมอนงค์ เด็กหญิงลัดดาวัลย์ สระสีสม เด็กหญิงชนกนันท์ ดอนไพรเณร เด็กชายอภิสิทธิ์ ธรรมวิเศษ

ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ

หน่วยงานที่มอบรางวัล/ปี การศึกษา เหรียญเงิน ระดับภาค / สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตอบปัญหาสุขภาพ ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ปีการศึกษา 2554 เหรียญเงิน ระดับภาค / สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตอบปัญหาสุขศึกษาและพล ประถมศึกษาระยอง เขต 1 ศึกษา ม.1-ม.3 ปีการศึกษา 2555 ได้เข้าร่วม /การแข่งขันตอบ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ปัญหาสุขภาพ ระดับภาค ประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 ปีการศึกษา 2556 เหรียญทองลาดับที่ 3 ระดับเขต/ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ตอบปัญหาสุขภาพ ระดับ ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ประถมศึกษา ปีการศึกษา 2554


10 ~1 ~

รางวัลเกียรติยศ ของสมาคมครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษา อาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี


~111~


~112~

รางวัลเหรียญเงิน ระดับระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 61 ปีการศึกษา 2554 ณ จังหวัดกาญจนบุรี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การแข่งขันตอบปัญหาสุขภาพ


~113~

งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 62 ประจาปีการศึกษา 2555 ระดับภาคกลางและภาคตะวั นออก ที่ 10-12 กิจกรรมแข่ งขันศิวัลนปหั ตถกรรมธันปีวาคม 25552555 ณ จังหวัดระยอง (ตอบปัญหาสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้น ม.1 – ม.3)


~114~ นักเรียนได้รับรางวัลงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 63 ประจาปีการศึกษา 2556 ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1 (ตอบปัญหาสุขศึกษาและพลศึกษาระดับชั้น ม.1-ม.3)


~115~


~1 ~ 16


~117~ บรรณานุกรม พจนา ทรัพย์สมาน. 2549. การจัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนแสวงหาและค้นพบความรู้ ด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมชาย ศิริทอง , ครู คศ.1 ,โรงเรียนวัดปากบ่อ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร,กระบวนการเรียนรู้แบบ Discovery Learning Process[ออนไลน์]เข้าถึงเมื่อ 27 เมษายน 2557 (https://www.gotoknow.org/posts/255989)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.