วิธีปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศ (BEST PRACTICES)โรงเรี ยนวัดถ ้ำมังกรทอง
1. ชื่อผลงาน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) ด้าน วิชาการ 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา 2.1 ชื่อผู้พัฒนา นางสาวเพ็ญพิมล บุญรักษาทรัพย์ 2.2 โรงเรียน วัดถ้ามังกรทอง ต้าบลเกาะส้าโรง อ้าเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 71000 2.3 โทรศัพท์ 081-9133803 e-mail wimonpan99@gmail.com 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา 3.1 วัตถุประสงค์ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ป.6 (O-NET) ในการพัฒนาต่อยอดในปี การศึกษา 2558 3.2 กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชันประถมศึกษาปีที่ 6 จ้านวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 100 4. ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2557 – ปีการศึกษา 2558 5. ความสัมพันธ์ระหว่างวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศกับเป้าหมายและจุดเน้นของสถานศึกษา โรงเรียนวัดถ้ามังกรทอง เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก จัดการเรียนการสอนตังแต่ ชันอนุบาล1 ถึงชันประถมศึกษาปีที่ 6 มีนักเรียนรวมทังสิน 48 คน ครู 4 คน ผู้บริหาร 1 คน เขตพืนที่บริการคือ บ้านถ้ามังกรทอง หมู่ 7 จากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขันพืนฐาน (O-NET) ชัน ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 พบว่า โรงเรียนวัดถ้ามังกรทอง มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับเขต พืนที่การศึกษา ทัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และสูงกว่าระดับประเทศ 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้มีกลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ที่ยังมีคะแนนเฉลี่ยต่้ากว่าระดับประเทศแต่สูงกว่า ระดั บ เขตพื นที่ ซึ่ ง ผลดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ท้ า ให้ ไ ม่ เ ป็ น ที่ พึ ง พอใจของคณะครู ผู้ ป กครองและ คณะกรรมการสถานศึ ก ษาขันพื นฐานเป็น อย่า งยิ่ง ดั งนั นคณะครู ผู้ ป กครองและคณะกรรมการ สถานศึกษาขันพืนฐานจึงร่วมกันจัดท้าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน (O-NET) ขึนเพื่อใช้เป็นแนวทางในการเตรียมการและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความพร้อมรับ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ( O-NET) ในปีการศึกษาต่อไปและมีผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึนและพัฒนา ต่อยอดในปีการศึกษา2557ที่ผ่านมา 6. ทฤษฎีที่น้ามาใช้ เนื่องจากส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐานได้มีการประเมินคุณภาพการศึกษาขัน พืนฐานระดับชันประถมศึกษาปีที่ 6 (O-NET) เป็นประจ้าทุกปี โรงเรียนวัดถ้ามังกรทองจึงประสาน
ความร่วมมือครู ผู้ปกครอง และนักเรียน ในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาของนักเรียนโดยใช้ หลักการจัดการคุณภาพตามกระบวนการ PDCA เป็นตัวขับเคลื่อน ดังนี ประชุมครู รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล/คัดกรองนักเรียน
P
วิเคราะห์หลักสูตรและแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ออกแบบเครื่องมือหรือนวัตกรรม
D
สร้างเครื่องมือเพื่อใช้ในการพัฒนา ด้าเนินการจัดกิจกรรมตามเครื่องมือที่สร้าง
กิจกรรมเติมการสอนให้เข้มแข็ง
กิจกรรมเสริมวิชาการให้เข้มข้น
นิเทศ ก้ากับ ติดตาม รายงานผลการด้าเนินงาน
C
ทุกสินเดือน สรุปผล/รายงานผล/ประเมินผล และน้าผลการประเมิน มาปรับปรุงพัฒนาต่อไป
A
7. กระบวนการพัฒนา กระบวนการท้างานเชิงระบบโดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) ขั้นตอนการพัฒนา 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1.1 ประชุมครูเพื่อสร้างความตระหนักถึงความส้าคัญของการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1.2 แต่งตังคณะกรรมการด้าเนินงาน 1.3 รู้จักนักเรียนรายบุคคลและคัดกรองนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้และคิดวิเคราะห์ไม่เป็น กลุ่มอ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่องและคิดวิเคราะห์ไม่เป็น และกลุ่ม อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดวิเคราะห์เป็น 1.4 ศึกษาหลักสูตรและแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ดังนี 1) ทฤษฎีการสอนของกาเย่ ซึ่งมีแนวคิดว่าการเรียนรู้มีล้าดับขันและผู้เรียน จะต้องเรียนรู้เนือหาจากง่ายไปหายาก 2) แนวคิดของบลูม ซึ่งกล่าวถึงธรรมชาติของผู้เรียนแต่ละคนว่ามีความแตกต่าง กัน ผู้เรียนจะสามารถเรียนเนือหาในหน่วยย่อยต่างๆ ได้ โดยใช้เวลาเรียนที่แตกต่างกัน 3) ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเนอร์ บุคคลเรียนรู้ด้วยการกระท้า โดยมีตัว เสริมแรงเป็นตัวการ 4) ทฤษฎีลองผิดลองถูกของธอร์นไดด์ สรุปเกณฑ์การเรียนรู้คือ - กฎความพร้อม หมายถึง การเรียนรู้จะเกิดขึนเมื่อบุคคลพร้อมที่จะท้า - กฎผลที่ได้รับ หมายถึง การเรียนรู้จะเกิดขึน เพราะบุคคลกระท้าซ้า และ ยิ่งท้ามากความช้านาญจะเกิดขึนได้ง่าย 5) ออกแบบวิธีการหรือนวัตกรรม 2. ดาเนินการตามแผน (Do) 2.1 สร้างเครื่องมือหรือนวัตกรรมที่ออกแบบไว้ 2.2 ด้าเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาตามเครื่องมือที่สร้าง ดังนี 2.2.1 กิจกรรมเติมการสอนให้เข้มข้น เป็นกิจกรรมการเรียนการสอนทัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ในเวลาเรียนปกติ แต่จะมี การวิเคราะห์และคัดกรองผู้เรียนเป็นกลุ่มๆโดยแต่ละ กลุ่ มจะใช้เทคนิควิธี สื่ อการสอนและแรงจูงใจที่แตกต่างกัน ตลอดจนมีการเพิ่มความเข้มข้นใน เนือหาวิชาที่เรียนมากยิ่งขึนและจะมีกระบวนการพัฒนาอย่างเป็นระบบและขันตอนจากง่ายไปหายาก (สอดคล้องกับทฤษฎีการสอนของกาเย่) โดยมีรายละเอียดการด้าเนินกิจกรรมดังนี 1) ด้าเนินการคัดกรองนักเรียน และจัดกลุ่มนักเรียนตามระดับ ความสามารถ ในการเรียนรู้(สอดคล้องกับแนวคิดของบลูม) 2) เลือกเทคนิคและวิธีสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ ตลอดจนสื่อ เครื่องมือ วัดและประเมินผล
ให้เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของผู้เรียน โดยค้านึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคลเป็นส้าคัญ(สอดคล้องกับแนวคิดของบลูม) 3) จัดท้าแนวทางการพัฒนาผู้เรียนหรือแผนการจัดการเรียนรู้ และจัดหา สื่อ นวัตกรรม ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสม 4) ด้าเนินการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางการพัฒนาหรือแผนการจัดการ เรียนรู้และมีการเสริมแรงโดยการชมเชยผู้ที่เรียนรู้ได้ดีและคอยให้ก้าลังใจคนที่เรียนรู้ช้ากว่าคนอื่น (สอดคล้องกับทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเนอร์) 5) ด้าเนินการวัดผลและประเมินผลทุกระยะ เพื่อเป็นข้อมูลในการ พัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนรายบุคคลต่อไป 2.2.2 กิจกรรมเติมวิชาการให้เข้มแข็ง โดยด้าเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เสริมให้นักเรียนทังในและนอกเวลาเรียนตามที่โรงเรียนก้าหนดเป็นจุดเน้นหรือด้าเนินการเป็นปกติอยู่ แล้ว เช่น กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมสอนซ่อมเสริม กิจกรรมติวเตอร์ กิจกรรมน้าเสนอ ค้าศัพท์ กิจกรรมท่องอาขยาน กิจกรรมท่องสูตรคูณ กิจกรรมเขียนเรื่องจากภาพ กิจกรรมเขียน เรียงความ เป็นต้น ซึ่งกิจกรรมเหล่านีจะด้าเนินการซ้าๆ บ่อยๆเพื่อให้เกิดความช้านาญ (สอดคล้องกับ กฎผลที่ได้รับของธอร์นไดด์) 3. การตรวจสอบ (Check) 3.1 ผู้บริหารนิเทศ ก้ากับ ติดตามอย่างจริงจังและต่อเนื่อง 3.2 ให้ครูชันประถมศึกษาปีที่ 6 รายงานผลการด้าเนินงานทุกสินเดือน 3.3 ส้ารวจความพึงพอใจของครู ผู้ปกครอง และนักเรียน 4. การรายงานผลเพื่อปรับปรุงพัฒนา (Action) 4.1 ครูวิชาการสรุปรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ของนักเรียนชันประถมศึกษาปีที่ 6 ให้ผู้บริหารทราบ 4.2 น้าผลการประเมินมาวิเคราะห์ร่วมกัน เพื่อที่จะได้น้าไปเป็นข้อมูลในการ วางแผนพัฒนาให้ดียิ่งขึนต่อไป 8. ผลการดาเนินงาน 8.1 ผู้ปกครองและนักเรียน มีความพึงพอใจต่อการด้าเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET ) 8.2 ปัจจัยความส้าเร็จของการพัฒนา 1) ครูให้ความร่วมมือในการด้าเนินงานอย่างเต็มศักยภาพและมีความต่อเนื่องใน การด้าเนินงาน 2) ผู้บริหารให้ความส้าคัญและก้ากับ ติดตามอย่างต่อเนื่อง 3) ผู้ปกครองให้ความส้าคัญและมีเวลาให้กับบุตรหลาน 4) นักเรียนให้ความส้าคัญและตังใจเรียน 5) มีกระบวนการท้างานที่เป็นระบบ PDCA.
9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ให้เกิดผลต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า (บทเรียนที่ได้รับ) การท้างานที่เป็นระบบและความทุ่มเทเอาใจใส่ของคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน เป็นปัจจัยส้าคัญที่ท้าให้การด้าเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้ 9.2 ผลการตรวจสอบเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง (ข้อเสนอแนะ) ในการพั ฒ นาคุ ณ ภาพนั ก เรี ย นเพื่ อ ยกระดั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นโดยผ่ า น กิจกรรมการเรียนรู้ ต้องค้านึงถึงองค์ประกอบของการจัดการความรู้ได้แก่ บุคลากรครู ผู้ปกครอง นั ก เรี ย น สื่ อ เทคโนโลยี และกระบวนการเรี ย นรู้ เพื่ อ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาวิ ธี ก ารท้ า งานที่ มี ประสิทธิภาพ 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จและการเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ 10.1 การเผยแพร่ โรงเรียนได้ด้าเนินการเผยแพร่ทังในโรงเรียน โดยแจ้งให้คณะครูและ นักเรียนทราบตอนท้า กิจกรรมหน้าเสาธง และเผยแพร่นอกโรงเรียนโดยการแจ้งให้ผู้ปกครองและ คณะกรรมการสถานศึกษา ขันพืนฐานรับทราบโดยการประชุม ตลอดจนการเผยแพร่ทางเว็ปไซด์ ของ โรงเรียน 10.2 การได้รับการยอมรับ 1) คณะครู ผู้ปกครอง นักเรียนและคณะกรรมการสถานศึกษาตลอดจนชุมชนมี ความพึงพอใจต่อการด้าเนินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) 2) ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขันพืนฐานระดับชันประถมศึกษาปีที่ 6 (O-NET) ปีการศึกษา 2557 สูงกว่าระดับสังกัด 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้และพัฒนาต่อยอดในปี การศึกษา 2558