วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ของ นายณัฐพล กาเนิดรัตน์ ตาแหน่ง ครู ค.ศ.๑ โรงเรียนอนุบาลด่านมะขามเตี้ย สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ กระทรวงศึกษาธิการ
ก
คานา สืบเนื่องจากแนวการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามหลักสูตร พุทธศักราช 25๕๑ ทีม่ ุ่งให้ ผูเ้ รียนมีความสามารถในการสื่อสารควบคู่กัน 2 ด้าน คือ ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อเข้าสู่สังคมและ วัฒนธรรม และความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อความได้ถูกต้องตามหลักภาษาและเหมาะสมกับ สถานการณ์ โดยยึดแนวหลักคือจัดการเรียนการสอนโดยเน้นการพัฒนาทักษะต่างๆ จัดการเรียนการสอน ภาคปฏิบัติ กิจกรรมที่มีความหมายและหลากหลาย ฝึกการสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ นั้น การพัฒนาการเรียนการสอนด้วยวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) โดยเน้นกระบวนการบริหาร จัดการชั้นเรียนโดยรูปแบบการเข้าค่ายภาษาอังกฤษแบบ CLT โดยมีการใช้สถานการณ์จริงในและนอก ห้องเรียน การใช้บทบาทสมมติ กิจกรรมโต้ตอบทางสรีระ (Total Physical Response) กิจกรรมคู่ กิจกรรม กลุ่ม เกมทางภาษา สถานการณ์จาลอง เป็นต้น โดยทุกกิจกรรมมุง่ ให้ผเู้ รียนได้เรียนอย่างสนุกสนาน เพลิดเพลิน และเหมาะสมกับสถานการณ์จริง ทั้งนี้ เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถใช้ภาษาในสถานการณ์จริงรูปแบบต่างๆ เพื่อการสื่อสารรูปแบบต่างๆ ได้คล่องแคล่วขึ้น เอกสารฉบับนี้จงึ จัดทาขึน้ เพื่อประกอบการศึกษาแนววิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านการ ใช้กิจกรรมการบริหารจัดการชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอน ของกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ หากมีข้อบกพร่องหรือผิดพลาดประการใดต้องกราบขออภัยไว้ ณ ที่น้ี
(ณัฐพล กาเนิดรัตน์) ครู ค.ศ.1 โรงเรียนอนุบาลด่านมะขามเตีย้
ข
สารบัญ -
ชื่อผลงาน ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา Best Practice เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ ระหว่าง Best Practice กับเป้าหมาย/จุดเน้น ของสพป./สพฐ./สถานศึกษา แนวคิด/หลักการและทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา Best Practice กระบวนการพัฒนา Best Practice ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา Best Practice กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง Best Practice ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จ การเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง ภาคผนวก
๑ ๑ ๑ ๑ ๒ ๓ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔
๑
๑. ชื่อผลงาน “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ภาษาต่างประเทศ ด้าน : บริหารจัดการชั้นเรียนยอดเยี่ยม
๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา Best Practice ๒.๑ ชื่อผูพ้ ัฒนา : นายณัฐพล กาเนิดรัตน์ ๒.๒ โรงเรียน : อนุบาลด่านมะขามเตีย้ เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาพ่อขุนด่าน ๒.๓ โทรศัพท์ : ๐๘๗-๑๖๑-๐๒๐๒ E-mail: myspareboxes@hotmail.com
๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice ๓.๑ เพื่อสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยกระบวนการค่าย CLT (Communicative Language Teaching) ๕ รูปแบบคือ Repetition / Rhythmic / Comprehensible input / Grouping / Challenging ในลักษณะกิจกรรมเดี่ยว กิจกรรมคู่ กิจกรรมกลุ่มย่อยและกิจกรรมกลุ่ม ๓.๒ เพื่อเป็นการสร้างบรรยากาศให้นักเรียนมีความรู้สึกผ่อนคลายร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดให้ด้วยความ สนุกสนานเป็นการเสริมความมั่นใจ ความกล้าแสดงออกทางภาษาอย่างเต็มที่ไม่มีความรู้สึกของการเรียน ในกรอบของห้องเรียน ๓.๓ เพื่อเสริมสร้างเจตคติที่ดตี ่อการเรียนภาษาต่างประเทศ
๔. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice ขั้นตอนการพัฒนา ๑.วางแผนการปฏิบัติงาน โดยศึกษาข้อมูลจาก แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ๒.ประชุม / ออกแบบ คู่มือกิจกรรม CLT ๕ รูปแบบ ๓.ผลิตสื่อ-คู่มอื ค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ ๔.ดาเนินกิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ ๕.ปรับปรุงพัฒนางาน สรุปงานนาเสนอ
วัน/เดือน/ปี ที่ดาเนินงาน เมษายน - พฤษภาคม ๒๕๕๗ มิถุนายน ๒๕๕๗ มิถุนายน ๒๕๕๗ กรกฎาคม – สิงหาคม ๒๕๕๗ กันยายน – ตุลาคม ๒๕๕๗
วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
๒
๕. ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ ระหว่าง Best Practice กับเป้าหมาย/จุดเน้น ของสพป./ สพฐ./สถานศึกษา ระดับกระทรวงศึกษาธิการ/สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน/ สถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้มปี ระกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษ เมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยเร่งปฏิรูปการเรียนรูท้ ั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างเสริม สมรรถนะและทักษะการใช้ภาษาอังกฤษให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและใช้เป็น เครื่องมือในการแสวงหาองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาตนอันจะนาไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ และการเตรียมความพร้อมรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานขึ้น เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ตระหนักถึงความจาเป็นที่จะต้องเร่งรัด ปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและพัฒนาผู้เรียนให้มสี มรรถนะและทักษะตามที่กาหนดโดยเร็ว สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้เร่งดาเนินการเพื่อสนองนโยบายดังกล่าว โดยกาหนดแนว ปฏิบัติในการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามนโยบายในแต่ละด้าน เพื่อให้หน่วยงานในสังกัด ทั้ง หน่วยงานในส่วน กลาง ที่รับผิดชอบดาเนินการ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา และสถานศึกษานาไป ดาเนินการให้บรรลุเป้าหมาย ดังนี้ ๑. ใช้กรอบอ้างอิงความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล ได้แก่ The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) เป็นกรอบความคิดหลักในการจัดการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษของประเทศไทย ๒. ปรับจุดเน้นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามธรรมชาติของการเรียนรูภ้ าษา โดยเน้นการสื่อสาร (Communicative Language Teaching: CLT) ๓. ส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มมี าตรฐานตามกรอบมาตรฐานหลัก ๔. ส่งเสริมการยกระดับความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ๕. ยกระดับความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูให้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรูท้ ี่ เน้นการสื่อสาร (CLT) และเป็นไปตามกรอบความคิดหลัก CEFR ๖. ส่งเสริมให้มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาเป็นเครื่องมือสาคัญในการช่วย พัฒนาความสามารถทางภาษาของครูและผูเ้ รียน
วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
๓
๖. แนวคิด/หลักการและทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา Best Practice ๖.๑ แนวคิดและหลักการจัดการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระดับประถมศึกษา ในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศจะต้องเริ่มตั้งแต่ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนตามลาดับ แต่ไม่ได้หมายความว่าจะแยกสอนแต่ละทักษะก่อนหลังตามลาดับ แต่เป็นการสอนแบบ ผสมผสานทั้งสี่ทักษะ เพียงแต่การจัดกิจกรรมนั้นควรจะต้องให้ผเู้ รียนได้สัมผัสกับเนือ้ หาทางภาษาที่ จะสอนด้วยการฟังก่อนจึงให้พูด แล้วตามด้วยการอ่านและการเขียน ดังนัน้ ในการเรียนการสอนใน ครั้งหนึ่งๆ ผูเ้ รียนจะได้ฝึกครบทั้งสี่ทักษะโดยไม่สามารถกาหนดอัตราส่วนของการฝึกทักษะต่างๆ อย่างแน่นอนตายตัวได้ อย่างไรก็ตาม ทักษะที่จะต้องฝึกควบคู่กันไปเสมอก็คือ ทักษะการฟัง-พูด ซึ่ง ถือว่าเป็น Oral communication ทักษะการฟัง-พูดนี้เป็นทักษะเบือ้ งต้นในการเรียนรู้ภาษา แต่เป็น ทักษะที่ยากที่จะฝึกในภาพการเรียนการสอนในห้องเรียน 1. หลักการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ระดับประถมศึกษา หลักการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารที่ใช้เป็นกรอบของการพัฒนา BP สรุปได้ดังนี้ 1.1 หลักการ Repetition หมายถึงการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมที่มลี ักษณะของการซ้า จะทาให้ผเู้ รียนสามารถเรียนรูไ้ ด้ดเี นื่องจากการทาซ้าย้าทวนช่วยให้เกิดการจาได้และสามารถถ่ายโอน จากความรู้เดิมไปช่วยในการฝึกเพื่อให้เกิดการเรียนรูค้ วามรู้ใหม่ได้ เช่น ตัวอย่าง I love the dog. I love the frog. I love the log. 1.2 หลักการ Rhythm (Rhythmic) หมายถึงการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมประกอบ จังหวะ จะทาให้ผเู้ รียนรู้สกึ สนุกสนานในการเรียนรู้กับประโยคหรือกิจกรรมที่ผสู้ อนทาให้เกิด ท่วงทานอง มากกว่าการเรียนรู้กับประโยคหรือกิจกรรมเดียวกันแต่เป็นธรรมดาไม่มีทานองมาเป็นสิ่ง เร้าให้เกิดความสนุกสนาน เช่น ครูผสู้ อนพูดประโยคประกอบการปรบมือดังนี้ I am in the wood. I see Robinhood sitting on his horse. จากนั้นให้นักเรียนเปลี่ยนคาที่ขดี เส้นใต้เป็นคาอื่นดังนี้ sleeping smiling standing eating kissing crying I am in the wood. I see Robinhood sleeping on his horse. I am in the wood. I see Robinhood smiling on his horse. I am in the wood. I see Robinhood standing on his horse. I am in the wood. I see Robinhood eating on his horse. I am in the wood. I see Robinhood kissing on his horse. วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
๔
1.3 หลักการ Comprehensible input หมายถึงการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมที่มงุ่ ให้ ผูเ้ รียนมีความเข้าใจในสิ่งที่กาลังเรียนรู้หรือกาลังฝึก โดยผู้สอนต้องใช้สื่อประกอบหลายๆรูปแบบ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจแล้วจึงฝึกตามที่ผสู้ อนจัดเตรียมให้อย่างมีความหมาย 1.4 หลักการ Grouping หมายถึงการจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมที่เตรียมไว้เป็นหมวดหมู่ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรูเ้ นือ้ หาที่เป็นกลุ่มประสบการณ์ ไม่สับสน เช่น ครั้งนีเ้ ป็นการเรียนเกี่ยวกับ คาศัพท์หมวดอาหาร ดังนัน้ โครงสร้างประโยคและกิจกรรมการฝึกก็ควรจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับอาหาร ไม่ควรสลับไปสลับมากับคาศัพท์ในหมวดอื่นๆ ซึ่งจะก่อให้เกิดความสับสนแก่ผู้เรียน 1.5 หลักการ Challenging หมายถึงการจัดการเรียนรู้ดว้ ยกิจกรรมที่ท้าทาย เพื่อเป็นสิ่งเร้า ให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นอยากที่จะฝึกภาษา นอกจากนั้นกิจกรรมที่มีลักษณะท้าทายผู้เรียน หรือเป็นตัวกระตุ้นผู้เรียนแล้วยังก่อให้เกิดความสนุกสนานในการฝึกภาษาในชั้นเรียนอีกกด้วย ตัวอย่างเช่นการสอนคาศัพท์หรือการนาเข้าสู่บทเรียนอาจทาได้โดยการค่อยๆเปิดภาพให้ผเู้ รียนเห็นที ละนิดแล้วให้ทายว่าในภาพนั้นคืออะไร ซึ่งกิจกรรมนี้ผู้เรียนจะตื่นเต้นอยากเป็นผูท้ ี่ทายถูกจึงต้อง พยายามถามคาถามครูผสู้ อน นั่นก็คือผู้เรียนได้พยายามสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษอย่างเป็นธรรมชาติ นั่นเอง 2. ลักษณะกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษที่ดี 2.1 เป็นกิจกรรมที่มีความท้าทาย เร้าความสนใจให้ผู้เรียนอยากร่วมกิจกรรม 2.2 เป็นกิจกรรมที่มีลักษณะน่าสนใจ กิจกรรมสามารถทาให้ผู้เรียนรู้สึกกระฉับกระเฉง กระตือรือร้นตลอดการร่วมกิจกรรม 2.3 เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เกิดการใช้ภาษาในการสื่อสารตามเนือ้ หาที่เรียนในขณะนั้นได้ 2.4 เป็นกิจกรรมที่ครูผสู้ อนสามารถเตรียมและดาเนินกิจกรรมในห้องเรียนได้ง่ายและอยู่ใน ความสามารถที่ครูผสู้ อนสามารถจัดหาและบริหารจัดการได้ 2.5 เป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ทางภาษาจริงๆ ไม่ใช่เป็นกิจกรรมที่จัดเพื่อความ สนุกสนานเท่านั้นแต่ไม่ได้ฝึกภาษาตามเนือ้ หาในการจัดการเรียนรู้ในครั้งนั้นเลย
วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
๕
๖. แนวคิด/หลักการและทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา Best Practice (ต่อ) ๖.๒ การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การสอนภาษาตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร เป็นการจัดการเรียนการสอน ตาม ทฤษฎีการเรียนรู้ซึ่งเน้นความสาคัญของตัวผูเ้ รียน จัดลาดับการเรียนรูเ้ ป็นขั้นตอนตามกระบวน การ ใช้ความคิดของผู้เรียน โดยเริ่มจากการฟังไปสู่การพูด การอ่าน การจับใจความสาคัญ ทาความเข้าใจ จดจาแล้วนาสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ สุมิตรา อังวัฒนกุล (2540) กล่าวว่า การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารมุง่ เน้นที่ การพัฒนาความสามารถของผู้เรียนในการใช้ภาษา (Use) ตามความมุง่ หมายในสถานการณ์ต่างๆ และแม้จะให้ความสาคัญแก่ความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา (Fluency) แต่ก็ไม่ได้ละเลยเรื่องความ ถูกต้องของภาษา (Accuracy) แต่อย่างใด ประเภทของกิจกรรมการสอนภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา จากแนวการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามหลักสูตร พุทธศักราช 25๕๑ มุ่งให้ผู้เรียน มีความสามารถในการสื่อสารควบคู่กัน 2 ด้าน คือ ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อเข้าสู่สังคมและ วัฒนธรรม และความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อความได้ถูกต้องตามหลักภาษาและเหมาะสม กับสถานการณ์ โดยยึดแนวหลักคือจัดการเรียนการสอนโดยเน้นการพัฒนาทักษะต่างๆ จัดการเรียน การสอนภาคปฏิบัติ กิจกรรมที่มีความหมายและหลากหลาย ฝึกการสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาในสถานการณ์จริง ซึ่งหลักสูตรได้เสนอแนะแนวการจัดกิจกรรมในการ เรียนการสอนไว้มากมาย เช่น การใช้สถานการณ์จริงในห้องเรียน การใช้บทบาทสมมติ กิจกรรม โต้ตอบทางสรีระ (Total Physical Response) กิจกรรมคู่ กิจกรรมกลุ่ม เกมทางภาษา สถานการณ์ จาลอง ซึ่งพอสรุปได้ว่าเป็นกิจกรรมประเภทเกม การแสดงบทบาทสมมติ และเพลงตลอดจนกิจกรรม เข้าจังหวะ โดยทุกกิจกรรมมุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนอย่างสนุกสนานเพลิดเพลิน และเหมาะสมกับ สถานการณ์จริง ดังนัน้ ผู้สอนจึงจาเป็นต้องมีความรู้และเข้าในเกี่ยวกับกิจกรรมดังกล่าวนั้น เพื่อการ เรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร จะได้บรรลุตามแนวการจัดการสอนตามหลักสูตร 1. เกมกับการสอนภาษาอังกฤษ เกม หมายถึง การเล่น หรือการแข่งขัน เป็นกิจกรรมที่มีกฎเกณฑ์ กติกา และวิธีการเล่น ตลอดจนลักษณะการสิน้ สุดของเกม การเล่นอาจเป็นการเล่นรายบุคคล ซึ่งเป็นการแข่งขันกับตนเอง หรือเล่นเป็นกลุ่ม บทบาทของเกมในการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารดังนี้ 1.1 เกมช่วยพัฒนามโนมติทางภาษาอังกฤษ ผูเ้ รียนในระดับประถมศึกษานั้นจะพัฒนามโน มติที่เป็นสถานการณ์ที่เป็นรูปธรรมซึ่งเกมถือว่าเป็นสื่อที่เป็นรูปธรรมได้ดี และสามารถพัฒนาแนวคิด ในลักษณะรูปธรรมได้ วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
๖
1.2 เกมเป็นกิจกรรมการฝึกทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารที่มปี ระสิทธิภาพในบางครัง้ ผูส้ อนอาจจะให้เล่นเกมแทนการทาแบบฝึกหัดลงสมุด 1.3 เกมช่วยพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาและหาแนวทางในการสื่อสารเพื่อสื่อ ความหมายได้อย่างสนุกนานและผ่อนคลาย 1.4 เกมสามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลในเรื่องการเรียนรู้ ผูเ้ รียนบางคนอาจ เรียนรู้ได้เร็ว บางคนเรียนรูไ้ ด้ช้า สาหรับผู้เรียนที่เรียนรู้เร็วเกมจะช่วยพัฒนาทั้ง 4 ทักษะทาง ภาษาอังกฤษได้ดขี ึน้ ส่วนผู้เรียนที่เรียนรู้ช้าเกมจะมีส่วนช่วยในการฝึกย้าซ้าทวนในส่วนที่ยังไม่เข้าใจ การใช้เกมเพื่อฝึกซ้าบ่อยๆ จะช่วยพัฒนาให้ผเู้ รียนมีความเข้าใจได้ดีข้ึน 1.5 เกมเป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่นา่ สนใจ เพื่อให้ผู้เรียนมีประการณ์ความรูใ้ นเนือ้ หา กว้างขวาง เช่น จัดโปรแกรมแข่งขันทายปัญหาภาษาอังกฤษเป็นต้น 1.6 เกมสามารถใช้เป็นกิจกรรมทดสอบวิชาภาษาอังกฤษได้ เช่น อาจเป็นการทดสอบความ เข้าใจของผูเ้ รียนในแต่ละชั่วโมง หรือบทเรียนได้ 1.7 เกมช่วยสร้างความสนใจ สนุกสนาน จูงใจ และทาให้ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ดีในวิชา ภาษาอังกฤษ 1.8 เกมช่วยสรุปบทเรียน หรือนาเข้าสู่บทเรียน 1.9 เกมเป็นกิจกรรมช่วยพัฒนากระบวนการทางสังคม เมื่อมีการเล่นเกมผู้เรียนมีโอกาสได้ แสดงความสามารถฝึกการทางานร่วมกับผูอ้ ื่น อันเป็นการเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ จะเห็นได้ว่าเกมมีบทบาทที่สาคัญต่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษอย่างมาก ฉะนั้นการนา เกมมาเป็นกิจกรรมในการเรียนการสอนย่อมจะช่วยให้ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึน้ การนาเกมมาเป็นกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษ จะช่วยให้ผเู้ รียนมีความ กระตือรือร้นที่จะเรียน และมีความเข้าใจมโนมติและทักษะได้ดขี นึ้ ฉะนั้น ผูส้ อนควรจะเลือกเกมให้ เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน เกมบางเกมอาจมีรูปแบบและวิธีการเล่นแบบเดียวกัน แต่ผสู้ อน สามารถดัดแปลงเพื่อฝึกทักษะหรือเนือ้ หาอื่นๆ ได้ เช่น เกมโดมิโน อาจใช้ฝึกทักษะเรื่องคานามที่นับ ได้และนับไม่ได้ หรือใช้ฝึกคากริยา หรือคาคุณศัพท์บ้างก็ได้ เป็นต้น 2. เพลงและกิจกรรมเข้าจังหวะ ในบางครัง้ ผูส้ อนมีความจาเป็นต้องการหาเพลงมาประกอบการสอนภาษาอังกฤษไม่ว่าจะเป็น ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน หรือแม้กระทั่งการเขียน บางครัง้ อาจจะตรงกับเนือ้ หาหรือจุดประสงค์ ของเนื้อหา แต่บางครั้งก็อาจจะไม่ตรง ซึ่งผูส้ อนก็อาจจะแต่งเพลงขึ้นเองก็ได้ โดยใช้ทานองเพลงที่มี อยู่แล้วหรือเป็นทานองเพลงที่ผู้เรียนคุ้นเคยอยู่แล้วก็ได้ แต่ควรคานึงถึงหลักเกณฑ์ของการเลือกเพลง หรือกิจกรรมเข้าจังหวะ สาหรับสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในระดับประถมศึกษาดังนี้
วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
๗
หลักเกณฑ์สาหรับเลือกเพลง หรือกิจกรรมเข้าจังหวะสาหรับสอนภาษาเพื่อการสื่อสารดังนี้ 1. ควรเป็นเพลงที่มเี นือ้ เรื่องสั้นๆ ประมาณ 2 วรรค ถึง 4 วรรค 2. เนือ้ เพลงควรมีความหมายที่เกี่ยวข้องกับสิ่งรอบๆ ตัวผูเ้ รียนที่ผู้เรียนที่คุ้นเคยและเข้า ใจ 3. เนือ้ เพลงควรมีสาระให้ความรู้แก่ผเู้ รียน 4. ไม่ใช้ถ้อยคาที่ยากเกินไป และผูส้ อนควรอธิบายความหมายของคาศัพท์ต่างๆ ให้ผเู้ รียนฟัง ด้วย__ 5. ถ้าเป็นเพลงที่แต่งเอง ทานองที่ใช้ควรเป็นทานองที่ง่าย สนุกสนาน หรือทานองที่ผู้เรียน คุ้นเคยอาจเป็นทานองเพลงโฆษณาในวิทยุ โทรทัศน์ หรือเพลงที่กาลังเป็นที่นิยม 6. จังหวะของเพลงไม่เร็วหรือช้าเกินไปเกินความสามารถของเด็กในการที่จะร้องเนื้อร้องให้ ทัน 7. ควรเลือกเนือ้ เพลงประเภทสัตว์ต่างๆ เพราะธรรมชาติของผูเ้ รียนระดับประถมจะรักและ ชอบสัตว์มาก และต้องเป็นสัตว์ที่ผเู้ รียนรู้จักหรือคุ้นเคยจนสามารถจินตนาการเนื้อเพลงได้ 8. ถ้าใช้สื่อการสอนประกอบจะดีตอ่ การพัฒนาทักษะการพูดและการฟังของผูเ้ รียนโดย เฉพาะที่มผี ู้ผลิตขายตามท้องตลาด ผูเ้ รียนจะสนุกกับดนตรี ได้เรียนพูด และฟังจากเจ้าของภาษาจริงๆ 3. Total Physical Response Activities (TPR) หรือกิจกรรมโต้ตอบทางสรีระ กิจกรรม TPR เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมอย่างยิ่งกับผูเ้ รียนทุกระดับชั้น โดยเฉพาะระดับ เริ่มต้นเรียน เพราะกิจกรรม TPR จะช่วยให้ผเู้ รียนสามารถเข้าใจเนื้อหาภาษาอังกฤษ โดยผ่านการใช้ ท่าทางประกอบผูเ้ รียนจะสนุกสนานและก่อให้เกิดความมั่นใจในการใช้และสะสมคาศัพท์ให้เพิ่มพูน ยิ่งขึ้น ผูส้ อนควรนากิจกรรม TPR นีไ้ ปใช้วันละประมาณ 5 - 10 นาที หรือมากกว่านีใ้ นห้องเรียน ภาษาอังกฤษ เพื่อพัฒนาทักษะการฟังและแสดงพฤติกรรมตอบสนองตามความเข้าใจของผูเ้ รียนเอง อาจจะใช้ในช่วงต้นของชั่วโมงเรียน หรือช่วงท้ายของชั่วโมงเรียนก็จะเป็นการดี ผูส้ อนจะต้อง ประหลาดใจเมื่อพบว่าผูเ้ รียนสามารถเข้าใจและจาคาศัพท์ หรือประโยคต่างๆ ได้เร็วกว่าการสอนแบบ ธรรมดา จุดประสงค์ในการใช้กิจกรรม TPR 1. เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง (Listening Skill) 2. เพื่อพัฒนาความเข้าใจในคาศัพท์ภาษาอังกฤษ 3. เพื่อเรียนรู้รูปแบบของวลีและประโยคง่ายๆ ที่เกี่ยวข้องและใช้บ่อยๆ ในชีวติ ประจาวันของ ผูเ้ รียน 4. เพื่อการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษอย่างสนุกสนาน และท้าทาย 5. เพื่อได้ออกกาลังกายที่เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รียน
วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
๘
4. ACTION ACTIVITIES เป็นกิจกรรมที่ผเู้ รียนได้แสดงท่าทางประกอบกับการพูดภาษาอังกฤษ หรือกิจกรรมเข้าจังหวะ หรือคาคล้องจองภาษาอังกฤษ ดังตัวอย่างเช่น 4.1 WHERE IS THUMBKIN ผู้เรียน นักเรียน ป. ๔ จุดประสงค์ 1. เพื่อความสนุกสนานกับกิจกรรมเข้าจังหวะของภาษาอังกฤษ 2. เพื่อฝึกโครงสร้างของบทสนทนา ดังนี้ Where is …………….? How are you ? Very well, thank you. การนาเสนอบทเรียน 1. Where is Thumbkin? (เอามือซ่อนไว้ข้างหลังทั้งสองข้าง) Where is Thumbkin ? Here I am. (ยื่นมือซ้ายออกมาโดยโชว์น้วิ หัวแม่มอื ส่วนนิ้วอื่นๆ กาไว้) Here I am. (ทาเช่นเดียวกันกับมือขวา) How are you today, sir? (ขยับนิว้ หัวแม่มอื ข้างซ้ายขึ้นลงเหมือนกาลังพูดกับนิว้ หัวแม่มือข้างขวา) Very well, I thank you. (ทาเช่นเดียวกันกับมือขวา และให้มอื ซ้ายเป็นเหมือนคนตอบ) Run away. (ดึงมือซ้ายกลับไปซ่อนข้างหลังดังเดิม) Run away. (ดึงมือขวากลับไปซ่อนไว้ข้างหลังเช่นกัน) 2. ทาท่าทางเช่นเดียวกับนิว้ อื่นๆ อีก ดังนี้ - Where is Pointer ? (ใช้น้วิ ชีแ้ สดงกิจกรรมแทน) - Where is Tall Man ? (ใช้น้วิ กลาง) - Where is Ring Man ? (ใช้น้วิ นาง) - Where is Pinkie? (ใช้น้วิ ก้อย)
วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
๙
5. A RHYME TO LEARN ตัวอย่าง : กิจกรรมเพื่อฝึกภาษาพูดและ อ่าน A RHYME ของผู้เรียน
สรุป การจัดการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารมุ่งเน้นความสามารถในการสื่อสาร 2 ด้าน คือ ความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อเข้าสู่สังคมและวัฒนธรรม และความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อการ สื่อความได้ถูกต้องตามหลักภาษาและเหมาะสมกับสถานการณ์ โดยยึดแนวหลักคือจัดการเรียนการ สอนโดยเน้นการพัฒนาทักษะต่างๆ จัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ กิจกรรมที่มีความหมายและ หลากหลาย ฝึกการสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาในสถานการณ์จริง
วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
๑๐
๗. กระบวนการพัฒนา Best Practice ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา Best Practice ไปใช้ นักเรียนที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับชั้น ป. ๔- ๖ ของกลุ่มโรงเรียนในเครือข่ายพ่อขุนด่าน, กลอนโด และ จระเข้เผือก อ.ด่านมะขามเตีย้ จ.กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ จานวน ๑๕๐ คน/ค่าย โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มประชากรแบบโควต้า ( Quota sampling ) ตาม สัดส่วนจานวนนักเรียนของแต่ละโรงเรียนในเครือข่ายพ่อขุนด่าน, กลอนโด และ จระเข้เผือก อ.ด่านมะขาม เตี้ย จ.กาญจนบุรี ตามฐานข้อมูลนักเรียน DMC รอบ ๑๐ พ.ย. ๒๕๕๖ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑
๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา Best Practice 1. ศึกษาปัญหาของการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2. ศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 3. ศึกษาทฤษฏีของการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สาหรับเด็กประถมศึกษา
1. เชิญวิทยากรภาษาอังกฤษจาก โรงเรียน ในกลุ่ม สพป.กจ. ๑ มารับทราบแนวทาง CLT ๕ รูปแบบ 2. คณะวิทยากรร่วมออกแบบชุดฝึกกิจกรรม CLT: Repetition / Rhythmic / Comprehensible input / Grouping / Challenging อย่างละ ๓ – ๕ กิจกรรม
1. จัดค่ายเสริมสร้างทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ โดย ใช้ ชุดฝึกกิจกรรม CLT๕ รูปแบบ ที่ผ่านการ ปรับ/เพิ่ม/ลด กิจกรรม จาก Pilot class เรียบร้อยแล้ว 2. ผู้ดาเนินกิจกรรม CLT๕ รูปแบบ ทา Post-check และ Final Decision Making อีกครัง้ เพื่อปรับ ชุดฝึกกิจกรรม CLT๕ รูปแบบให้ มีเนื้อหากระชับเหมาะกับผู้เรียนแต่ละ ค่ายมากขึ้น เพื่อให้การใช้ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารสอดคล้องตามกระบวนการ CLT มากที่สุด
1. นาชุดฝึกกิจกรรม CLT: Repetition / Rhythmic / Comprehensible input / Grouping / Challenging มา ทดลองใช้กับนักเรียน Pilot class ชัน้ ป.๔ – ๖ โรงเรียน อนุบาลด่านมะขามเตีย้ 2. ประเมินกิจกรรม CLT๕ รูปแบบ โดยละเอียด โดยตัด กิจกรรมที่มีคา่ ความพึงพอใจน้อยกว่า/เท่ากับ ๒ ออก ๓. ปรับ/เพิ่ม/ลด กิจกรรม CLT๕ รูปแบบ อีกครัง้ ก่อน นามาใช้กับค่ายเสริมสร้างทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ
๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ Best Practice
- นาชุดฝึกกิจกรรมมาทดลองใช้กับนักเรียน Pilot class ชั้น ป.๔ – ๖ โรงเรียนอนุบาลด่านมะขามเตีย้ - ใช้กระบวนการประเมินกิจกรรม CLT ๕ รูปแบบ แบบละเอียด โดยให้นักเรียน Pilot class ชั้น ป.๔ – ๖ โรงเรียนอนุบาลด่านมะขามเตีย้ ผูเ้ ข้ารับการฝึกกิจกรรม CLT เป็นผู้ประเมิน เพราะถือว่านักเรียนคือผูท้ ี่ จะต้องใช้ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษที่จะได้จากการฝึกตามหลักการ ๕ แบบโดยตรง ดังนั้นกรรมใดๆ ใน ๕ หลักการ ที่มคี ่าความพึงพอใจรวมเฉลี่ย วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
๑๑
น้อยกว่าหรือเท่ากับสอง กิจกรรมนัน้ ๆจะถูกตัดออก เพราะถือว่าไม่ตอบโจทย์ของการฝึกการใช้ทักษะ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
๗.๔ แนวทางการนา Best Practice ไปใช้ประโยชน์ ๗.๔.๑ ใช้แนวทาง CLT เป็นแนวทางในการจัดค่ายภาษาอังกฤษทุกครัง้ เพื่อกระตุ้น และเสริมสร้างการมีสว่ นร่วมในการแสดงออกซึ่งทักษะ-ความสามารถทางภาษาอังกฤษซึ่งมี ความจาเป็นต่อผู้เรียนในการเตรียมความพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียนในอนาคตนี้ ๗.๔.๑ ตัวกิจกรรม CLT ๕ รูปแบบ มีความยืดหยุ่นสามารถปรับบริบทเนื้อหา ทัง้ ๕ ส่วน นั้น ได้ตามศักยภาพของผู้เรียน โดยอยู่ในดุลพินจิ ของผู้/คณะดาเนินกิจกรรม ๘. ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา Best Practice ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนในระดับชั้น ป. ๔- ๖ ของกลุ่มโรงเรียนในเครือข่ายพ่อขุนด่านฯ, กลอนโด และ จระเข้เผือก อ.ด่านมะขามเตีย้ จ.กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ จานวน ๑๕๐ คน/ค่าย รวมเป็น ๔๕๐ คน ได้เข้าร่วมกิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ ร้อยละ ๑๐๐
๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ๘.๒.๑ นักเรียนมีทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยกระบวนการค่าย CLT(Communicative Language Teaching) ๕ รูปแบบคือ Repetition / Rhythmic / Comprehensible input / Grouping / Challenging ในลักษณะกิจกรรมเดี่ยว กิจกรรมคู่ กิจกรรมกลุ่มย่อยและกิจกรรมกลุ่ม ๘.๒.๓ ได้ชุดฝึกกิจกรรม CLT ๕ รูปแบบ ๘.๒.๓ นักเรียนมีความรู้สกึ ผ่อนคลายจาการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดให้ด้วยความ สนุกสนาน เป็นการเสริมความมั่นใจ ความกล้าแสดงออกทางภาษาอย่างเต็มที่ไม่มีความรูส้ ึกของการเรียนในกรอบ ของห้องเรียน ๘.๒.๔ นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาต่างประเทศ
๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ Best Practice ๘.๓.๑ นักเรียนชั้น ป.๔-๖ โรงเรียนในเครือข่ายพ่อขุนด่านฯ, กลอนโด และ จระเข้เผือก อ.ด่าน มะขามเตีย้ จ.กาญจนบุรี ที่เข้าร่วมกิจกรรมค่าย CLT มีความพึงพอใจต่อผลสาเร็จที่ได้รับ คิดเป็นร้อยละ ๙๕ โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจการจัดค่าย CLT ๘.๓.๒ ครูผสู้ อนภาษาอังกฤษ มีความพึงพอใจและได้แนวทางการจัดค่าย การจัดกิจกรรม ได้ ประโยชน์จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ ๙๐ โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจการจัดค่าย CLT วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
๑๒
๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา Best Practice/ ประสบการณ์เรียนรู้จากการ นา Best Practice ไปใช้ ปัจจัยที่ทาให้ BP ประสบผลสาเร็จสามารถสรุปได้พอสังเขป ดังนี้ ๘.๔.๑ รูปแบบการจัดกิจกรรม แบบ Repetition / Rhythmic / Comprehensible input / Grouping / Challenging เอือ้ ประโยชน์ต่อการเรียนรูภ้ าษาที่สองเพื่อการสื่อสารในลักษณะ Peer to peer กล่าวคือ ใน นักเรียนสามารถมีโอกาสพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารผ่านกิจกรรมเดี่ยว คู่ กลุ่ม เป็นต้น ๘.๔.๒ ชุดฝึกกิจกรรม Repetition / Rhythmic / Comprehensible input / Grouping / Challenging มี ความหลากหลายในระดับที่สามารถเอือ้ ประโยชน์ต่อกลุ่มผู้เรียนที่มรี ะดับความสามารถทางภาษาแตกต่าง กัน และมีความยืดหยุ่นสาหรับครูผู้จัดกิจกรรมในการเลือก ปรับ เพิ่ม ลด บริบทของเนื้อหาให้สอดคล้อง กับหลักการ Repetition / Rhythmic / Comprehensible input / Grouping / Challenging ๘.๔.๓ การฝึกทักษะตามหลักการ Repetition / Rhythmic / Comprehensible input / Grouping / Challenging เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงออกซึ่งทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในลักษณะฝึก ด้วยบริบทที่แตกต่างกันไปซึ่งแต่ละกิจกรรมจะช่วยส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารซึ่งกัน และกัน ๘.๔.๔ การมีส่วนร่วมออกแบบ ปรับปรุง พัฒนา ของทีมงานวิทยากรภาษาอังกฤษผูใ้ ห้ความรู้ ส่งผลให้การดาเนินกิจกรรม/การใช้ชุดกิจกรรม มีความลงตัว และ ประสบผลสาเร็จ ๘.๔.๕ ผูอ้ านวยการสถานศึกษา คณะครูฝ่ายอานวยการ สถานที่ ครูผปู้ ระสานงานต่างๆ ช่วย อานวยความสะดวกต่อการทากิจกรรม Repetition / Rhythmic / Comprehensible input / Grouping / Challenging ให้ประสบผล
๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนา Best Practice ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า ๙.๑.๑ ผู้ดาเนินกิจกรรมตามหลักของ CLT ๕ รูปแบบ จะต้องทาการ Post Check ทุกครั้งหลัง ดาเนินกิจกรรมตามหลักของ CLT ๕ รูปแบบ ว่าสามารถเอือ้ ประโยชน์ตอ่ การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารมากน้อยเพียงไหน กิจกรรมใดๆใน Repetition / Rhythmic / Comprehensible input / Grouping / Challenging ที่ยากเกินไป หรือ ง่ายเกินไปอาจเก็บไว้เป็นตัวเลือกสารองสาหรับการจัดกิจกรรมในค่าย CLT ในครั้งถัดไป ๙.๑.๒ ผูด้ าเนินกิจกรรมตามหลักของ CLT ๕ รูปแบบ ร่วมกันลง Final Decision Making หลังการ จัดกิจกรรมตามหลักของ CLT ๕ รูปแบบว่า กิจกรรมใดๆใน Repetition / Rhythmic / Comprehensible input / Grouping / Challenging สมควรเก็บไว้ หรือ ตัดออกไปเลย เพื่อให้นักเรียนได้ฝกึ การใช้ภาษาเพื่อ การสื่อสารตามหลักการ CLT ๕ รูปแบบได้มากที่สุด
วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
๑๓
๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง Best Practice หลังกระบวนการตรวจสอบซ้าทาให้เกิดการปรับปรุง/พัฒนา ดังนี้ ๙.๒.๑ หลักการ/กิจกรรม Repetition : เพิ่ม Theme ให้ใกล้ตัวนักเรียนมากขึน้ โดยเน้นที่ประโยค everyday conversation เช่น ซือ้ ของ หาหมอ บอกทาง เป็นต้น ๙.๒.๒ หลักการ/กิจกรรม Rhythmic : ลดความยาวของประโยคที่ใช้ทาการฝึกเพื่อให้กระชับ จา ง่ายมากขึ้น และมีความเป็นสื่อสารมากขึ้น ๙.๒.๓ หลักการ/กิจกรรม Comprehensible input : จัดเพิ่ม Realia (สื่อของจริง) ที่สามารถหาได้ จริงๆเพื่อให้นักเรียนได้เห็นแนวคิด/เข้าใจหลักการของเรื่องที่ฝึกใช้ภาษาอังกฤษได้งา่ ยขึ้น ๙.๒.๔ หลักการ/กิจกรรม Grouping : เปลี่ยนจานวนกิจกรรมคู่สอง คู่ส่ี เป็นกลุ่มห้า หรือ กลุ่มสิบ แต่ไม่เกิน ๒๕ คน (ยกเว้น การทากิจกรรมในภาพรวมทั้งหมูค่ ณะ) ๙.๒.๕ หลักการ/กิจกรรม Challenging: ปรับลดเนือ้ หาในส่วนที่ยากต่อการท้าทายหรือทาความ เข้าใจทาให้เด็กไม่สามารถแสดงทักษะภาษาอังกฤษออกมาได้อย่างเต็มที่
๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จ การเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง แหล่งข้อมูลอ้างอิงการใช้ BP จัดกิจกรรม/เผยแพร่แนวดาเนินกิจกรรม; - กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายจระเข้เผือก/กลอนโด อ.ด่านมะขามเตีย้ ได้แก่ โรงเรียนวัดจระเข้เผือก โรงเรียนบ้านท่าเสด็จ โรงเรียนวัดถ้าอ่างหิน โรงเรียนบ้านทุ่งมะขามเฒ่า, วันที่ ๒๐ – ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ จานวนนักเรียน ๑๕๐ คน - กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายจระเข้เผือก/กลอนโด อ.ด่านมะขามเตีย้ ได้แก่ โรงเรียนบ้านหนองกวาง โรงเรียนบ้านทุ่งยาว โรงเรียนบ้านหนองโสน โรงเรียนบ้านไทรทอง, วันที่ ๒๓ – ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๗ จานวนนักเรียน ๑๕๐ คน - กลุ่มโรงเรียนเครือข่ายพ่อขุนด่านฯ ได้แก่ โรงเรียนวัดหนองบัว โรงเรียนบ้านหนองผูเ้ ฒ่า โรงเรียน บ้านท่าแย้ โรงเรียนอนุบาลด่านมะขามเตีย้ , วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗ - ๑ สิงหาคม ๒๕๕๗ จานวนนักเรียน ๑๕๐ คน - แผ่นพับประชาสัมพันธ์แจกกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายพ่อขุนด่านฯ กลอนโด จระเข้เผือก รวม ๒๗ โรงเรียน แหล่งข้อมูลอ้างอิง(เอกสาร)ออนไลน์; https://www.facebook.com/groups/131349393682315/424775514339700/?notif_t=group_activity https://www.facebook.com/AnubandanPEERcenter https://drive.google.com/folderview?id=0BxoO6mG3MetNejNzNElleVNCSTQ&usp=sharing
วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
ภาคผนวก
ภาพตัวอย่างภาพกิจกรรมตามหลักการ CLT ๕ รูปแบบ : Grouping
Grouping & Challenging
Challenging
Repetition
Comprehensible input
Rhythmic
วิธีการปฏิบัติท่เี ป็นเลิศ (Best Practice) “การเสริมสร้างทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยรูปแบบการจัดค่ายภาษาอังกฤษ CLT ๕ รูปแบบ” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ประจาปีการศึกษา ๒๕๕๗
บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 . กรุงเทพมหานคร : กระทรวงฯ. ฉันทนา กล่อมจิต. (2540). จิตวิทยาเบื้องต้น. ขอนแก่น : ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ดวงเดือน แสงชัย. (2533). การสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. --------. (2548). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธาการพิมพ์. บุญชม ศรีสะอาด. (2543). การพัฒนาการสอน. กรุงเทพมหานคร : สุวีวิยาสาสน์. สุมิตรา อังวัฒนกุล. (2540). วิธีสอนภาษาอังกฤษ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. [ออนไลน์]. (2551). แหล่งที่มา: www.curriculum44.net --------. คู่มือวิทยากรเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน. [ออนไลน์]. (2551). แหล่งที่มา: www.curriculum44.net สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. [ม.ป.ป.]. พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : สานักงานฯ. สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). คู่มือพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน 2728 ตุลาคม 2551. กรุงเทพมหานคร : สานักวิชาการฯ. (เอกสารอัดสาเนา) --------. ชุดฝึกอบรมวิทยากรหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 . [ออนไลน์]. (2551). แหล่งที่มา: http://202.143.161.22/ curriculum51/unit_plan.doc อรพิน พจนานนท์. (2537). การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศในระดับประถมศึกษา. ขอนแก่น : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. Ausubel, D. (1968). A cognitive view. New York : Holt, Rinehart and Winston. Finocchiaro, M., and C. Brumfit. (1983). The Functional-Notional Approach : From Theory to Practice. New York : Oxford University Press. Krashen, S., and T.D. Terrell. (1983). The Natural Approach. Oxford : The Alemany Press.
Littlewood, W. (1983). Communicative Language Teaching : An Introduction. London : Cambridge University Press. Nunan, David. (1999). Second language teaching and learning. Massachusetts : Heinle & Heinle. Widdowson, H.G. (1983). Teaching Language as Communication. London : Oxford University Press.