Best Practice การพัฒนาทักษะการเรียนภาษาอังกฤษ เพือ่ เพิม่ ผลสั มฤทธิ์ด้วยการทาโครงงาน
นางสุ รีย์พร ทับทิม ตาแหน่ ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้ านวังลาน สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
Best Practice การพัฒนาทักษะการเรี ยนภาษาอังกฤษเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ ด้วยการทาโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ด้ าน วิชาการ 2. ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้จัดทา BP 2.1 ชื่อผู้พฒ ั นา นางสุ รียพ์ ร ทับทิม 2.2 โรงเรียน บ้านวังลาน เครือข่ ายส่ งเสริมประสิ ทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับมัธยมศึกษา 2.3 โทรศัพท์ 086-1685219 e-mail piggy_2505@hotmail.co.th 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ของการพัฒนา BP 3.1 เพื่อให้นกั เรี ยนมีทกั ษะในการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) และ มีทกั ษะในการทางานมากขึ้น 3.2 เพื่อแก้ปัญหาในการเรี ยนและฝึ กให้มีทกั ษะในการทางานอย่างเป็ นระบบ 3.3 เพื่อให้นกั เรี ยนได้แสดงศักยภาพในการนาความรู ้ไปใช้ให้กว้างขึ้นและสามารถนาไปใช้ ในชีวติ จริ งได้ 4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่ มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) ระยะเวลาในการพัฒนา BP เริ่ มต้นจากปี การศึกษา 2554-2557 5. ความเชื่อมโยง/สั มพันธ์ ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้ น ของ สพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา จากจุดเน้ นของสพป. และ สพฐ. คือ พัฒนาส่ งเสริ มและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้ประชากร ในวัยเรี ยนได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพโดยเน้นการพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ตามแนวปฏิรูป การศึกษาเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ซึ่ งสถานศึกษาก็รองรับนโยบายของสพป. และ สพฐ. ดังนั้นจึงมีการจัดกิจกรรมการเรี ยนให้ผเู ้ รี ยนอย่างหลากหลายรวมทั้งพัฒนาทักษะการเรี ยน ภาษาอังกฤษด้วยการทาโครงงาน 1. ชื่อผลงาน BP
ครู ผสู ้ อนยอดเยีย่ ม ด้านวิชาการ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีทนี่ ามาใช้ ในการพัฒนา Best Practice การพัฒนา BP ได้ใช้หลัก ของ P D C A
วงจรเดมิง (Deming Circle)
1.วางแผนเพื่อให้ เกิดการพัฒนา
2.นาแผนไปใช้ ดาเนินการ ในระดับปฏิบตั ิการ
4.แก้ไขและพัฒนา ว่าสิ่ งใดที่ตอ้ งเรี ยนรู้ เพิ่มเติม
3.ติดตาม ความคืบหน้าและ วิเคราะห์วา่ มีสิ่ง ที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลง
5. กลับสู่ ข้ นั ตอนที่ 1 นาความรู ้ใหม่ที่ได้มานั้นมาสร้างเป็ นแผน 6. กลับสู่ ข้ นั ตอนที่ 2 เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง
ครู ผสู ้ อนยอดเยีย่ ม ด้านวิชาการ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวน กลุ่มเป้ าหมาย) จานวนนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรี ยนบ้านวังลาน ปี การศึกษา 2555 นักเรี ยน จานวน 76 คน ปี การศึกษา 2556 นักเรี ยน จานวน 62 คน ปี การศึกษา 2557 นักเรี ยน จานวน 78 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็ นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) จากการจัดการเรี ยนการสอนให้นกั เรี ยนพบว่านักเรี ยนมีปัญหาในเรื่ องของการเรี ยน จึงหา สาเหตุของปั ญหา ซึ่ งนักเรี ยนในชั้นนี้ เป็ นนักเรี ยนที่จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จาก โรงเรี ยนบ้านวังลานเอง อีกส่ วนหนึ่งเป็ นนักเรี ยนที่จบจากโรงเรี ยนในพื้นที่ใกล้เคียง และจากการ สัมภาษณ์นกั เรี ยนที่เข้าเรี ยนต่อในระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 1 พบว่า นักเรี ยนบางคนไม่ค่อยได้เรี ยนวิชา ภาษาอังกฤษ ทาให้เรี ยนไม่รู้เรื่ อง เกิดเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ เนื่องจากบางโรงเรี ยนมีครู ไม่ครบชั้น บ้างก็ครู ผสู ้ อนไม่ถนัดในการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่ งไม่ตรงกับสาขาวิชาที่ตนเองเรี ยน จบมา ทาให้ผเู ้ รี ยนมีพ้นื ฐานในการเรี ยนภาษาอังกฤษไม่ค่อยดีเท่าที่ควร ดังนั้น จึงหาวิธีที่จะทาให้การพัฒนาผูเ้ รี ยนในวิชาภาษาอังกฤษให้ได้ผลดีข้ ึน นักเรี ยนมีเจต คติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ และส่ งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนสู งขึ้น จึงคิดหาทางที่จะทาให้ นักเรี ยนประสบผลสาเร็ จมาพัฒนาผูเ้ รี ยน โดยมีข้ นั ตอนดังนี้
ครู ผสู ้ อนยอดเยีย่ ม ด้านวิชาการ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
แผนผังขั้นตอนการพัฒนา BP
1. ศึกษาปัญหา 2. วิเคราะห์ ข้อมูลความรู้ พนื้ ฐานของนักเรียน 3. กาหนดกิจกรรมพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ด้วยการทาโครงงาน สอดคล้อง กับหลักสู ตร 4. ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยให้ นักเรียนทาโครงงาน
5. สั งเกต ตรวจสอบ ประเมินผล 6. พัฒนา ปรับปรุง เปลีย่ นแปลง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ / จุดเน้ น
ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน
ครู ผสู ้ อนยอดเยีย่ ม ด้านวิชาการ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวธิ ีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) วิธีการตรวจสอบคุณภาพ BP โดยการ 1. สังเกตการลงมือปฏิบตั ิงาน 2. ประเมินผลจากขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและการนาเสนอ อย่างมีข้ นั ตอน 3. สัมภาษณ์และสอบถามความพึงพอใจ และเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษสู งขึ้น ดูได้จากผลการสอบ O-NET ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 7.4 แนวทางในการนา BP ไปใช้ประโยชน์ นาไปใช้ในการพัฒนาทักษะการเรี ยนภาษาอังกฤษและยังสามารถนาไปบูรณาการกับการเรี ยน ของนักเรี ยนในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้กลุ่มอื่นๆด้วย รวมถึงใช้วธิ ี หรื อขั้นตอนในการทางานไปใน ชีวติ ประจาวันได้ 8. ผลสาเร็จทีเ่ กิดขึน้ จากการพัฒนา BP (เปรี ยบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ - นักเรี ยนมีทกั ษะในการเรี ยนภาษาอังกฤษได้ดีข้ ึน ร้อยละ 80 - นักเรี ยนมีความพึงพอใจในการพัฒนาทักษะการเรี ยนภาษาอังกฤษ ร้อยละ 100 - ทาให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนกลุ่มสาระรู ้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ)ของนักเรี ยนชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ในระดับโรงเรี ยน ระดับประเทศ สู งขึ้นจากปี การศึกษาที่ผา่ นมา 8.2 ผลสาเร็จเชิ งคุณภาพ นักเรี ยนมีความสนใจในการเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษมากขึ้น มีการทางานอย่างมีข้ นั ตอน เป็ นระบบ มีการวางแผนในการทางาน ทางานอย่างมีข้ นั ตอน และมีเจตคติที่ดีต่อการเรี ยน ภาษาอังกฤษ และมีทกั ษะในการเรี ยนภาษาอังกฤษได้ดีข้ ึน 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกีย่ วข้ องต่ อ BP (ระบุค่าร้อยละความพึงพอใจจาก ผูเ้ กี่ยวข้องและวิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) นักเรี ยนมีความพึงพอใจ และ มีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ จากการเรี ยนรู้โดยการทา โครงงาน ส่ งผลให้ผปู ้ กครองมีความพึงพอใจไปด้วย 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP /ประสบการณ์การเรี ยนรู้จากการนา BP ไปใช้ 8.4.1 นักเรี ยนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
ครู ผสู ้ อนยอดเยีย่ ม ด้านวิชาการ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
8.4.2 นักเรี ยนปรับเปลี่ยนการเรี ยนรู้ตามจุดเน้นของการปฏิรูปการศึกษา 8.4.3 จากการนาเทคนิควิธีสอนที่หลากหลายของครู ผสู้ อนมาใช้ในการจัดการเรี ยนรู้และจัด กิจกรรมโครงงานเป็ นเทคนิคหนึ่งที่ช่วยให้การปฏิรูปการเรี ยนรู ้บงั เกิดผล เนื่ องจากกิจกรรม โครงงานเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู้ตามความสนใจด้วยตนเอง แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง โดยมีครู ให้ความช่วยเหลือสนับสนุนและอานวยความสะดวกให้กบั นักเรี ยน เป็ นสิ่ งที่ช่วยให้งาน สาเร็ จ 8.4.4 นักเรี ยนประสบความสาเร็ จได้รับรางวัลในการแข่งขันทักษะทางวิชาการ ทั้งในระดับ ศูนย์เครื อข่าย ในระดับเขตพื้นที่การศึกษา และได้เป็ นตัวแทนของเขตพื้นที่การศึกษาไปแข่งขัน ในระดับภาค 8.4.5 ผูป้ กครอง ชุมชน มีความภาคภูมิใจต่อบุตรหลานและภูมิใจสถานศึกษาในท้องถิ่น 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนา BP ให้ เกิดผลดีอย่างต่ อเนื่อง 9.1 การตรวจสอบซ้า BP 9.1.1 สารวจความพึงพอใจ และเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษของผูเ้ รี ยน และผูป้ กครอง 9.1.2 ตรวจสอบจากการดาเนินการจัดการเรี ยนการสอน การสอบถาม การสัมภาษณ์ ผูท้ ี่เกี่ยวข้อง 9.1.3 นาผลการดาเนินการมาปรับปรุ งพัฒนา BP ให้เหมาะสมกับผูเ้ รี ยน ดียงิ่ ขึ้น 9.2 ผล การตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาและปรับปรุ ง BP นักเรี ยนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ มีการพัฒนาตนเองและมีทกั ษะในการเรี ยน ภาษาอังกฤษดีข้ ึน พร้อมทั้งส่ งผลให้นกั เรี ยนนากระบวนการในการเรี ยนรู ้มาปรับใช้ใน ชีวติ ประจาวัน 10. การประชาสั มพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง (ระบุวนั เวลาและ รู ปแบบ/วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) 10.1 ขยายผลให้ครู ทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ในโรงเรี ยนนาไปปรับใช้ในสาระการเรี ยนรู ้ แต่ละ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ที่ตนเองสอน 10.2 ขยายผลให้ครู ทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ในการประชุมครู ของศูนย์เครื อข่ายพัฒนาคุณภาพ การศึกษาเกาะสาโรง
ครู ผสู ้ อนยอดเยีย่ ม ด้านวิชาการ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
10.3 จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ โดยใช้ระบบพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) ที่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 10.4 ได้เผยแพร่ ให้กบั นักเรี ยน ครู ในโรงเรี ยน และนักเรี ยน ครู โรงเรี ยนต่างๆ ในวันวิชาการ ของโรงเรี ยนและจากการมาศึกษาดูงานจากครู โรงเรี ยนต่าง ๆ
ครู ผสู ้ อนยอดเยีย่ ม ด้านวิชาการ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เผยแพร่ ผลงานในการจัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ โดยใช้ระบบพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) ที่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
การจัดนิทรรศการวิชาการเผยแพร่ ผลงาน
การนาเสนอผลงานหน้ าชั้นเรียน
การทางานตามแผน
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนดีขนึ้ ทางาน อย่ างเป็ นระบบ
แสวงหาความรู้ ด้ วยตนเอง
ทางาน ตามความสนใจ
ผลจากการทา โครงงานส่ ง ผลดี ต่ อนักเรียน
สามารถนาความรู้ ไปใช้ ในชีวติ จริง
มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์
คิดเป็ น ทาเป็ น แก้ ปัญหาได้
English is so Fun.