ฺBest Practice น.ส.ปัทมพรรณ ปรกแก้ว ครู ร.ร.บ้านแก่งหลวง

Page 1

รายงาน Best Practice เพื่อขอรับการประเมินรางวัลทรงคุณคา สพฐ. (OBEC AWARDS) ปการศึกษา ๒๕๕๗ ดาน ครูผูสอนยอดเยี่ยมดานการบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ เรื่อง

“ การบริหารจัดการชั้นเรียนดวยกระบวนการ SSSD เพื่อยกระดับและพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรูภาษาตางประเทศ กลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓”

นางสาวปทมพรรณ ปรกแกว ครู ค.ศ. ๑ โรงเรียนบานแกงหลวง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑


รายงาน Best Practice เพื่อขอรับการประเมินรางวัลทรงคุณคา สพฐ. (OBEC AWARDS) ปการศึกษา ๒๕๕๗ ดาน ครูผูสอนยอดเยีย่ มดานการบริหารจัดการ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ******************************************** ๑.ชื่อผลงาน BP “ การบริหารจัดการชั้นเรียนดวยกระบวนการ SSSD เพื่อยกระดับและพัฒนาผลสัมฤทธิ์การ เรียนรูภาษาตางประเทศกลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓” ดาน ( ) วิชาการ (  ) บริหารจัดการ () นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ๒.ขอมูลทั่วไปของผูพัฒนา BP ๒.๑

ชื่อผูพัฒนา BP นางสาวปทมพรรณ ปรกแกว ตําแหนงครู สาระการเรียนรู

ภาษาตางประเทศ ซื่อผลงาน“ การบริหารจัดการชั้นเรียนดวยกระบวนการ SSSD เพื่อยกระดับและพัฒนาผลสัมฤทธิ การเรียนรูภาษาตางประเทศกลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓” ๒.๒ โรงเรียนบานแกงหลวง ตําบลเกาะสําโรง อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เครือขายพัฒนาคุณภาพการศึกษาเกาะสําโรง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๒.๓

โทรศัพท ๐๘๙-๒๕๘๑๙๘๙

E-mail : Olisa2006@gmail.com

๓.เปาหมาย/วัตถุประสงคของการพัฒนา BP ๓.๑

เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓

๓.๒

เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ ในการใช

ภาษาตางประเทศ ๓.๓

เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในกลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษในการสอบ O-NET , NT ให

สูงขึ้นเปนที่นาพอใจ ๓.๔

ครูผูสอนมีวิธีการที่หลากหลายในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหแกผูเรียน


๔.ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice (ระบุชวงเริ่มตนการพัฒนา และระยะเวลาที่ใชในการพัฒนา BP) ๔.๑

เริ่มศึกษาหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรูภาษาตางประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ตัวชี้วัด ระดับชั้น

มัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ และจัดวางแผนการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับสภาพและบริบทของผูเรียน ๔.๒

ปการศึกษา ๒๕๕๕ เดือนพฤษภาคม ศึกษากระบวนการ SSSD ( Study ,Synergize

,Summarize and Learning by doing ) ๔.๓

ทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๕

๔.๔

ภาคเรียนที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๖ เปนตนมา ใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ และ

เผยแพรใหกับเพื่อนครูมาโดยตลอดจนปจจุบัน ๕.ความเชื่อมโยง/สัมพันธระหวาง BP กับเปาหมาย/จุดเนนของสพป./สพม./สพฐ./สถานศึกษา ๕.๑ เปาหมาย/วัตถุประสงคของการบริหารจัดการชั้นเรียนแบบ SSSD มีเปาหมาย/วัตถุประสงค ดังนี้ ๑) เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ ๒)เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ ในการใช ภาษาตางประเทศ ๓) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ในกลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษใหสูงขึ้นเปนที่นาพอใจ ๔) ครูผูสอน โรงเรียนมีวิธีการที่หลากหลายในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหแกผูเรียน ๕.๒ เปาหมาย/จุดเนนของสถานศึกษาซึ่งแผนปฏิบัติการของโรงเรียนมีวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย อัตลักษณ และเอกลักษณของสถานศึกษาดังนี้ วิสัยทัศน โรงเรียนมีความเปนเลิศทางการศึกษา นักเรียนมีคุณภาพดีตามมาตรฐานการศึกษา ครู บุคลากรและชุมชนรวมกันพัฒนา จัดการศึกษาใหกาวไกล สํานึกในความเปนไทย ยึดมั่นประชาธิปไตย ใสใจ คุณธรรม นอมนําดวยวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงอบายมุขบําเพ็ญประโยชนใหเกิดสุขแกสังคม พันธกิจ ๑.จัดการศึกษาระดับกอนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาอยางมี คุณภาพ


๒.พัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะที่พึงประสงคของโรงเรียน ปลูกฝง ความรักชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓.พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในใหมีประสิทธิภาพ ๔.พัฒนาครูใหมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอยางมีคุณภาพและเนนผูเรียน เปนสําคัญ ๕.นําภูมิปญญาทองถิ่นมาใชสนับสนุนการเรียนการสอนและใชแหลงเรียนรูภายในและ นอกสถานศึกษาในการพัฒนาผูเรียน ๖.ใหผูนําชุมชนและองคกรปกครองสวนทองถิ่นตลอดจนคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐานและผูปกครองไดมีสวนรวมในการจัดการศึกษา ๗. สงเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการประกวดแขงขันทักษะทางวิชาการ ๘.จัดกิจกรรมสงเสริมและสนับสนุนใหนักเรียนมีสุขภาพดีและปลอดยาเสพติดทุกชนิด ๙.ยกระดับคุณภาพผูเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพดีตามเกณฑ มาตรฐานการศึกษาชาติ ประเด็นยุทธศาสตร “นํามวลประสบการณความรูความสามารถของบุคลากร ชุมชน รวมทั้งภูมิปญญาและ แหลงเรียนรูทั้งในและนอกชุมชนมาพัฒนาผูเรียน ตามแนวปรัชญาหลักเศรษฐกิจพอเพียง” เปาหมาย ๑)มุงจัดการศึกษาใหนักเรียนเปนคน เกง ดี มีความสุข ตามจุดมุงหมายและกระบวนการ ตามแนวทางตามที่หลักสูตรกําหนด ๒)มุงจัดการศึกษาใหสอดคลองกับการประกันคุณภาพทั้ง ๔ ดาน คือ ประกันคุณภาพ ประกันประสิทธิภาพ ประกันโอกาส และประกันความปลอดภัย ในเรื่องของ สิ่งเสพติด การพนัน การทะเลาะ วิวาท สื่อลามก ๓)ผูเรียนทุกคนมีจิตสํานึกรักชาติและใชวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔)พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหมีความรูความชํานาญ ความสามารถ มี คุณธรรม ในการจัดการศึกษา ออกแบบการจัดกระบวนการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ และกาวเปนครู มืออาชีพ


๕)จัดการศึกษาที่ตอบสนองความตองการของทองถิ่น ชุมชน และการมีสวนรวมของ ชุมชน อัตลักษณของสถานศึกษา พัฒนาวิถีชีวิต ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เอกลักษณของสถานศึกษา สรางงาน สรางชีวิต ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ๑. เรงรัดการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุมสาระการเรียนรู ๒. พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนโดยใชสื่อ/นวัตกรรม/เทคโนโลยี อยางตอเนื่อง ๓. พัฒนาสงเสริมใหนักเรียนไดเรียนรูภาษาอังกฤษไดเปนภาษาที่สอง และจัดการเรียน การสอนภาษาพมาเปนภาษาที่สาม เพื่อรองรับการกาวสูประชาคมอาเซียน ๔. สงเสริมและพัฒนาผูเรียนทุกคนมีสวนในกิจกรรมเพื่อรวมอนุรักษวัฒนธรรมไทยและ รักษธรรมชาติสิ่งแวดลอม ๕. จัดระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหเปนระบบมีประสิทธิผล ๖. สนับสนุนและสงเสริมความกาวหนาแกครูและบุคลากรทางการศึกษา ๗. ปรับสภาพแวดลอมของโรงเรียนใหรมรื่น สวยงาม นาอยู ปรับปรุงอาคารสถานที่ และ วัสดุอุปกรณที่เกี่ยวของกับการจัดการเรียนการสอน และหองตาง ๆใหมั่นคง ปลอดภัย ๘. สงเสริมใหผูปกครอง ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และเอกชนมีสวนรวมในการ จัดการศึกษา ๙. สงเสริมและสนับสนุนใหมีแหลงเรียนรูภายในและนอกสถานศึกษา และภูมิปญญา ทองถิ่นรวมจัดการเรียนการสอนอยางตอเนื่อง โดยยึดแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ๑. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและสงเสริมความสามาร ทางเทคโนโลยีเพื่อเปนเครื่องมือในการเรียนรู ๒. ปลูกฝงคุณธรรม ความสํานึกในการเปนชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง


๓. ขยาย โอกาสทางการศึกษาใหทั่วถึง ครอบคลุม ผูเรียนไดรับโอกาสในการพัฒนาเต็ม ตามศักยภาพ ๔. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ใหสามารถจัดการเรียนการสอนไดอยางมี คุณภาพ ๕. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา เนนการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน ๕.๓เปาหมาย/จุดเนนของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ (สพป.กจ.๑) ซึ่งสํานักงานเขตพื้นที่ฯ มีเปาหมาย จุดเนน ดําเนินการตามนโยบายของ สพฐ. ในปการศึกษา ๒๕๕๗ ดังนี้ จุดเนนที่ ๑ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูหลักเพิ่มขึ้น โดยผลการ ทดสอบระดับชาติ(O-NET) เพิ่มขึ้นอยางนอยรอยละ ๓ (Student Achievement) จุดเนนที่ ๒ เด็กปฐมวัยทุกคนไดรับการเตรียมความพรอมดานรางกาย อารมณ สังคม และ สติปญญา ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอยางมีคุณภาพ (EQ : Emotion Quotient) จุดเนนที่ ๓ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ทุกคนอานออก เขียนได คิดเลขเปน และ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ อานคลองเขียนคลองและมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน(Literacy, Numeracy & Reasoning Abilities) จุดเนนที่ ๔ นักเรียนทุกคนมีความสํานึกในความเปนไทย มีจิตสาธารณะ และอยูอยาง พอเพียง(Sufficiency & Public Mind) จุดเนนที่ ๕ นักเรียนที่มีความสามารถดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และศิลป ศาสตรทุกคนไดรับการสงเสริมใหมีความเปนเลิศ (Excel to Excellence) จุดเนนที่ ๖ ประชากรวัยเรียนทุกคน มีโอกาสเขาถึงบริการทางการศึกษา ดวยทางเลือกที่ หลากหลาย เพื่อลดอัตราเด็กตกหลน ออกกลางคัน สงเสริมการเรียนตอหรือประกอบอาชีพ (Alternative Access) จุดเนนที่ ๗ นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน และสถานศึกษาทุกแหงในเขต พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จุดเนนที่ ๘ นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มีความพรอมเขาสูประชาคม อาเซียน มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงในสังคมพหุวัฒนธรรม (ASEAN Community) จุดเนนที่ ๙ สถานศึกษาทุกแหงไดรับการพัฒนาอยางเต็มศักยภาพ มีระบบประกันคุณภาพ ภายในที่เขมแข็งและไดรับการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก (Quality Schools)


จุดเนนที่ ๑๐สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแหงมีคุณภาพตามมาตรฐานของสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา (Effective Service Areas) ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นํามาใชในการพัฒนา BP สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดกําหนดกลยุทธพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เพื่อเรงรัด สงเสริม และพัฒนาใหหนวยงานในสังกัดนํานโยบายสูการปฏิบัติ โดยมีกลยุทธและจุดเนนที่สําคัญ หลายๆ ดาน รวมทั้งพัฒนาการอาน การฟง การพูด การเขียนเพื่อการสื่อสาร และการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนภาษาอังกฤษอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อการเรียนรูที่กาวทันเทคโนโลยีและการการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น และเพื่อการสื่อสารสื่อความคิดไดตามเจตนารมณ ในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว และประเทศที่กําลังพัฒนาขณะนี้ ตางเนนใหการใชภาษาอังกฤษเปนสวนหนึ่งของชีวิต เสมือนเปนปจจัยที่สําคัญในการดํารงชีวิตของพลเมือง โดย สงเสริมใหเด็กของตนสนใจและใชเวลาวางเพื่อฝกการสื่อสารภาษาตางประเทศโดยการอาน การฟง การพูดและการ เขียน ดวยประจักษวา หากพลเมืองในประเทศมีความสามารถในการสื่อสารไดแลว พวกเขาก็รูจักเลือกนําความรูและ ความคิดไปพัฒนาตนและประเทศแลว ประเทศก็จะเจริญรุงเรือง มีบุคคลตัวอยางหลากหลายอาชีพที่แสดงอยางชัดเจนวา ความสามารถในการใชภาษาตางประเทศไดนั้นจะ สงผลสําคัญตออนาคตของบุคคลนั้นๆ และมีตัวอยางจากหลายๆ ประเทศที่บรรลุวัตถุประสงคในการพัฒนาประเทศ เพราะมีประชากรที่มีคุณภาพ มีความสามารถทางเทคโนโลยีและรูเทาทันตอการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมและ สังคม รวมทั้งมีความคิดสรางสรรคพัฒนาชาติของตนใหยิ่งใหญ แมวาโรงเรียนบานแกงหลวง ไดพยายามสงเสริมและยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนภาษาตางประเทศ มาอยางตอเนื่องก็ตาม แตในชวงระยะเวลา ๒- ๓ ปที่ผานมา ผูปกครองจากชุมชนตางๆ ในเขตพื้นที่บริการและนอก พื้นที่บริการตางใหความมั่นใจพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา จึงไดนําบุตรหลานยายมาเขา เรียนที่โรงเรียนเปนจํานวนเพิ่มมากขึ้นทุกป จากการสังเกตพบวานักเรียนที่ยายมาเขาเรียนใหมนี้ สวนใหญจะมี ปญหาดานความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในการสื่อสาร จึงทําใหเปนปญหาในการจัดการเรียนการสอนของ คณะครูในกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ และสงผลกระทบตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ออนดอยตามไปดวย ในฐานะทีส่ ถานศึกษาจําเปนจะตองจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ สนองตอนโยบายและวิสัยทัศนที่กวางไกลใน การแกปญหาการใชภาษาตางประเทศเพื่อการสื่อสารของนักเรียน จึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองคิดหาวิธีการใหนักเรียน เปนผูที่มีทักษะในการสื่อสารอยางมีความหมาย ขณะที่ใชชีวิตในโรงเรียนและขณะที่ใชชีวิตอยูกับบาน รวมทั้ง เพื่อใหมีความสามารถดานการฟง พูด อาน เขียน และคิดไดอยางมีประสิทธิภาพ และใชเปนเครื่องมือในการศึกษา เรียนรูกลุมสาระการเรียนรูอื่นอยางมีคุณภาพอีกดวย


ภาษาอังกฤษยังมีคุณสมบัติ ที่เหมือนกับภาษาอื่นในโลก คือ ความไมจํากัดเพศของผูสงสาร ไมวาจะเปนเพศ หญิง เพศชาย คนแก หรือเด็ก ยอมใชภาษาในการสงสารและรับสารไดและใชภาษาพูดทั้งอดีต ปจจุบัน และอนาคต สื่อสารกันได รับรูเรื่องราวไมจํากัดกาลเวลา ดังนั้น ภาษาจึงมีคุณสมบัติเปนเครื่องถายทอดวัฒนธรรมและวิทยาการ ตางๆ ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและเกิดการสรางสิ่งใหมๆ ขึ้นมาอีกดวย (กรมวิชาการ. ๒๕๔๕ข : ๖-๗) ภาษาอังกฤษเปนวิชาทักษะที่ตองฝกฝนจนเกิดความชํานาญในการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร การอานและการ ฟงเปนทักษะของการรับรูเรื่องราว ความรูและประสบการณ การพูดและการเขียนเปนทักษะของการแสดงออกดวย การแสดงความคิดเห็น ความรูและประสบการณ สวนการดูเปนการรับรูขอมูลขาวสารตางๆ ทั้งโทรทัศน ภาพยนตร ละคร คอมพิวเตอร ตลอดจนการตูน และสามารถแสดงทรรศนะขอมูลขาวสารดวยการพูดและการเขียน การดูจึงเปน การเรียนรูและการแสดงทัศนะของตนและการนับวันจะมีความสําคัญและมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิต ผูเรียนจะตอง ประเมินสิ่งที่ดูและใช การดูใหป ระโยชนมากในการแสวงหาความรู การเรียนภาษาอังกฤษจึงตองเรียนเพื่อการ สื่อสารใหผูเรียนสามารถรับรูขอมูลขาวสารอยางพินิจพิเคราะห สามารถเลือกใชคําเรียบเรียงความคิด ความรูให ชัดเจน ใชภาษาไดถูกตองตามหลักภาษา ใชถอยคําตรงตรงความหมาย ถูกตองตามฐานะของบุคคลและสถานการณ อยางมีประสิทธิภาพ มูลเหตุสําคัญที่ตองเรียนรูภาษาอังกฤษ คือ กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ มุงหวังใหผูเรียนมีเจต คติที่ดีตอภาษาตางประเทศ สามารถใชภาษาตางประเทศ สื่อสารในสถานการณตาง ๆ แสวงหาความรู ประกอบอาชีพ และศึกษาตอ ในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งมีความรูความเขาใจในเรื่องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก และสามารถถายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกไดอยางสรางสรรค ประกอบดวยสาระสําคัญ ดังนี้ •

ภาษาเพื่อการสื่อสาร การใชภาษาตางประเทศในการฟง-พูด-อาน-เขียน แลกเปลี่ยน

ขอมูล ขาวสาร แสดงความรูสึกและความคิดเห็น ตีความ นําเสนอขอมูล ความคิดรวบยอดและความคิดเห็นใน เรื่องตางๆ และสรางความสัมพันธระหวางบุคคลอยางเหมาะสม •

ภาษาและวั ฒ นธรรม การใช ภ าษาต า งประเทศตามวั ฒ นธรรมของเจ า ของภาษา

ความสัมพันธ ความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา ภาษาและวัฒนธรรม ของเจาของภาษากับวัฒนธรรมไทย และนําไปใชอยางเหมาะสม •

ภาษากั บ ความสั ม พั น ธ กับ กลุ ม สาระการเรี ย นรู อื่น การใชภ าษาตา งประเทศในการ

เชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น เปนพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนของตน


ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก การใชภาษาตางประเทศในสถานการณตางๆ

ทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน ชุมชน และสังคมโลก เปนเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาตอประกอบอาชีพ และ แลกเปลี่ยนเรียนรูกับสังคมโลก สาระและมาตรฐานการเรียนรูภาษาตางประเทศ สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เขาใจและตีความเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ และแสดง ความคิดเห็นอยางมีเหตุผล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดง ความรูสึก และความคิดเห็นอยางมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นําเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่อง ตางๆ โดยการพูดและการเขียน สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และ นําไปใช ไดอยางเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของ เจาของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนํามาใชอยางถูกตองและเหมาะสม สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และเปนพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนของตน สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภาษาตางประเทศในสถานการณตางๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และ สังคม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภาษาตางประเทศเปนเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาตอ การประกอบ อาชีพ และ การแลกเปลี่ยนเรียนรูกับสังคมโลก


๑๐

คุณภาพผูเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ • ปฏิบัติตามคําขอรอง คําแนะนํา คําชี้แจง และคําอธิบายที่ฟงและอาน อานออกเสียงขอความ ขาว โฆษณา นิทาน และบทรอยกรองสั้นๆ ถูกตองตามหลักการอาน ระบุ/เขียนสื่อที่ไมใชความเรียงรูปแบบตางๆ สัมพันธกับ ประโยคและขอความที่ฟงหรืออาน เลือก /ระบุหัวขอเรื่อง ใจความสําคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ พรอมทั้งใหเหตุผลและยกตัวอยางประกอบ • สนทนาและเขี ย นโต ต อบข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ตนเองและเรื่ อ งต า งๆ ใกล ตั ว สถานการณ ข า ว เรื่องที่อยูในความสนใจของสังคมและสื่อสารอยางตอเนื่องและเหมาะสม ใชคําขอรอง คําชี้แจง และคําอธิบาย ให คําแนะนําอยางเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความตองการ เสนอและใหความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให ความชวยเหลือ พูดและเขียนเพื่อขอและใหขอมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง ที่ฟง หรื ออา นอย า งเหมาะสม พู ดและเขี ย นบรรยายความรูสึก และความคิด เห็น ของตนเองเกี่ย วกับ เรื่อ งต า งๆ กิจกรรม ประสบการณ และขาว/เหตุการณ พรอมทั้งใหเหตุผลประกอบอยางเหมาะสม • พู ด และเขี ย นบรรยายเกี่ ย วกั บ ตนเอง ประสบการณ ข า ว /เหตุ ก ารณ /เรื่ อ ง /ประเด็ น ต า งๆ ที่อยูในความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุปใจความสําคัญ/แกนสาระ หัวขอเรื่องที่ไดจากการวิเคราะหเรื่อง/ขาว/ เหตุการณ /สถานการณที่อยูในความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ และ เหตุการณ พรอมใหเหตุผลประกอบ • เลือกใชภาษา น้ําเสียง และกิริยาทาทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของ เจาของภาษา อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเปนอยู ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจาของภาษา เขารวม/จัดกิจกรรม ทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ • เปรียบเทียบ และอธิบายความเหมือนและความแตกตางระหวางการออกเสียงประโยคชนิดตางๆ และการ ลําดับคําตามโครงสรางประโยคของภาษาตางประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบและ อธิบายความเหมือนและความ แตกตางระหวางชีวิตความเปนอยูและวัฒนธรรมของเจาของภาษากับของไทย และนําไปใชอยางเหมาะสม • คนควา รวบรวม และสรุปขอมูล/ขอเท็จจริงที่เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอื่นจากแหลงการเรียนรู และนําเสนอดวยการพูดและการเขียน • ใชภาษาสื่อสารในสถานการณจริง/สถานการณจําลองที่เกิดขึ้นในหองเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม • ใช ภ าษาต า งประเทศในการสื บ ค น /ค น คว า รวบรวม และสรุ ป ความรู /ข อ มู ล ต า งๆ จากสื่ อ และแหลงการเรียนรูตางๆ ในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ เผยแพร/ประชาสัมพันธขอมูล ขาวสารของโรงเรียน ชุมชน และทองถิ่น เปนภาษาตางประเทศ


๑๑

• มี ทั ก ษะการใช ภ าษาต า งประเทศ (เน น การฟ ง -พู ด-อ า น-เขี ย น) สื่ อ สารตามหั ว เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดลอม อาหาร เครื่องดื่ม เวลาวางและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลม ฟาอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางทองเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภายในวงคําศัพทประมาณ ๒,๑๐๐-๒,๒๕๐ คํา (คําศัพทที่เปนนามธรรมมากขึ้น) • ใช ป ระโยคผสมและประโยคซั บ ซ อ น (Complex

Sentences)

สื่ อ ความหมายตามบริ บ ทต า งๆ

ในการสนทนาทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ

วิเคราะหหลักสูตรแกนกลางและ หลักสูตรสถานศึกษา

กําหนดหนวยการเรียนรูและกิจกรรมตางๆ ในระดับชั้น ใหสอดคลองกับหลักสูตรและมาตรฐาน

จัดการเรียนการสอนตามแผนที่กาํ หนด

ประเมินผลการจัดการ เรียนการสอน

ไมผาน ปรับปรุง แกไข

ผาน สรุปผลการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการชั้นเรียน

แผนภาพที่ ๑ ขั้นตอนที่มาของการบริหารจัดการชั้นเรียนในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓


๑๒

ดังนั้น ภาษาอังกฤษจึงมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตและความเจริญกาวหนาของชาติ คนไทยจําเปนตอง ตระหนักถึงความสําคัญของภาษาภาษาอังกฤษ ตองทําความเขาใจและศึกษาหลักเกณฑทางภาษา และฝกฝนใหมี ทักษะ ฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษ ใหมีประสิทธิภาพ เพื่อนําไปใชในการสื่อสาร การเรียนรู การเสริมสราง ความเขาใจอันดีตอกัน การสรางความเปนเอกภาพของชาติและความจรรโลงใจเพื่อเกิดประโยชนแกตนเอง ชุมชน สังคม และประเทศชาติ (กรมวิชาการ. ๒๕๔๕ข : ๓-๖) รวมทั้งการเตรียมความพรอมเขาสูการเปนประชาคม อาเซียนในป พ.ศ. ๒๕๕๘ ๗. กระบวนการพัฒนา Best Practice ๗.๑ กลุมเปาหมายในการนําไปใช นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ โรงเรียนบานแกงหลวง ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา กระบวนการพัฒนาออกแบบการบริหารจัดการชั้นเรียนที่เปน Best Practice ชื่อ “การจัดการชั้น เรียนดวยกระบวนการ SSSD เพื่อยกระดับและพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรูภาษาตางประเทศกลุมสาระการ เรียนรูภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓” ไดแก ขั้นที่ ๑ การศึกษาคนควาดวยตนเอง

Study

ขั้นที่ ๒ การอภิปรายและวิพากย

Synergize

ขั้นที่ ๓ การสรุปความรู

Summarize

ขั้นที่ ๔ การลงมือกระทํา

Doing

จากประสบการณการจัดการเรียนรูในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ ของชีวิตเปนครูผูสอน ผลจากการไดรับ ความรู เทคนิคการสอนจากการอบรมสัมมนา การศึกษาคนควา แลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อนครูมาโดยตลอด จึงไดจัด กิจกรรมการเรียนรู ๔ ขั้นตอนดังกลาว เพื่อใหผูเรียนไดมีทักษะ ความรู ไปใชไดจริง ซึ่งมีลําดับขั้นตอนการเกิด กระบวนการดังกลาวสืบเนื่องมาจากเหตุผลดังตอไปนี้ ๑)การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการกลุมสัมพันธ กระบวนการกลุมสัมพันธที่ดีระหวางกัน การดําเนินงานกิจกรรมกลุม เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ หรือไดผลงาน ลักษณะการสอนแบบนี้เนนผูเรียนเปนสําคัญ เปดโอกาสใหผูเรียนเขารวมกิจกรรมอยางทั่วถึง ยึดกลุม เปนแหลงเรียนรูที่สําคัญ เปดโอกาสใหผูเรียนไดปรึกษาหารือกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ชวยใหเกิด การเรียนรูพฤติกรรมของตนเองและผูอื่น นักเรียนสามารถคนหาคําตอบรวมกันได และนําความรูจากการปฏิบัติงาน รวมกันไปใชในการทํางานสาระอื่นๆ และยังนําไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวันอยางสันติสุข


๑๓

๒)การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเกมการศึกษา การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยเกมการศึกษา เปนการจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจาก ประสบการณตรง และเพื่อเปนพื้นฐานในการคิดวิเคราะห นําเสนอรูปแบบการเขียน นําเสนอโดยใชกระบวนการ กลุมได ๓)การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชแผนภาพโครงเรื่อง Mind mapping แผนภาพโครงเรื่องเปนการแสดงความรูสึกโดยใชแผนภาพ หรือ แผนที่ความคิด การใชแผนภาพ คือการจัดลําดับความคิดรวบยอด หรือนําหัวเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาแยกเปนหัวขอยอย และนํามาจัดลําดับเปนแผนภาพ หรือใชจัดกิจกรรมสรุปการอานจับใจความจากบทเรียน จากเรื่องนิทาน เรื่องจากบทความ จากหนังสือพิมพ จากเรื่อง ที่ฟง จากหนังสือสงเสริมการอาน ฯลฯ เปนตน ประโยชนของการใชแผนภาพโครงเรื่อง ๑.

ชวยบูรณาการความรูเดิม

๒.

ชวยพัฒนาความคิดรวบยอดใหชัดเจนขึ้น

๓.

ชวยเนนองคประกอบสําคัญของเรื่อง

๔.

ชวยพัฒนาการอาน การเขียน และการคิด

๕.

ชวยในการอภิปราย

๖.

ชวยวางแผนในการพัฒนาทักษะ การเขียนในแตละหัวขอ

๗.

ชวยลดภาระงานการสอนของครู โดยการสอนแบบบูรณาการเนื้อหา

๘.

เปนเครื่องมือในการประเมินผลการเรียนของผูเรียน


๑๔

ขั้นที่ ๑ การศึกษาคนควาดวยตนเอง Study

ขั้นที่ ๒ การอภิปรายและวิพากย Synergize วงจรคุณภาพ

ผลสะทอนกลับ

PDCA

Feedback

ขั้นที่ ๓ การสรุปความรู Summarize

ขั้นที่ ๔ การลงมือกระทํา Doing

แผนภาพที่ ๒ การจัดการชั้นเรียนดวยกระบวนการ SSSD เพื่อพัฒนาผูเรียนใหเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น


๑๕

ในการจัดการเรียนการสอนทุกครั้ง ขาพเจาจะดําเนินตามขั้นตอนโดยใชวงจรคุณภาพ (PDCA) ประกอบดวย การวงแผน การดําเนินการตามแผน การตรวจสอบ และการปรับปรุงแกไข ซึ่ง Best Practice “ การ บริหารจัดการชั้นเรียนดวยกระบวนการ SSSD เพื่อยกระดับและพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรูภาษาตางประเทศกลุม สาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓” มีขั้นตอนการพัฒนาตามวงจรคุณภาพดังนี้ ๑ P=Plan คือการวางแผนงานตามวัตถุประสงค/เปาหมาย (ศึกษามาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดเนน สพฐ. สพป. กลยุทธ เปาประสงคของโรงเรียน ตัวชี้วัดความสําเร็จ แผนงาน วิชาการ เอกสารงานภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ)

๒ D=Do คือการปฏิบัติตามขั้นตอนในกระบวนการ เชน ศึกษาและวิเคราะหเนื้อหา การอภิปรายและวิพากย การสรุปความรู และการลงมือปฏิบัติในชิ้นงานเพื่อฝกทักษะ

๓ C=Check คือการตรวจสอบความถูกตองและผลลัพธที่เกิดตามลําดับขั้นตอน ให เปนไปตามกระบวนการอยางตอเนื่อง

๔ A=Action คือการปรับปรุงวิธีการใหมีขอบกพรองนอยที่สุดในกระบวนการ SSSD สูกิจกรรมการเรียนการสอน/นําไปฝกทักษะกับผูเรียนแลเผยแพรใหกับเพื่อนครู ฯลฯ

แผนภาพที่ ๓ การตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการ SSSD ตามวงจรคุณภาพ PDCA


๑๖

การบริหารจัดการชั้นเรียนในขณะที่มีการเรียนการสอนเปนภารกิจที่สําคัญยิ่ง มีความเกี่ยวของกับงานดาน วิชาการของทุกสถานศึกษา ทุกโรงเรียนซึ่งถาครูผูสอนทุกคนตระหนักในหนาที่การเรียนการสอน การบริหารจัดการ ดานวิชาการใหเปนระบบ และดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพ โดยใชวงจรเดมมิ่งอยางสม่ําเสมอจริงจัง เชื่อวาทุก สถานศึกษาจะมีงานวิชาการคุณภาพของผูเรียนยอมประสบความสําเร็จ มีสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค อยางแนนอน เพราะงานดานวิชาการเปนงานที่ทาทาย นอกจากนี้ ขาพเจาไดจัดทําสื่อประเภทแบบฝกทักษะ จากการไดจัดทําสื่อการเรียนการสอนมาโดยตลอด ป พ.ศ. ๒๕๕๓ไดดําเนินการศึกษามาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดวิชาภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ของระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ ของหลักสูตรพุทธศักราช ๒๕๕๑ ๗.๓

การตรวจสอบคุณภาพ BP เรื่อง “ การบริหารจัดการชั้นเรียนดวยกระบวนการ SSSD เพื่อยกระดับ

และพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรูภาษาตางประเทศกลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓” ไดดําเนินการตรวจสอบคุณภาพแบบงายๆ ดังนี้ ๑) ทดลองจัดกิจกรรมการเรียนรูตามกระบวนการ SSSD ใหกับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ ในภาคการศึกษาที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๕๖ ๒) จัดกิจกรรมเตรียมความพรอมในชวง ๓ สัปดาหแรกของการเปดภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๗ กับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๑-๓ โดยใชกระบวนการ SSSD และตรวจสอบดวยระบบคุณภาพ PDCA ๓) จัดกิจกรรมอยางตอเนื่องในสัปดาหที่ ๔ ของภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๗ เปนตนมากับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ โดยตามกระบวนการ SSSD และตรวจสอบดวยระบบคุณภาพ PDCA ๗.๔ แนวทางการนํา BP ไปใชประโยชน “ การบริหารจัดการชั้นเรียนดวยกระบวนการ SSSD เพื่อยกระดับและพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู ภาษาตางประเทศกลุมสาระการเรียนรูภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓” มีประโยชนกับบุคคลไดแก ผูเรียน ครูผูสอน ผูบริหารสถานศึกษา หนวยงานสถานศึกษา ผูปกครอง ชุมชน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฯ ซึ่งสรุปประโยชนของนวัตกรรมดังกลาวกับบุคคล และหนวยงานดังกลาวนี้ ๑) ประโยชนตอนักเรียน - นักเรียนไดเรียนรูอยางมีความสุข เกิดทักษะ ประสบการณ ความรูความสามารถตาม มาตรฐาน - นักเรียนมีทักษะในการทํางาน ทํางานรวมกับผูอื่นไดและมีเจตคติที่ดี ใฝเรียนรู และมีเจต คติที่ดีตออาชีพสุจริต


๑๗

- นักเรียนไดเรียนรูจากการคิดวิเคราะห และปฏิบัติจริง - นักเรียนไดเรียนรูจากสิ่งใกลตัว รอบๆ ตัวไปสูโลกของความเปนจริง สามารถนําความรู ทักษะไปปรับใชใหทันกับการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคปจจุบัน - นักเรียนไดฝกทักษะผูนํา ผูตาม มีสวนรวมในการประเมินตนเองและผูอื่น เพื่อการนํา ขอมูล ความรูไปพัฒนาปรับปรุงตนเอง - นักเรียนเกิดความตระหนักใฝเรียนรู มีความรับผิดชอบสูงขึ้น ๒) กระบวนการ SSSD สงผลประโยชนตอ ครูผูสอน / เพื่อนครู - เพื่อนครูไดมีแนวทางการจัดทําสื่อการเรียนการสอนอยางหลากหลาย -เพื่อนครูไดพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน -เพื่อนครูมีความรูความสามารถในการเรียนการสอนตามมาตรฐานที่ ๙ -เพื่อนครูไดพัฒนาผูเรียนไดตรงจุดเนนของ สพป. สพฐ. ขอที่ ๓ ๓)กระบวนการ SSSD สงผลประโยชนตอผูบริหารสถานศึกษา -ผูบริหารสถานศึกษานําไปเปนแนวทางการบริหารจัดการเรื่องการนิเทศการเรียนการสอน ในโรงเรียน -ผูบริหารสถานศึกษานําไปเปนแนวทางในการบริหารจัดการงานดานการพัฒนาบุคลากร ทางการศึกษาตามมาตรฐาน -ผูบริหารสถานศึกษานําไปวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ตามมาตรฐาน -ผูบริหารสถานศึกษาสามารถนําเสนอรูปแบบแนวทางกับเพื่อนครูสถานศึกษาอื่นๆ ๔) กระบวนการ SSSD มีประโยชนตอโรงเรียนสถานศึกษาดังนี้ จากการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลาย และการจัดการเรียนการสอนแบบตาม กระบวนการ SSSD สงผลใหโรงเรียนพัฒนานักเรียนได - สถานศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุสาระภาษาตางประเทศสูงขึ้น -สถานศึกษาจัดการศึกษาไดตรงตามหลักการและจุดมุงหมายของหลักสูตร


๑๘

- สถานศึกษาไดรับรางวัลดีเดนประเภทตางๆ และเปนที่ยอมรับของหนวยงานตนสังกัด ผูบริหาร เพื่อนครู โดยทั่วไปจากความรวมมือ รวมใจ ของคณะครู นักเรียน และผูปกครอง ๘. ผลสําเร็จที่เกิดจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงคของ BP) ๘.๑ ผลสําเร็จเชิงปริมาณ ๘.๑.๑ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ โรงเรียนบานแกงหลวง สามารถ อาน เขียน ภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐานไดตามมาตรฐานตัวชี้วัดรอยละ ๘๐ ๘.๑.๒ - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ เกิดความตระหนักใฝเรียนรู มีความรับผิดชอบ สูงขึ้น รอยละ ๘๐ ๘.๑.๓ ครู/สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนไดสอดคลองกับเปาหมายการศึกษาและความ ตองการของผูเรียน ผูปกครองอยางนาพอใจรอยละ ๙๐ ๘.๒

ผลสําเร็จเชิงคุณภาพ ๘.๒.๑ นักเรียนมีทักษะการฟง การพูด การอานและ การเขียน ผานเกณฑมาตรฐานและ

เกณฑที่โรงเรียนกําหนด ๘.๒.๒ ผูเรียนมีความรู ความเขาใจมีทักษะการเรียนรูและมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น ๘.๒.๓ ครูผูสอน/สถานศึกษามีกระบวนการในการจัดการเรียนการสอนในการใชเทคนิค อยางหลากหลายที่เหมาะสมกับวัย และใชสอนไดจริงกับระดับชั้นมัธยมศึกษา ๘.๓ ความพึงพอใจของผูเกี่ยวของตอ BP ใชการสํารวจความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมและเจตคติ ที่มีตอการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ๘.๔ ปจจัยความสําเร็จของการพัฒนา BP ประสบการณจากการนํา BP ไปใช - นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑-๓ โรงเรียนบานแกงหลวง ปการศึกษา ๒๕๕๕๒๕๕๗มีพัฒนาการดานทักษะการเรียนรูภาษาตางประเทศได ตามเปาหมายและวัตถุประสงคอยางนาพอใจ - นักเรียนมีความพึงพอใจ ในการรวมกิจกรรมและในการรวมกิจกรรมแตละครั้งมีความ ยินดีเต็มใจ ในการพัฒนาทักษะ เพราะเห็นความสําคัญของการเรียนภาษาตางประเทศเพื่อนําไปใชไดในชีวิตแหงการ เรียนรู - เพื่อนครูในโรงเรียน/ตางโรงเรียน เกิดแรงบันดาลใจในการจัดการเรียนการสอน ในแตละ สาระการเรียนรูตามกระบวนการดังกลาวเพิ่มขึ้นอยางนาภาคภูมิใจ


๑๙

๙. กระบวนการตรวจสอบซ้ํา เพื่อการพัฒนาปรับปรุง ใหเกิดผลดีอยางตอเนื่อง ๙.๑วิธีตรวจสอบซ้ํา BP ในการตรวจสอบ/พัฒนาปรับปรุงกระบวนใหเกิดผลดีอยางตอเนื่อง โดยการสอบถามจาก เพื่อนครูที่นําไปทดลองใชกับนักเรียน และขาพเจาจะดําเนินการพัฒนา ปรับปรุง โดยใชวงจรเดมมิ่ง อยางสม่ําเสมอ ดังนี้

P=Plan วางแผนตาม วัตถุประสงค/เปาหมาย

D=DO ปฏิบัติตามขั้นตอน (พัฒนา/ปรับ แกไข)

A=Action นําไปใช/ สรุปผล/ประเมินผล

C=Check ตรวจสอบ เพิ่มเติมความถูกตอง

๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้ําเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP ในการพัฒนากระบวนการดังกลาว โดยเริ่มดําเนินการทดลองใชกับนักเรียนในภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๖ จนถึงปจจุบันภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๗ โดยการนํากระบวนการ SSSD มาใชกับนักเรียนอยางสม่ําเสมอ ซึ่ง โดยภาพรวม ผลการตรวจสอบ เพื่อพัฒนาสื่อดังกลาวพอสรุปดังนี้ - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ สามารถจดจําคําและประโยคที่ใชในการสื่อสารและเปน ฐานความรูเพิ่มขึ้นจากความรูเดิม รอยละ ๗๐ - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ สามารถจดจําคําและประโยคสนทนาในชีวิตประจําวัน และในการเดินทางที่ใชในการสื่อสารและเปนฐานความรูเพิ่มขึ้นจากความรูเดิม รอยละ ๗๕ - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สามารถอานเรื่อง จดจําคําศัพทและประโยคสนทนาใน ชีวิตประจําวันและในการสื่อสารเพื่อสื่อความและเปนฐานความรูเพิ่มขึ้นจากความรูเดิม รอยละ ๘๐


๒๐

๑๐.การประชาสัมพันธผลสําเร็จของ BP และการเผยแพรขยายผลในวงกวาง การเผยแพร โรงเรียนบานแกงหลวง เปนโรงเรียนดีประจําตําบล และโรงเรียนดีศรีตําบล ของกระทรวงศึกษาธิการ ตั้งแตปการศึกษา ๒๕๕๔ อีกทั้งยังไดผานการประเมินสถานศึกษาพอเพียงของกระทรวง ศึกษาธิการ ปการศึกษา ๒๕๕๗ และเปนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาขนาดกลางที่มีผลงานประสบความสําเร็จหลายดาน จนเปนที่ ยอมรับของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา และตางเขตพื้นที่ฯ มาขอเยี่ยมชมผลงานครู นักเรียน โครงการ กิจกรรม ตางๆ เปนที่ประจักษเสมอมา ดังนั้นการเผยแพรผลงานการแบงปน จากความเปนกัลยณมิตรของอาชีพครู จึงได แบงปนใหเพื่อนครูเสมอมา การขยายผล ผูบริหารสถานศึกษาและครูผูสอนในโรงเรียนบานแกงหลวง ไดนําแนวคิดและหลักการจัดการเรียนการ สอนตามกระบวนการ SSSD ไปจัดการเรียนรูในกลุมสาระตางๆ เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีศักยภาพอยางตอเนื่องและมี การเตรียมความพรอมในการเปนประชาคมอาเซียนอยางสมบูรณ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.