Best Practice นางมลฤดี บริเอก ครู รร.บ้านห้วยน้ำขาว

Page 1

Best Practice (การปฎิบัติที่เปนเลิศ) กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี

นางมลฤดี บริเอก ตําแหนง ครู วิทยฐานะชํานาญการ โรงเรียนบานหวยน้าํ ขาว อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี สํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 ๑

Page ๑


๑. ชื่อผลงาน BP

การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูความเปนเลิศโดยใช ทักษะ ปฏิบัติตอความคิด สรางสรรค กลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานประดิษฐ) ชั้น ประถมศึกษาปที่ ๖ ดาน ( / ) วิชาการ ( ) บริหารจัดการศึกษา ( ) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ๒. ขอมูลทั่วไปของผูพัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผูเสนอผลงาน นางมลฤดี บริเอก ๒.๒ โรงเรียน/หนวยงาน

โรงเรียนบานหวยน้ําขาว ตําบลบานเกา อําเภอเมือง สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ เครือขายพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา

๒.๓ โทรศัพท มือถือ ๐๘๙ ๘๒๘๙๘๒๗

e –mail Kufon14@hotmail.com

๓. เปาหมาย/ วัตถุประสงคของการพัฒนา ๑. เพื่อศึกษาทักษะการปฏิบัติงานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ที่ไดรับการจัดกิจกรรมการ เรียนรูทักษะปฏิบัติ ๒. เพื่อศึกษาความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ ที่ไดรับการจัดกิจกรรมการเรียนรู ทักษะปฏิบัติ ๓. เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุมการงานอาชีพและเทคโนโลยี (สาระงาน ประดิษฐ) ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ กอนและหลังเรียน ๔. เพื่อพัฒนาทักษาการทํางานสูอาชีพ ๕. เพื่อปลูกฝงเจตคติตอการทํางานเห็นคุณคาของการทํางาน มีนิสัยรักการทํางาน ๖. เพื่อปลูกฝงความอุตสาหะ ความอดทน และความรับผิดชอบ ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ( ระบุชวงเริ่มตนของการพัฒนา และระยะเวลาที่ใชในการพัฒนา BP ) ในการพัฒนาตลอดปการศึกษา ๒๕๕๕ ถึง ปการศึกษา ๒๕๕๖ ๕. ความเชื่อมโยง / สัมพันธระหวาง BP กับเปาหมายจุดเนนของ สพป./ สพฐ./ สถานศึกษา การจัดการศึกษาที่ประสบความสําเร็จบรรลุตามเปาหมายของการศึกษาตองคํานึงถึงความแตกตาง ระหวางบุคคล รวมถึงความถนัด และความสนใจ ของผูเรียนเปนสําคัญ สอดคลองกับ พระราชบัญญัติการศึกษา แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๒๔ กลาวถึงความสําคัญของการจัดกระบวนการเรียนรู โดยคํานึงถึงความสนใจ ความถนัดของผูเรียน และ ความแตกตางระหวางบุคคล รวมทั้งการฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณ และการ ประยุกตความรูมาใชแกปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน พัฒนาผูเรียนไดเต็มตามศักยภาพ กระทรวงศึกษาธิการ (๒๕๕๓: ๙-๑๐) ตระหนักและเห็นความสําคัญ ของความคิดสรางสรรค และทักษะกระบวนการทํางาน เพื่อเปนพื้นฐานใหกับนักเรียนระดับประถมศึกษา จึงได ๑

Page ๒


กําหนดมาตรฐานใหกับนักเรียนในมาตรฐานที่ ๔ คือ ใหผูเรียนมีความคิดสรางสรรค การพัฒนาบุคคลใหมี ความคิดสรางสรรคในการคิด และมาตรฐานที่ ๙ เปนมาตรฐานดานทักษะในการทํางานรักการทํางานการทํางานที่ ถูกขั้นตอนจนเกิดความชํานาญและผลงานที่มีความคิดสรางสรรคเปนความสามารถในการคิดประดิษฐสรางสรรค จะนําไปสูการพัฒนาดานตางๆ อยางไมรูจบ ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ สังคม หรือการเมือง ครูทุกคนควรให ความสําคัญกับเรื่องการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรคใหกับผูเรียนอยางจริงจัง การประดิษฐ สรางสรรคเปนความสามารถที่สําคัญอยางหนึ่งของมนุษย ซึ่งมีคุณคามากกวาดานอื่นๆ และเปนปจจัยที่จําเปนยิ่ง ในการสงเสริมความเจริญกาวหนาของประเทศชาติ การสงเสริมและพัฒนาความคิดสรางสรรค จากการศึกษาพัฒนาความคิดสรางสรรค พบวา เด็กอายุ ระหวาง ๘-๑๐ ป วัยนี้ชอบสํารวจสิ่งตางๆ คนควา ชอบเรียนจากประสบการณตรงชวงเวลาของความสนใจจะ นานขึ้น เด็กจะชอบทดลองทุกสิ่งทุกอยางเพื่อประสบการณ มีคําแนะนําวาเด็กชวงอายุ ๘-๑๐ ป ควรใหโอกาส เด็กไดสํารวจ ไดสรางไดกระทําสิ่งตางๆ ดวยตนเอง เปนชวงเวลาสําหรับการสํารวจความสามารถ เปนชวงเวลา สําหรับการใหเด็กไดเรียนรูในการทํางานที่ยากขึ้นเรื่อยๆ และทาทายใหพวกเขาไดเรียนรูถึงสิ่งที่ยากตางๆ การ สงเสริมพัฒนาความคิดสรางสรรค การจัดการเรียนรูในงานประดิษฐเปนการพัฒนาผูเรียนดานทักษะกระบวนการทํางานและความคิด สรางสรรค ซึ่งครูควรตระหนักถึงปญหาที่ตองการไดรับการพัฒนา และทําการศึกษาคนควา วิธีการเรียนรูที่ เหมาะสม ผูวิจัยจึงศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู เพราะเปนวิธีหนึ่งที่จะชวยพัฒนาทักษะปฏิบัติงานในการคิด แกปญหา หาคําตอบ การใชจินตนาการในการหาคําตอบ และวางแผนการทํางานเพื่อใหไดมาซึ่งผลผลิตอยาง สรางสรรค ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นํามาใชในการพัฒนา BP ๑. การจัดการเรียนรู การจัดการเรียนรูเปนการจัดการเรียนรูที่เนนการพัฒนาดานทักษะพิสัย เปนรูปแบบที่ชวยพัฒนา ความสามารถของนักเรียนใหเกิดทักษะการทํางานโดยอัตโนมัติ มีคลองแคลว รวดเร็ว และชํานาญการ ซึ่ง รูปแบบการจัดการเรียนรูทักษะปฏิบัติ มีรายละเอียด ดังนี้ ๑.๑ การสอนทักษะปฏิบัติ นักวิชาการไดเสนอแนวการสอนทักษะปฏิบัติ ไวดังนี้ ดี เชคโก (De Cecco, ๑๙๖๘: ๓๐๙-๓๑๙) ไดเสนอวิธีการสอนเพื่อใหเกิดทักษะปฏิบัติ ไว ดังนี้ ๑. วิเคราะหทักษะที่จะสอน เปนขั้นแรกของการสอนทักษะโดยที่ผูสอนจะตอง วิเคราะหงาน ที่จะใหผูเรียนปฏิบัติกอนวางานนั้นประกอบดวยทักษะยอยอะไรบาง ๒. ประเมินความสามารถเบื้องตนของผูเรียน วาผูเรียนมีความรูความสามารถ พื้นฐานเพียง พอที่จะเรียนทักษะใหมหรือไม ถายังขาดความรูความสามารถที่จําเปนตอการเรียน ทักษะนั้นก็ตองเรียนเสริม ใหมีพื้นฐานความรูเพียงพอเสียกอน ๓. จัดขั้นตอนการฝกใหเปนไปตามลําดับขั้นจากงายไปยาก จากทักษะพื้นฐาน ไปสูทักษะที่มี ความสลับซับซอน จัดใหมีการฝกทักษะยอยเสียกอน แลวฝกรวมทั้งหมด ๔. สาธิตและอธิบายแนะนํา เปนขั้นใหผูเรียนไดเห็นลําดับขั้นตอนการปฏิบัติจากตัวอยางที่ ผูสอนสาธิตใหดู หรือจากภาพยนตร จากวีดีทัศน ซึ่งจะทําใหผูเรียนเห็นรายละเอียด การปฏิบัติในขั้นตอนตางๆ ไดอยางชัดเจน ๕. จัดใหผูเรียนไดฝกปฏิบัติจริง โดยคํานึงถึงหลักการตอไปนี้ ๑

Page ๓


๕.๑ ความตอเนื่อง จัดใหผูเรียนไดปฏิบัติทักษะที่เรียนตามลําดับขั้นตอนอยางตอเนื่องกัน ๕.๒ การฝกหัด ใหผูเรียนไดฝกทักษะ เนนทักษะยอยที่สําคัญ ปรับปรุงแกไข ขอบกพรอง ในสวนที่ผิด ในการฝกนี้ตองจัดแบงเวลาฝก เวลาพักใหเหมาะสม ๕.๓ การใหแรงเสริม โดยใหเรียนไดผลของการฝกปฏิบัติ (Feedback) ซึ่งมี ๒ ทาง คือ การรูผลจากภายนอก (Extrinsic Feedback) คือจากคําบอกกลาวของครูวาดี หรือบกพรองอยางไร ควรแกไข อยางไร ผูเรียนเกิดความกาวหนาไปถึงขั้นที่จะเพิ่มพูน ความชํานาญ เขาจะไดโดยการสังเกตดวยตนเอง เปน การรูผลจากภายในตนเอง ๑.๒ ขั้นตอนการจัดการเรียนรูทักษะปฏิบัติของซิมพซัน ซิมพซัน (Simpson, ๑๙๗๒: ๑๑๐) ไดนําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะ ปฏิบัติวา เปนเรื่องที่มีความเกี่ยวของกับพัฒนาการทางกายของนักเรียน เปนความสามารถในการประสานการทํางาน ของกลามเนื้อหรือรางกาย ในการทํางานที่มีความซับซอน และตองอาศัย ความสามารถในการใชกลามเนื้อ หลายๆ สวน การทํางานดังกลาวเกิดขึ้นไดจากการสั่งงานของสมอง ซึ่งตองมีความสัมพันธกับความรูสึกที่ เกิดขึ้น ทักษะปฏิบัตินี้สามารถพัฒนาดวยการฝกฝน ซึ่งหากไดรับการฝกฝนที่ดีแลวจะเกิดความถูกตองความ คลองแคลว ความเชี่ยวชาญ ชํานาญการ และความคงทน ผลของพฤติกรรมหรือการกระทําสามารถสังเกตได จากความรวดเร็ว ความแมนยํา ความเร็วหรือความราบรื่นในการจัดการเรียน วัตถุประสงคของรูปแบบจัดการ เรียนทักษะปฏิบัติของซิมพซัน เพื่อใหผูเรียนสามารถปฏิบัติหรือกระทําแสดงออกอยางคลองแคลว ถูกตอง ชํานาญ ในทักษะที่ตองการ และ ชวยพัฒนาความคิดสรางสรรค ความอดทน การปรับพัฒนาทักษะให เชี่ยวชาญ มีคุณคายิ่งขึ้น ซิมพซัน (Simpson, ๑๙๗๒: ๑๑๐-๑๑๔) ไดสรุปขั้นตอนการจัดการเรียนรูทักษะปฏิบัติไว ดังนี้ ขั้นที่ ๑ ขั้นการรับรู (Perception) เปนขั้นการใหนักเรียนรับรูในสิ่งที่จะทํา โดยใหนักเรียน สังเกตการทํางานนั้นอยางตั้งใจ ขั้นที่ ๒ ขั้นการเตรียมความพรอม (Readiness) เปนขั้นการปรับตัวใหพรอมเพื่อการ ทํางานหรือแสดงพฤติกรรมนั้น ทั้งทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ โดยการปรับตัวใหพรอมที่จะเคลื่อนไหวหรือ แสดงทักษะนั้นๆ และมีจิตใจและสภาวะอารมณที่ดีตอการที่จะทําหรือแสดงทักษะนั้นๆ ขั้นที่ ๓ ขั้นการสนองตอบภายใตการควบคุม (Guided Response) เปนขั้นที่ใหโอกาสแก นักเรียนในการตอบสนองตอสิ่งที่รับรู ซึ่งอาจใชวิธีการใหนักเรียนเลียนแบนการกระทํา หรือการแสดงทักษะ นั้น หรือาจใชวิธีการใหนักเรียนลองผิดลองถูก จนกระทั่ง สามารถตอบสนองไดอยางถูกตอง ขั้นที่ ๔ ขั้นการใหลงมือกระทําจนกลายเปนกลไกที่สามารถกระทําได(Mechanism) เปน ขั้นที่ชวยใหนักเรียนประสบผลสําเร็จในการปฏิบัติ และเกิดความเชื่อมั่นใน การทําสิ่งนั้นๆ ขั้นที่ ๕ ขั้นการกระทําอยางชํานาญ (Complex Overt Response) เปนขั้นที่ชวยให นักเรียนไดฝกฝนการกระทํานั้นๆ จนนักเรียนสามารถทําไดอยางคลองแคลวชํานาญ เปนไปโดยอัตโนมัติ และ ดวยความเชื่อมั่นในตนเอง ขั้นที่ ๖ ขั้นการปรับปรุงและประยุกตใช เปนขั้นที่ชวยใหนักเรียนปรับปรุงทักษะหรือ การปฏิบัติของตนใหดียิ่งขึ้น และประยุกตใชทักษะที่ตนไดรับการพัฒนาในสถานการณ ตางๆ ใน การกระทํา หรือปรับการกระทํา หรือปรับการกระทําใหเปนไปตามที่ตนตองการ ขั้นที่ ๗ ขั้นการคิดริเริ่ม เปนขั้นที่นักเรียนสามารถปฏิบัติหรือกระทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยาง ชํานาญ และสามารถประยุกตใชในสถานการณที่หลากหลายแลว ผูปฏิบัติจะเริ่มเกิดความคิดใหมๆ ในการ กระทํา หรือปรับการกระทํานั้นใหเปนไปตามที่ตนตองการ ๑

Page ๔


จะเห็นวาทฤษฎีการฝกทักษะไดแบงขั้นตอนการฝกไวอยางเปนลําดับเริ่มจากการรับรูที่เปน การเตรียมผูเรียนใหเกิดความพรอม กอนที่จะลงมือปฏิบัติการฝกทักษะตางๆ จากการศึกษาดังกลาว ผูวิจัยจึง สนใจนําขั้นตอนการจัดการเรียนทักษะปฏิบัติตามรูปแบบของซิมพซันทั้ง ๗ ขั้นตอนมาใช

Page ๕


๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุมเปาหมายในการนํา BP ไปใช (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจํานวน กลุมเปาหมาย ) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ โรงเรียนบานหวยน้ําขาวที่เรียนกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี ปการศึกษา ๒๕๕๖ จํานวน ๔๘ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP ( อาจระบุเปนแผนภาพ / แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา)

Best Practice เตรี ยมการวางแผน Plan สํารวจความสนใจ

สร้ างความตระหนัก

ดําเนินการ Do

ตรวจสอบและประเมินผลงาน Check ตรวจสอบผลการปฏิบตั ิงานของนักเรี ยน

Action สรุปและรายงานผล ๑

Page ๖


๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP ( ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได ) ๑. ประเมินกอนเรียนกลุมเปาหมาย ๒. ประเมินผลหลังเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ๓. จัดนิทรรศการจากความสําเร็จในการจัดองคความรูในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ๗.๔ แนวทางการนํา BP ไปใชประโยชน ใชพัฒนาทักษะการทํางานกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีและสาระอื่นๆ ให นักเรียนสามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน ๘. ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP ( เปรียบเทียบกับวัตถุประสงคของ BP ) ๘.๑ ผลสําเร็จเชิงปริมาณ ๑. นักเรียนไดรับรางวัลและเกียรติบัตรจากการแขงขันทักษะทางวิชาการรอยละ๘๐ ระดับภาคของ นักเรียนที่เขารวมแขงขัน ๒. นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนกลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีรอยละ๘๐ ๓. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ๔.. คาคะแนนสอบ O –NET ป ๒๕๕๖ มีคาสูงกวา ป ๒๕๕๕ รอยละ ๒.๔๕ ๘.๒ ผลสําเร็จเชิงคุณภาพ - ครูผูสอนนักเรียน ไดรับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรม การแขงขันจักสานไมไผ ระดับชั้นป. ๔ – ป. ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาค ภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๒ ปการศึกษา ๒๕๕๕ ณ จังหวัดระยอง - ครูผูสอนนักเรียน ไดรับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรม การแขงขันประดิษฐของใชจากวัสดุ ทองถิ่น ระดับ ชั้นป.๔ – ป. ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาค ภาคกลางและ ภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๒ ปการศึกษา ๒๕๕๕ ณ จังหวัดระยอง

Page ๗


- ครูผูสอนนักเรียน ไดรับรางวัลเหรียญเงิน กิจกรรม การแขงขันจักสานไมไผ ระดับชั้นป.๔ – ป. ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑

ปการศึกษา ๒๕๕๖

- ครูผูสอนนักเรียน ไดรับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๑ กิจกรรม การแขงขัน ประดิษฐของ ใชจากวัสดุทองถิ่นระดับชั้นป.๔ – ป. ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๖

- ครูผูสอนนักเรียน ไดรับรางวัลเหรียญทอง รองชนะเลิศอันดับที่ ๑ กิจกรรม การแขงขัน แกะสลักผัก ผลไมระดับชั้นป.๔ – ป. ๖ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับ เขตพื้นที่ การศึกษา ประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๖ - ครูผูสอนนักเรียน ไดรับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรม การแขงขันแกะสลักผักผลไมระดับชั้น ม.๑ – ม. ๓ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับ เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ ปการศึกษา ๒๕๕๖ - ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ ๒ กิจกรรม เตาเผาถานเก็บน้ําสมควันไม ในงานเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน (KM)

ระดับภาค ภาคกลาง

และภาคตะวันออก ปการศึกษา ๒๕๕๕ - ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ ๑ กิจกรรม เตาเผาถานเก็บน้ําสมควันไม ในงานเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน (KM)

ระดับภาค ภาคกลาง

และภาคตะวันออก ปการศึกษา ๒๕๕๖ - ไดรับรางวัลเกียรติบัตร ระดับเหรียญเงิน กิจกรรม การผลิตปุยอินทรีย โครงการอาหาร กลางวัน แบบยั่งยืน (KM) ดีเดน ในงานเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู ระดับชาติ ปการศึกษา ๒๕๕๔ ณ จังหวัดเชียงใหม - ไดรับรางวัลเกียรติบัตร ระดับเหรียญทองแดง กิจกรรม การผลิตปุยอินทรีย โครงการ อาหารกลางวันแบบยั่งยืน (KM) ดีเดน

ในงานเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู ระดับชาติ ป

การศึกษา ๒๕๕๖ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี จังหวัดสงขลา ๑

Page ๘


๘.๓ ความพึงพอใจของผูเกี่ยวของตอ BP ( ระบุคารอยละของความพึงพอใจจากผูเกี่ยวของ และวิธีการไดมาเกี่ยวกับขอมูลความพึงพอใจ ๑. นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนกลุมสาระการงานอาชีพรอยละ ๘๐ ๒. ครูในโรงเรียนมีความพึงพอใจตอผลสําเร็จของนักเรียนรอยละ ๑๐๐ ๓. ผูปกครองและชุมชนมีความภาคภูมิใจในตัวนักเรียนรอยละ ๘๕ ๘.๔ ปจจัยความสําเร็จของการพัฒนา BP / ประสบการณเรียนรูจากการนํา BP ไปใช จากการจัดกิจกรรมการเรียนรูทําใหนักเรียนไดนําเสนอผลงานจากการเรียนรูของตนเองดวย ความภาคภูมิใจ ยังมีโอกาสไดเผยแพรผลงานแกผูที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา ผูปกครอง ครู นักเรียน โรงเรียนอื่นๆ

ในการพัฒนาการเรียนรูมีวิธีการทํางานที่มีประสิทธิภาพดังนี้

๑. วิเคราะหหลักสูตรและผลการเรียนรู เพื่อใหรูเปาหมายของการจัดการเรียนรู ๒. ทํางานรวมกันเปนทีมเพื่อแบงปนประสบการณ แลกเปลี่ยนเรียนรู ๓. นําความรูไ ปประยุกตใชเพื่อใหมีผลงานที่มีประสิทธิภาพสงผลถึงเปาหมายกรพัฒนา คุณภาพการศึกษา และยังมีปจจัยอื่นๆอีก เชน ผูบริหาร มีวิสัยทัศนกวางไกลเห็นความสําคัญในการจัด กระบวนการเรียนการสอนทั้งในและนอกโรงเรียน สงเสริมสนับสนุนใหเขารับการอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ใหขวัญกําลังใจ คณะครู สงเสริมการจัดกิจกรรม ผูปกครอง สนับสนุนชวยเหลือดูแลเกี่ยวกับเด็กใหรวมกิจกรรมกับโรงเรียนอยางสม่ําเสมอนักเรียน กระตือรือรนใหความรวมมือในการปฏิบัติกิจกรรม ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้ําเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ใหเกิดผลดีอยางตอเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้ํา ตรวจสอบปญหาเพื่อหาสาเหตุขอบกพรองแตละขั้นตอนแลวนํามาปรับปรุงแกไขและหารูปแบบใหมๆ นาสนใจจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหเหมาะสมกับวัยของผูเรียน ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้ําเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง ๑. ผูบริหาร พึงพอใจในผลงานของนักเรียน ๒. นักเรียนสามารถพัฒนาการเรียนกลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑

Page ๙


๑๐. การประชาสัมพันธผลสําเร็จของBP และการเผยแพร ขยายผล ในวงกวาง ( ระบุวัน เวลา และ รูปแบบ / วิธีการประชาสัมพันธ เผยแพรและขยายผล) - เขารวมจัดนิทรรศการการกองงานชื่นชอบนิทรรศการ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ภาค กลางและภาค ตะวันออก ครั้งที่ ๖๑ ปการศึกษา ๒๕๕๔ ณ จังหวัดกาญจนบุรี - เขารวมจัดนิทรรศการการกองงานชื่นชอบนิทรรศการ งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับ เขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ครั้งที่ ๖๒ ปการศึกษา ๒๕๕๕ ณ จังหวัดกาญจนบุรี - เขารวมจัดนิทรรศการในงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน (KM) กิจกรรม ปุยอินทรีย ระดับชาติ ปการศึกษา ๒๕๕๔ ณ จังหวัดเชียงใหม - เขารวมจัดนิทรรศการในงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน (KM) กิจกรรม เตาเผาถานเก็บน้ําสมควันไม ระดับภาค ภาคกลางและภาคตะวันออก ป การศึกษา ๒๕๕๕ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบุรี - เขารวมจัดนิทรรศการในงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน (KM) กิจกรรม ปุยอินทรีย ระดับภาค ภาคกลางและภาคตะวันออก ปการศึกษา ๒๕๕๕ ณ วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีกาญจนบุรี - เขารวมจัดนิทรรศการในงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน (KM) กิจกรรม เตาเผาถานเก็บน้ําสมควันไม ระดับภาค ภาคกลางและภาคตะวันออก ป การศึกษา ๒๕๕๖ ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบุรี - เขารวมจัดนิทรรศการในงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน (KM) กิจกรรม ผลิต ปุยอินทรีย ระดับภาค ภาคกลางและภาคตะวันออก ปการศึกษา ๒๕๕๖ ณ วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีกาญจนบุรี - เขารวมจัดนิทรรศการในงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน (KM) กิจกรรม ผลิตปุยอินทรีย ระดับชาติ ปการศึกษา ๒๕๕๖ ณ วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยี จังหวัดสงขลา

Page ๑๐


เอกสารอางอิง

Page ๑๑


เกียรติบัตรที่ไดรับ

Page ๑๒


Page ๑๓


Page ๑๔


Page ๑๕


Page ๑๖


ภาพกิจกรรม

Page ๑๗


จัดนิทรรศการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ ๖๑ สาธิตงานจักสาน(ดอกไม)

จัดนิทรรศการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ ๖๒ สาธิตงานจักสาน(เขงไมไผ)

Page ๑๘


จัดนิทรรศการในงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู โครงการอาหารกลางวัน แบบยั่งยืน (KM) กิจกรรม ปุยอินทรีย ระดับภาค ณ วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีกาญจนบุรี

จัดนิทรรศการในงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู โครงการอาหารกลางวัน แบบยั่งยืน (KM) กิจกรรม ปุยอินทรีย ระดับชาติ ณ จังหวัด เชียงใหม

Page ๑๙


จัดนิทรรศการในงานเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู โครงการอาหารกลางวัน แบบยั่งยืน (KM) กิจกรรม ปุยอินทรีย ระดับชาติ ณ วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีสงขลา

ผลงานการแขงขันของนักเรียน

Page ๒๐


Page ๒๑


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.