Best Practice สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
นายกฤษกรณ์ วงศ์สทิ ธิพิศาล ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนวัดทุง่ ลาดหญ้า “ลาดหญ้าวิทยา” สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
คานา เอกสารฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อเสนอผลงานวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ที่ผู้ขอเข้า รับการประเมินได้รวบรวมข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนาเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice ระยะเวลาในการพัฒนาความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ระหว่าง Best Practice กับ เป้าหมายแนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในกระบวนการพัฒนาBest Practice ให้เกิดผลดีอย่าง ต่อเนื่องขอขอบพระคุณนายไกรพจน์ บุญประเสริฐ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดทุ่งลาดหญ้า “ลาด หญ้าวิทยา”คณะครูผู้ปกครองนักเรียนและศิษย์ทุกรุ่นที่มีส่วนเกี่ยวข้องทาให้การปฏิบัติงานใน หน้าที่ของครูประสบผลสาเร็จด้วยดี กฤษกรณ์ วงศ์สิทธิพิศาล
สารบัญ ชื่อเรื่อง คานา สารบัญ ชื่อผลงาน ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP เป้าหมาย/ วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนา BP ความเชื่อมโยง/ ความสัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/ จุดเน้นของสพป./ สพม. / สพฐ. แนวคิดหลักการทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP กระบวนการพัฒนา BP ขั้นตอนการพัฒนา BP การตรวจสอบคุณภาพ BP แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ผลสาเร็จที่เกิดจากการพัฒนา BP ( เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง ภาพการจัดกิจกรรม
หน้า 1 1 1 1 2 3 4 4 6 6 7 8 10-20
Best Practice สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนยอดเยี่ยม ชื่อผู้พัฒนา ตาแหน่ง โทรศัพท์ E –mail :
นายกฤษกรณ์ วงศ์สิทธิพิศาล ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนวัดทุ่งลาดหญ้า “ลาดหญ้าวิทยา” สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 1 0879261169 krisakorn3300@gmail.com
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการพัฒนา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2. เพือ่ ช่วยครูผู้สอนมีสื่อการเรียนการสอนให้ความน่าสนใจกับผู้เรียนมากยิ่งขึ้น 3. ในกรณีที่ครูผู้ สอนไม่ส ามารถเข้าสอนได้ สามารถให้ ครูท่านอื่นเข้าสอนแทนได้โดยใช้ บทเรียนสาเร็จรูปนี้เปิดให้กับนักเรียน 4. ให้นักเรียนที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่บ้านสามารถที่จะนาบทเรียนสาเร็จรูปคอมพิวเตอร์ช่วย สอนนี้กลับไปศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง 5. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีของ นักเรียนให้สูงขึ้น 6. เพื่อพัฒนาผลการสอบ O-NETให้สูงขึ้น เป้าหมาย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีขอองนักเรียนให้สูงขึ้น 2.ผลสัมฤทธิ์ทางการสอบO-NETให้สูงขึ้น 3.มีสื่อในการจัดการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา คอมพิวเตอร์ให้แปลกใหม่น่าสนใจ ระยะเวลาในการพัฒนาพฤศจิกายน2555- ปัจจุบัน
ความเชื่อมโยง /ความสัมพันธ์ระหว่าง BPกับเป้าหมาย /จุดเน้นของสพป./สพฐ/สถานศึกษา ทิศทางและนโยบายการจัดการศึกษาไทย เกี่ยวกับการจัดการการศึกษาที่ต้องพัฒนาคุณภาพ การศึกษาไทยที่เตรียมปรับเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษานั้น จะพัฒนา ตามหลัก3N ได้แก่ Ned Net โครงข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ NEIS ศูนย์กลางรวบรวม จัดเก็บ และ เชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาNLC ศูนย์เรียนรู้แห่งชาติ เพื่อให้ผู้เรียนได้มีการเรียนรู้ด้วย ตนเองตลอดเวลา มีการพัฒนาผู้เรียนสู่การเป็นพลเมืองอาเซียน การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ความเอื้อ อาทร โดยใช้การศึกษาเป็นกลไกในการสร้างวัฒนธรรมใหม่ นักศึกษาที่จบจากอาชีวศึกษาจะต้องเป็น แรงงานที่มีคุณภาพ มีทักษะการทางานร่วมกันในประชาคมอาเซียน ดังนั้นการจัดการศึกษาจึงต้องมีการเพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกั บเทคโนโลยีใหม่ๆ ในหลักสูตรการ เรียนการสอน และปรับปรุงให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษาตาม แนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ตาม มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่านักเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่านักเรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้นักเรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ในหมวดเ9เได้กล่าวถึงเรื่องเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาไว้อย่ าง ชัดเจน มาตรา 64 กล่าวว่ารัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบตาราหนังสือทาง วิชาการสื่อสิ่งพิมพ์วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจึง ควรใช้รูปแบบหรือกลวิธีที่เหมาะสมกับผู้เรียนโดยคานึงถึงความต้องการความสนใจความถนัดวิธีการ เรียนรู้ของผู้เรียนและการให้ผู้เรียนได้ร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองให้ได้มากที่สุดเพฤติกรรมการ สอนของครูต้องเปลี่ยนไปจากเดิมที่เคยสอนแบบบรรยายบอกสั่งประเมินมาเป็นครูมีบทบาทในการเป็น ผู้อานวยการชี้แนะร่วมวางแผนให้คาปรึกษาและประเมินแบบมีส่วนร่ วมจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยมุ่งให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกันได้ตัดสินใจได้สะท้อนความคิดเห็นได้ให้เหตุผลเพื่อ ยืนยันความคิดของตนและได้แก้ปัญหาครูควรใช้แหล่งความรู้ที่หลากหลายเช่นวีดิทัศน์คอมพิวเตอร์ช่วย สอนไม่ควรใช้หนังสือเรียนเพียงอย่างเดี ยวครูจะมีฐานะเป็นผู้ชี้แนวทางครูต้องช่วยให้ผู้เรียนได้สร้าง ความหมายและอธิบายด้วยตนเองได้ ปัจจุบันนักการศึกษาและนักวิจัยเได้มีการนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในบทบาทเป็นผู้สอน อย่างกว้างขวางเผลจากการสังเคราะห์งานวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศพบว่าการเรียนโดยใช้ คอมพิวเตอร์มีบทบาทเป็นผู้สอนทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้นเมื่อเทียบกับวิธีสอน แบบปกติที่ใช้ครูเป็นผู้ สอนทั้งนี้เนื่องจากมัล ติมีเดียเป็นสื่อที่ทันสมัยมีลักษณะพิเศษเและมีพลังการ สื่อสารอย่างมีชีวิตชีวาเดึงดูดความสนใจของนักเรียนด้วยภาพกราฟิกภาพเคลื่อนไหว และเสียงช่วยใน การสื่ อ สารระหว่างนั กเรี ย นกับ คอมพิว เตอร์ด้ว ยเหตุผ ลที่นักเรี ยนโดยตอบสนองความต้องการใน ลักษณะการศึกษารายบุคคลและสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ได้มากขึ้นผู้สอนไม่ต้องเสียเวลาซ้า แล้วซ้าอีกเพราะสามารถรับ ได้ทั้งการอ่านการฟังการเห็ นภาพเคลื่อนไหวที่สมจริง ด้ว ยเหตุดังกล่าว ผู้พัฒนาโปรแกรมสื่อการสอนจึงทาการศึกษารวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผลการวิจัยต่างๆ ทั้งในและ ต่างประเทศ เพื่อสร้างนวัตกรรมที่พัฒนาองค์ความรู้ (K) สร้างทัศนคติที่ดีต่อการเรียน (A) อันเป็น หนทางการนาไปสู่การปฏิบัติจริงได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (P) และจากการสังเคราะห์ ผลการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ก ลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี รายวิ ช า คอมพิ ว เตอร์
ผู้พัฒนาโปรแกรมสื่อการสอนสามารถแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนให้กับเรียนโดยสรุปปัญหาได้ ดังนี้ 1. แก้ไขปัญหาที่เกิดจากโครงสร้างหลักสูตรและเวลาเรียน 1.1 จานวนเวลาที่ใช้ในการเรียนมีอยู่จากัด ขณะที่เนื้อหาของวิชามีมาก ทั้งนี้มีสาเหตุมา จากวันหยุดในเทศกาล และวันสาคัญต่างๆ ที่ตรงกับช่วงเวลาที่ใช้เรียนปกติทาให้สูญเสียเวลาเรียนที่มี อยู่ นอกจากนี้โรงเรียนยังมีการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรซึ่งส่งผลกระทบต่อเวลาเรียนรวมถึงการศึกษา ดูงาน อบรม สัมมนาของครู เป็นต้น จึงทาให้ครูผู้สอนต้องเร่งสอนให้นักเรียนได้รับความรู้จนครบในแต่ ละตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 2. แก้ไขปัญหาที่เกิดจากครูผู้สอน 2.1 เนื่ องจากทางโรงเรียนมีกิจกรรมต่างๆ มากมาย ทั้งกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัด การศึกษาโดยตรง หรือการจัดกิจกรรมของชุมชน หน่วยงานต่างๆ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ครูต้องมีหน้าที่ รับผิดชอบและมีส่วนร่วมในกิจกรรม ทาให้ในบางครั้งครูผู้สอนต้องทิ้งภาระงานสอนตามปกติเพื่อเข้า ร่วมกิจกรรม กิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้บางกิจกรรมจึงต้องยกเลิกออกไป 3. แก้ไขปัญหาที่เกิดจากนักเรียน 3.1 ปัญหาความแตกต่างระหว่างบุคคล ระหว่างนักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียน ระดับสูง ปานกลาง และต่า ทาให้นักเรียนที่มีผลการเรียนต่า นักเรียนที่เรียนรู้ช้า และนักเรียนที่ขาด เรียนบ่อย ประสบปัญหาในการเรียนที่มักเรียนไม่ทันเพื่อน สิ่งเหล่านี้เป็นปัญหาที่ครูผู้สอนต้องแก้ไข ปัญหา โดยการย้อนกลับมาสอน ฝึกปฏิบัติ และทบทวนเนื้อหา ที่นักเรียนไม่เข้าใจหรือเรียนไม่ทันเพื่อน 3.2 ปัญหาความรู้พื้นฐาน พบว่านักเรียนบางคนได้มีการย้ ายมาจากโรงเรียนอื่น ความรู้ พื้นฐานและทักษะด้านคอมพิวเตอร์จากโรงเรียนอื่น เมื่อเทียบเคียงแล้ว นักเรียนมีพื้นฐานและทักษะต่า กว่าเพื่อนในชั้นเรียนอย่างมาก จึงส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน จากปัญหาต่างๆ ทาให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ของผู้เรียนต่า อีกทั้งมีผลการประเมินการสอบO-NET ซึ่งเป็นการประเมินผลระดับชาติมีผลการประเมิน ในระดับต่ากว่าเกณฑ์ที่กาหนด ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่จะต้องพัฒนาการเรียนการสอน วิธีปฏิบัติที่เป็น เลิศ(Best Practices)โดยเน้นกระบวนการเรียนการสอนและสื่อนวัตกรรมการสอนเพื่อให้ ได้มาซึ่ง ผลสั มฤทธิ์ของนั กเรี ย นให้ เกิดของระดับที่สู งขึ้นเป็นที่น่าพอใจในระดับศูนย์ ระดับ เขตพื้นที่ และ ระดับชาติต่อไป แนวคิดหลักการทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา การศึกษาแนวใหม่ได้จาแนกทฤษฎีการสอนโดยใช้สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์3ทฤษฎี คือ 1. ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Gagne ซึ่งนิยามการเรียนรู้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงสมรรถภาพ (capability)เหรือ ความสามารถของมนุษย์ ที่สามารถสังเกตได้จากพฤติกรรมบางประการที่แสดงออก เการเปลี่ยนแปลงนี้เกิดจากการที่มนุษย์ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้ในระยะเวลาหนึ่ง 2. ทฤษฎีโครงสร้างความรู้ (Scheme Theory) เป็นแนวที่เชื่อว่าโครงสร้างภายในของความรู้ที่ มนุษย์มีนั้นจะมีลักษณะเป็นหมวด หรือกลุ่มที่มีการเชื่อมโยงกับกลุ่มความรู้ที่มีอยู่เดิม (Pre – existing
knowledge) รูเมลฮาร์ท และออโทนนี่ (Rumelhart and Ortony. 1997) ได้ให้ คานิยามของคาว่า โครงสร้างความรู้ (Schema) ทั้งนี้เพราะการรับรู้ข้อมูลนั้นเป็นการสร้างความหมาย โดยการถ่ายโอน ความรู้ใหม่เข้ากับความรู้เดิม ภายในกรอบความรู้เดิมที่มีอยู่ และจากการกระตุ้นโดย เหตุการณ์หนึ่งๆ ที่ช่วยให้เกิดการเชี่ยมโยงความรู้นั้นๆ เข้าด้วยกัน การรั บรู้เป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้เกิดการเรียนรู้เนื่องจาก ไม่มีการเรียนรู้ใดเกิดขึ้นโดยปราศจากการรับรู้ นอกจากโครงสร้างความรู้จะช่วยในการรับรู้ และการ เรียนรู้ยังช่วยในการระลึก (Recall) ถึงสิ่งต่างๆ ที่เคยเรียนรู้มา 3. ทฤษฏีความยืดหยุ่นทางปัญญา (Cognitive Flexibility Theory) ซึ่งเป็นแนวคิดที่เชื่อว่า ความรู้แต่ละองค์ความรู้นั้นมีโครงสร้างที่แน่ชัด และสลับซับซ้อนมากน้อยแตกต่างกันไป โดยองค์ความรู้ ประเภทสาขา เช่น คณิตศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์กายภาพนั้น ถือเป็นองค์ความรู้ประเภทโครงสร้างที่ ตายตัวไม่สลับซับซ้อน (Well – structured Knowledge) เพราะตรรกะ และความเป็นเหตุเป็นผลที่ แน่นอนของธรรมชาติขององค์ความรู้ ในขณะเดียวกัน องค์ความรู้บางประเภทสาขาวิชา(III structured Knowledge Domains) เพราะความไม่เป็นเหตุเป็นผลของธรรมชาติ ขององค์ความรู้บางประเภท สาขาวิชา ไม่สามารถรวมไปทั้งองค์ความรู้ในวิชาหนึ่งๆ ได้ทั้งหมด บางส่วนขององค์ความรู้บางประเภท สาขาวิชาที่โครงสร้างตายตัวได้เช่นกัน แนวคิดในเรื่อง ความยืดหยุ่นทางปัญญานี้ส่งผลให้เกิดความคิด ในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อตอบสนองต่อโครงสร้างขององค์ความรู้ที่แตกต่าง กัน ซึ่งได้แก่ แนวคิดในเรื่องการออกแบบบทเรียนแบบ สื่อหลายมิติ (Hypermedia) นั่นเอง กระบวนการพัฒนา กลุ่มเป้าหมายในการนาสื่อลูกคิดไทยไปใช้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดทุ่งลาดหญ้า “ลาดหญ้าวิทยา” จานวน 499 คน ขั้นตอนการพัฒนา ขั้นตอนที่ 1 : ขั้นตอนการเตรียม
กาหนด เป้าหมาย วัตถุประสงค์
เก็บ ข้อมูล
เรียนรู้ เนื้อหา
ภาพที่ 1 ขั้นตอนการเตรียม
สร้าง ความคิด
ขั้นตอนที่ 2
ขั้นตอนที่ 2 : ขั้นตอนการออกแบบบทเรียน
ทอน ความคิด
วิเคราะห์ งานและ แนวคิด
ออกแบบ บทเรียน ขั้นแรก
ประเมินและ แก้ไขการ ออกแบบ
ขั้นตอนที่ 3
ภาพที2่ แบบจาลองการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนของอเลสซี่และโทรลิป ขั้นตอนที่ 3 – 7 ขั้นตอนในการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทแบบฝึกหัด เขียน ผังงาน
สร้าง สตอรี่ บอร์ด
สร้าง โปรแกรม
ผลิต เอกสาร ประกอบ
ประเมินและ แก้ไข
ภาพที่3 ขั้นตอนในการออกแบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทแบบฝึกหัด
จบ
การนาเข้าสู่บทเรียน เลือกข้อความ
การนาเสนอข้อความ การให้ผลป้อนกลับ การจบบทเรียน ภาพที4่ โครงสร้างทั่วไปและลาดับขั้นตอนในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทแบบฝึกหัด การตรวจสอบคุณภาพ จากการทดสอบก่อนเรียนและให้นักเรียนเรียนรู้ในสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยโดยใช้สื่อทาให้ นักเรียนมีความเข้าใจและเรียนรู้ได้เร็วทาให้ผลทดสอบหลังเรียนสูงขึ้นและเมื่อนาไปไปใช้ในการเรียนใน ระดับชั้นอื่นๆ พบว่านักเรียนตั้งใจเรียนและอยากเรียนรู้ทาให้มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น แนวทางการนาสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปใช้ประโยชน์ เนื้อหาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นาไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอนสาหรับนักเรียนนี้มี การนาเสนอภาพกราฟิกการ์ตูนเสียงเพลงเสียงบรรยายภาพเคลื่อนไหวและวีดีโอและมีผลย้อนกลับทันที ในรูปแบบของภาพและเสียงนักเรียนสามารถทราบผลการเรียนของตนเองได้ทันทีจึงเป็นจุดเร้าความ สนใจแก่ผู้เรีย นเป็นอย่างดีเกิดการเรียนรู้ได้ดีขึ้นนักเรียนสนใจและตั้ งใจเรียนอย่างมีความสุขอีกทั้ง นักเรียนสามารถทบทวนเนื้อหาบทเรียนได้ด้วยตนเองไม่จากัดเวลาในการเรียนเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ ควบคุ มการเรี ย นด้ว ยตนเองท าให้ เกิดความรู้ความเข้ าใจในเนื้ อหาบทเรียนจดจาสาระส าคั ญตาม จุดประสงค์การเรียนรู้ได้ทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้ าใจในบทเรียนส่งผล ให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนกล่าวว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีการแบ่งเนื้อหาเป็นตอนๆประกอบ คาถามเพื่อทวนความจาของนักเรียน มีทั้งตัวอักษรภาพกราฟิกภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหวทาให้นักเรียน สนุกไปกับ การเรียนไม่รู้สึกเบื่อ
ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา การเรียนการสอนที่มีอยู่ในปัจจุบันทั้งในรูปแบบหนังสือเรียน แต่เนื้อหาไม่สอดคล้องกับบริบท ของสถานศึกษา ยังพบปัญหาที่เกิดจากการโครงสร้างหลักสูตรและเวลาเรียน สภาพของครูผู้สอนมีมี ภาระงานนอกเหนืองานสอน และปัญหาผู้เรียนมีความสามารถทางการเรียนที่แตกต่างๆ กันทาให้ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ในปีการศึกษา 2554 ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินภายในสถานศึกษา ดังนี้ ตารางทีเ่ 1เแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ในปีการศึกษา 2554 คะแนน
เกณฑ์การประเมินภายในสถานศึกษา
ปีการศึกษา 2554
ร้อยละ 80 58.71 ที่มา: โรงเรียนวัดทุ่งลาดหญ้า “ลาดหญ้าวิทยา” แบบรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปีการศึกษา 2554 ผู้วิจัยตระหนักถึงความสาคัญและความจาเป็นเร่งด่วนซึ่งต้องแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร็ว จึงพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอนที่สามารถนามาช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ โดยผู้วิจัยพบว่าแนวทาง หนึ่งที่น่าสนใจและสามารถนามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแก้ปัญหาความแตกต่าง ระหว่ า งบุ คคลในการเรี ย นรู้ ได้ ดี คื อ การใช้ บ ทเรี ยนคอมพิว เตอร์ช่ ว ยสอน (Computer-Assisted Instruction) เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้นและเพื่อปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งผู้พัฒนาโปรแกรม บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่ว ยสอนที่ส ร้างขึ้น สามารถลดปัญหาที่กล่ าวขึ้นข้างต้น ได้รวมทั้งช่ว ยเพิ่ม ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ให้สูงขึ้น และเป็ นไปตามความมุ่งเน้นของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 และตามจุดมุ่งหมาย ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ มีสื่อนวัตกรรมใช้สอนนักเรียนให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาบทเรียนให้มีความน่าสนใจมาก ขึ้น
ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษา โรงเรี ย นวั ด ทุ่ ง ลาดหญ้ า "ลาดหญ้ า วิ ท ยา" ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ที่ใช้สื่อ นวัตกรรมการเรียนการสอนแล้วมี ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี สูงกว่าก่อนเรียนและผลสอบ O-NETของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สูงขึ้น ความพึงพอใจของผู้เรียน ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี อยู่ในระดับพึงพอใจเมื่อนาไปไปใช้ในการเรียนใน ระดับชั้นอื่นๆ พบว่านักเรียนตั้งใจเรียนและอยากเรียนรู้ทาให้มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ 1. นาไปใช้กับนักเรียนชั้นอื่นๆ - สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การสร้างเอกสารวิชาการป.4 - สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ป.5 - สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เรียนรู้คอมพิวเตอร์ ป.5 - สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง โปรแกรม Flip Album ป.6 - สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง สารพัดแหล่งเรียนรู้กับกูรู Googleป.6 2. นาผลงานเผยแพร่ให้ แก่โ รงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 จานวน 11 โรงเรียน รายชื่อโรงเรียนที่ได้รับการเผยแพร่โปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่
ชื่อโรงเรียน
ตาบล
จังหวัด
1 2 3 4 5
โรงเรียนวัดเขาน้อย โรงเรียนบ้านไทรทอง โรงเรียนบ้านท่าหวี โรงเรียนบ้านจันอุย โรงเรียนสมาคมนักเรียน เก่าราชินี โรงเรียนวัดพุน้อย โรงเรียนบ้านท่ามะนาว โรงเรียนวัดท่ามะขาม โรงเรียนบ้านทุ่งนานาง หรอก“เพ็ญชาติอุปถัมภ์”
วังด้ง จรเข้เผือก ลาดหญ้า ลาดหญ้า หนองบัว
กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี
วันที่ตอบรับ การเผยแพร่ 27 มิ.ย. 2556 12 มิ.ย. 2556 18 มิ.ย. 2556 16 มิ.ย. 2556 28 มิ.ย. 2556
บ้านเก่า วังด้ง ท่ามะขาม ลาดหญ้า
กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี กาญจนบุรี
19 มิ.ย. 2556 11 มิ.ย. 2556 14 มิ.ย. 2556 5 มิ.ย. 2556
6 7 8 9
เลขที่หนังสือ ศธ 04017.1101/71 ศธ 04017.3044/127 ศธ 04017.1037/70 ศธ 04017.1020/43 ศธ 04017.1133/99 ศธ 04017.1114/67 ศธ04017.3032/12 ศธ 04017.109/163 ศธ 04017.1040/65
ที่
ชื่อโรงเรียน
10 โรงเรียนบ้านท่าทุ่ม 11 โรงเรียนบ้านวังสารภี
วันที่ตอบรับ เลขที่หนังสือ การเผยแพร่ ลาดหญ้า กาญจนบุรี 14 มิ.ย. 2556 ศธ 04017.1029/382 ปาก กาญจนบุรี 8 มิ.ย. 2556 ศธ 04017.1059/78 แพรก ตาบล
จังหวัด
3. ครูนาผลงานที่ได้รับรางวัลร่วมจัดนิทศการผลการประกวดที่ดีเลิศและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับเขตพื้นที่ 4. โรงเรียนนาผลงานเผยแพร่ในจุลสารโรงเรียน 5. เผยแพร่ เ ป็ น วิ ท ยากรให้ แ ก่ โ รงเรี ย นบ้ า นไทรทอง ส านั ก งานเขตเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 6. เว็ปไซต์ที่เผยแพร่โปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่ 1 2 3
ชื่อเว็บไซต์ ครูพันธุ์ใหม่ โรงเรียนวัดทุ่งลาดหญ้า “ลาดหญ้า วิทยา” ทรูปลูกปัญญา
เว็บไซต์ http://www.krupunmai.com http://school.obec.go.th/latya_kan1 http://www.trueploopanya.com
7. FacebookโรงเรียนFace bookสพป.กาญจนบุรี เขต 1 8. Face book กลุ่ม OBEC AWARDS สพป.กาญจนบุรี เขต 1
ประมวลภาพกิจกรรมพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ประมวลภาพกิจกรรมการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ประมวลภาพการเผยแพร่ผลงานบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ประมวลภาพการเผยแพร่ผลงานบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(ต่อ)
ภาพกิจกรรม ได้ รับเชิญให้ เป็ นวิทยากรให้ ความรู้เรื่ องสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ณ โรงเรี ยนบ้ านไทรทอง อ.ด่านมะขามเตี ้ย จ.กาญจนบุรี
ภาพกิจกรรมปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากร การอบรมปฏิบัติการ การTebletให้แก่คณะครูโรงเรียนวัดลาดหญ้า
ภาพกิจกรรม รั บรางวัลยกย่ องเชิดชูเกียรติ ระดับประเทศประเภทสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระดับประถมศึกษา ประจาปี 2555
ภาพกิจกรรมศึกษาดูงานโรงเรี ยน บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย Certificate if School-Visit ตามโครงการยกย่ องเชิดชูเกียรติของ สกสค.
ภาพกิจกรรม ปฏิบัตหิ น้ าที่เป็ นวิทยากร การอบรมปฏิบัตกิ ารการใช้ คอมพิวเตอร์ พกพา (Tablet)ผู้ปกครองนักเรี ยน แก่ คณะผู้ปกครองนักเรี ยน ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 1
ภาพกิจกรรม ครู ผ้ ูสอน / นักเรี ยนได้ รับรางวัล งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยน ระดับชาติ และระดับภาคกลางและภาคตะวันออกครั ง้ ที่ 63
การเผยแพร่ผลงานทางเว็บไซต์
การเผยแพร่ทางวารสารประจาเดือนกุมภาพันธ์ 2556 ของโรงเรียน