Best Practice น.ส.เกษสุดา ปทุมแก้ว ร.ร.วัดจรเข้เผือก

Page 1

ผลงานนวัตกรรม ของ นางสาวเกษสุดา ปทุมแก้ว ครูโรงเรียนวัดจรเข้เผือก อาเภอด่านมะขามเตี้ย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต ๑

เพื่อขอรับการประเมินรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS ครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ด้านวิชาการ


แบบฟอร์มผลงานนวัตกรรม Best Practice ๑. ชื่อผลงาน Best Practice : ทำงำน ทำดี มีอำชีพ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี ด้ำน วิชำกำร ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา Best Practice ๒.๑ ชื่อผูพ้ ัฒนำ: นำงสำวเกษสุดำ ปทุมแก้ว ๒.๒ โรงเรียนวัดจรเข้เผือก เครือข่ำยส่งเสริมประสิทธิภำพกำรจัดกำรศึกษำ ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น ๒.๓ โทรศัพท์ ๐ ๓๔๖๗ ๐๔๓๑ และ ๐๘ ๑๐๐๖ ๙๗๔๘ E-mail: armeasc08@gmail.com ๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice วัตถุประสงค์ ๓.๑ เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในกำรทำงำน รักกำรทำงำน สำมำรถทำงำนร่วมกับผูอ้ ื่นได้อย่ำงมี ควำมสุขและมีเจตคติที่ดีตอ่ อำชีพสุจริต เป้าหมาย ๓.๑ นักเรียนร้อยละ ๗๕ มีทักษะในกำรจัดกำรและทำงำนให้สำเร็จ ๓.๒ นักเรียนร้อยละ ๗๐ มีควำมเพียรพยำยำม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบในกำรทำงำน ๓.๓ นักเรียนร้อยละ ๘๐ ทำงำนอย่ำงมีควำมสุข พัฒนำงำน และภูมใิ จในงำนของตน ๓.๔ นักเรียนร้อยละ ๗๕ สำมำรถทำงำนร่วมกับผู้อื่นได้ ๓.๕ นักเรียนร้อยละ ๗๕ มีควำมรูส้ ึกที่ดตี ่ออำชีพสุจริตและหำควำมรู้เกี่ยวกับอำชีพที่ตนเอง สนใจ ๔. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice ๑๖ พฤษภำคม ๒๕๕๓ – ๓๑ มีนำคม ๒๕๕๘ ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง Best Practice กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพม./ สพฐ./สถานศึกษา สนองกลยุทธ์ที่ ๑ ๒ และ ๓ ของสถำนศึกษำ มำตรฐำนที่ ๓


๒ ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา Best Practice โครงกำรทำงำน ทำดี มีอำชีพ ได้นำหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงมำประยุกต์ใช้ เพื่อแก้ปัญหำ ควำมยำกจนของนักเรียนส่วนใหญ่ในโรงเรียน เศรษฐกิจพอเพียงที่แสดงถึงแนวทำงกำรดำรงอยู่ และปฏิบัติตนของประชำชนทุกระดับจึงถูกนำมำประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหำควำมยำกจนดังกล่ำว จะ เห็นได้ว่ำเมื่อระดับบุคคลหรือครัวเรือน มีวิธีชีวิตและปฏิบัติตนตำมแนวทำงเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว จะสำมำรถลดรำยจ่ำย เพิ่มรำยได้ และขยำยโอกำส ตลอดจนมีภูมคิ ุ้มกันทำงเศรษฐกิจอีกด้วย ๗. กระบวนการพัฒนา Best Practice ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา Best Practice ไปใช้ ๗.๑.๑ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ ๑ – ๓ โรงเรียนวัดจรเข้เผือก จำนวน ๕๗ คน นักเรียนชำย ๒๙ คน นักเรียนหญิง ๒๘ คน ระยะที่ ๑ เดือนมิถุนำยน – เดือน ตุลำคม ๒๕๕๕ ระยะที่ ๒ เดือน พฤศจิกำยน ๒๕๕๕ – เดือน มีนำคม ๒๕๕๖ ระยะที่ ๓ เดือน พฤษภำคม ๒๕๕๖ – เดือนมีนำคม ๒๕๕๘ ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา Best Practice การดาเนินงานในระยะที่ ๑ เดือน พฤษภาคม- ตุลาคม ๒๕๕๕ ๑. รับสมัครสมำชิกบริษัท “ภูมปิ ัญญำจรเข้” ๒. เลือกคณะกรรมกำรกำรดำเนินงำนเปิดบริษัท“ภูมปิ ัญญำจรเข้” ๓. ปรึกษำครูที่เกี่ยวข้องกับบริษัท “ภูมปิ ัญญำจรเข้” ๔. สำรวจควำมต้องกำรของสมำชิกเรื่องภูมิปัญญำที่จะนำมำปฏิบัติในบริษัท “ภูมิปัญญำ จรเข้” ๕. ศึกษำข้อมูลจำกภูมิปัญญำท้องถิ่น เรื่องกำรทำไข่เค็มและมะขำมสำมรสจำก นำงพยูร ธรรมสร กำรทำกะหรีป่ ั๊ป จำกนำงสำวลัดดำ อนงค์ทอง เป็นต้น ๖. จัดเตรียมสถำนที่ อุปกรณ์ตำ่ งๆ ร่วมกัน ๗. กำหนดวันเปิดบริษัท และเวลำที่จะร่วมกันทำกิจกรรม ๘. จัดแผนผังกำรปฏิบัติงำนโดยแบ่งเวรผลัดเปลี่ยนกันทำกิจกรรมในแต่ละสัปดำห์ ๙. ดำเนินงำนตำมแผนงำนที่กำหนดไว้ การดาเนินงานในระยะที่ ๒ เดือนพฤศจิกายน - มีนาคม ๒๕๕๖ ๑. ปรับปรุงกิจกรรมในบริษัทให้ดีข้นึ โดยอำศัยข้อมูลจำกกำรดำเนินงำนระยะที่ ๑ ๒. เปลี่ ย นแปลงกิ จ กรรมในบริ ษั ท ให้ เ ป็ น ไปตำมควำมต้ อ งกำรของลู ก ค้ำ โดยเพิ่ ม กิจกรรม


๓ ๓. พัฒนำกิจกรรมให้เหมำะสมกับวัสดุที่มอี ยู่ในท้องถิ่นตำมฤดูกำล ๔. มีกำรวัดและประเมินผลกำรทำงำนของทุกฝ่ำย ๕. มีกำรปันผลให้แก่สมำชิก การดาเนินงานในระยะที่ ๓ เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๖ - มีนาคม ๒๕๕๘ ๑. ปรับปรุงกิจกรรมในบริษัทให้ดีข้นึ โดยอำศัยข้อมูลจำกกำรดำเนินงำนระยะที่ ๑ และ ๒ ๒. เปลี่ยนแปลงกิจกรรมในบริษัท ให้เป็นไปตำมควำมต้องกำรของลูกค้ำ โดยเพิ่มและลด บำงกิจกรรม ๓. พัฒนำกิจกรรมให้เหมำะสมกับวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นตำมฤดูกำล และเป็นที่นิยมมำก ที่สุด ๔. วัดและประเมินผลกำรทำงำนของทุกฝ่ำยตำมปกติ ๕. ปันผลให้แก่สมำชิก เมื่อสิน้ ปีกำรศึกษำ แหล่งที่มาของงบประมาณ ๑. งบส่งเสริมโครงกำรภูมิปัญญำสู่กำรเรียนรู้ ๒. จำกกำรระดมหุ้นของสมำชิกหุน้ ละ ๕ บำท แต่ไม่เกินคนละ ๒๐ หุน้ ๓. งบประมำณจำกครูที่ปรึกษำ ๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ Best Practice ๗.๓.๑ แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน ๗.๓.๒ แบบสัมภำษณ์นักเรียน ๗.๓.๓ แบบสอบถำมควำมพึงพอใจ ๗.๓.๔ แบบประเมินผลโครงกำร


๔ จำกขั้นตอนในกำรพัฒนำ Best Practice ผูพ้ ัฒนำได้ปฏิบัติงำนโดยใช้กระบวนกำร PDCA นำมำ ประยุกต์ในกำรดำเนินงำนดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมการ

P

- ประชุมครูเพื่อชี้แจงรายละเอียดของโครงการ - ประชาสัมพันธ์ข้อมูลของโครงการให้นักเรียนทราบ - รับสมัครนักเรียนเข้าเป็นสมาชิกของบริษัท - คัดเลือกคณะกรรมการดาเนินงาน

ขั้นตอนที่ 2 ขั้นวางแผน - สารวจความต้องการของผู้ถือหุ้นในบริษัทเรื่องภูมิปัญญาที่จะนามา ปฏิบัติในบริษัท - ศึกษาข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น - จัดเตรียมสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ต้องใช้ - จัดทาแผนผังการปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละสัปดาห์

D

ขั้นตอนที่ 3 ขัน ้ ดาเนินการ - ดาเนินงานตามแผนงานที่วางไว้ - สรุปผลการปฏิบัติงานในแต่ละสัปดาห์ ร่วมกันวิเคราะห์ผล

C

ขั้นตอนที่ 4 ขั้นตรวจสอบประเมินผล - ใช้แบบสารวจความคิดเห็นของผู้ถือหุ้นในบริษัท และผู้ที่เกี่ยวข้อง - ใช้แบบสอบถามและแบบประเมินการทางานของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

A

ขั้นตอนที่ 5 ขั้นพัฒนา-ปรับปรุง - ใช้ผลการสารวจความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของผู้ถือหุ้นในบริษัท และผู้ที่เกี่ยวข้อง มาปรับปรุงกิจกรรมในบริษัทให้ดีขึ้น

ข้อมูลย้อนกลับ


๕ ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา Best Practice ๘.๑ ผลสำเร็จเชิงปริมำณ ๘.๑.๑ นักเรียนร้อยละ ๗๕ มีทักษะในกำรจัดกำรและทำงำนให้สำเร็จ ๘.๑.๒ นักเรียนร้อยละ ๗๐ มีควำมเพียรพยำยำม ขยัน อดทน ละเอียดรอบคอบในกำร ทำงำน ๘.๑.๓ นักเรียนร้อยละ ๘๐ ทำงำนอย่ำงมีควำมสุข พัฒนำงำน และภูมใิ จในงำนของตน ๘.๑.๔ นักเรียนร้อยละ ๗๕ สำมำรถทำงำนร่วมกับผูอ้ ื่นได้ ๘.๑.๕ นักเรียนร้อยละ ๗๕ มีควำมรู้สึกที่ดีต่ออำชีพสุจริตและหำควำมรู้เกี่ยวกับอำชีพที่ ตนเองสนใจ ๘.๒ ผลสำเร็จเชิงคุณภำพ นักเรียนมีทักษะในกำรทำงำน รักกำรทำงำน สำมำรถทำงำนร่วมกับผู้อื่นได้อย่ ำงมีควำมสุข และมีเจตคติที่ดีตอ่ อำชีพสุจริต ๘.๓ ควำมพึงพอใจของผูเ้ กี่ยวข้องต่อ Best Practice จำกกำรสำรวจควำมพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ Best Practice โดยกำรใช้แบบสอบถำม ควำมพึงพอใจ พบว่ำ ระดับควำมพึงพอใจในภำพรวมของโครงกำรอยู่ในระดับคุณภำพดี คิดเป็น ร้อยละ ๘๘.๕๒ เมื่อพิจำรณำเป็นรำยด้ำนพบว่ำ กิจกรรม/วิธีดำเนินกำรตำมงำนอยู่ในระดับคุณภำพดี มำก คิดเป็นร้อยละ ๘๔.๕๕ ๘.๔ ปัจจัยควำมสำเร็จของกำรพั ฒนำ Best Practice/ประสบกำรณ์เ รียนรู้จำกกำรนำ Best Practice ไปใช้ จำกกำรดำเนินโครงกำรทำงำน ทำดี มีอำชีพ พบว่ำ ประโยชน์ที่ได้รับจำกกำรทำโครงงำน “ภูมปิ ัญญำจรเข้” แบบพอเพียง มีดังนี้ ๘.๔.๑ มีทักษะในกำรทำไข่เค็ม กำรถนอมอำหำร กำรทำอำหำรว่ำง และน้ำปั่น ๘.๔.๒ น้อมนำหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวมำใช้ในกำร ดำเนินชีวติ อย่ำงเหมำะสมและมีควำมสุข ๘.๔.๓ มีควำมเข้ำใจในกำรทำบริษัทขนำดย่อมอย่ำงเป็นระบบ สำมำรถนำประสบกำรณ์นี้ ไปสู่อำชีพได้ในอนำคต ๘.๔.๔ เกิดควำมสำมัคคีในหมู่คณะ รู้จักขยัน อดทน ซื่อสัตย์ เสียสละและให้อภัยซึ่งกัน และกัน ๘.๔.๕ รู้จักคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหำเป็น ๘.๔.๕ ใช้เวลำว่ำงให้เกิดประโยชน์หำรำยได้พิเศษระหว่ำงเรียน ๘.๔.๖ นำควำมรูไ้ ปใช้ในชีวติ ประจำวัน ซึ่งเป็นประโยชน์ตอ่ ตนเอง ครอบครัว และสู่ชุมชนได้


๖ ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง Best Practice ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีกำรตรวจสอบซ้ำ Best Practice ๙.๑.๑ สำรวจข้อมูลจำนวนนักเรียนที่นำควำมรูท้ ี่ได้รับไปใช้ในชีวติ ประจำวัน ๙.๑.๒ พิจำรณำข้อเสนอแนะในกำรพัฒนำโครงกำรจำกผู้เกี่ยวข้อง Best Practice ๙.๒ ผลกำรตรวจสอบซ้ำเพื่อกำรพัฒนำและปรับปรุง Best Practice ๙.๒.๑ นักเรียนเห็นแนวทำงในกำรประกอบอำชีพที่หลำกหลำยมำกขึน้ ๙.๒.๑ โรงเรียนได้พัฒนำผลงำนสู่ระดับมืออำชีพ ๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practice และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง ๑๐.๑ นำสินค้ำออกจำหน่ำยที่รำ้ นค้ำชุมชนและตลำดนัด สัปดำห์ละ ๑ – ๒ ครั้ง ๑๐.๒ จัดทำแผ่นพับประชำสัมพันธ์สนิ ค้ำตำมหน่วยงำนภำครัฐและเอกชน หมู่บ้ำน และชุมชน ๑๐.๓ นำผลงำนเข้ำประกวดในงำนศิลปหัตถกรรมนักเรียนและได้รับรำงวัลเหรียญทอง ในระดับ ภำค


7 ภาพถ่ายประกอบโครงการ ทางาน ทาดี มีอาชีพ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.