ฺBest Practice นางวนิดา ปากโมกข์ ครู รร.บ้านหนองสองตอน

Page 1

BEST PRACTICE การบริหารการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากโครงงานประดิษฐ์ดอกไม้ สู่งานหนังสือพิมพ์มหัศจรรย์สร้างสรรค์เอกลักษณ์ไทย สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่๑-๓

นางวนิดา ปากโมกข์ ครู โรงเรียนบ้านหนองสองตอน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน


คานิยาม ข้าพเจ้านางวนิดา ปากโมกข์ ตาแหน่ง ครู คศ.3 โรงเรียนบ้านหนองสองตอน ได้ศึกษาค้นคว้า ทดลองการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ (Best Practice) เรื่อง การบริห ารการจั ดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากโครงงานประดิษฐ์ ดอกไม้สู่งานหนังสือพิมพ์ มหัศจรรย์สร้างสรรค์เอกลักษณ์ไทย สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่๑-๓ ข้าพเจ้าได้น ากระบวนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนจริงในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนบ้านหนองสองตอน ตาบลแก่งเสี้ยน อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ได้ ผ ลดี เ ป็ น ที่ น่ า พอใจ นั ก เรี ย นได้ มี ทั ก ษะกระบวนการทางสื บ เสาะแสวงหาความรู้ สู่ ก ระบวนการคิ ด อย่างสร้างสรรค์ที่น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ข้าพเจ้ าขอขอบพระคุณ นายสมยศ ส าเนียงงาม ศึกษานิเทศก์ สพป.กจ.เขต ๑ นายบารุง ข่ายคา ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองสองตอน และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่านที่ให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ พร้อมกับให้ ข้อคิดและข้อเสนอแนะในการจัดทา Best Practice ให้สาเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดี ผู้จัดทาหวังว่าจะเป็น ประโยชน์และเป็นแนวทางต่อครูผู้สอน และผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องตลอดจนผู้ที่สนใจทั่วไป

นางวนิดา ปากโมกข์ ครู คศ. 3 โรงเรียนบ้านหนองสองตอน


ผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยม (Best Practice ) 1.

ชื่อผลงาน BP

การบริหารการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากโครงงานประดิษฐ์ดอกไม้สู่งานหนังสือพิมพ์ มหัศจรรย์สร้างสรรค์เอกลักษณ์ไทย สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่๑-๓ 2.

ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา BP นางวนิดา ปากโมกข์ 2.2 โรงเรียน บ้านหนองสอตอน จังหวัดกาญจนบุรี ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการศึกษาหนองบัว- แก่งเสี้ยน 2.3 โทรศัพท์ 0๙-๗๑๓๔๕๔๘๘

3.

เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๑. เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและกระบวนการทางานของนักเรียน ตระหนัก และ เห็นคุณค่า งานจากเศษวัสดุเหลือใช้ที่มีอยู่ในบ้าน ชุมชนโรงเรียน มาใช้ประโยชน์ที่โรงเรียนและที่บ้านได้ ๒. เพื่อปลูกจิตสานึกด้านความมีระเบียบวินัยให้แก่นักเรียนรู้จักมารยาทการทางานร่วมกับผู้อื่น และมีแนวทางในการประกอบอาชีพได้ ๓. เพื่อให้นักเรียนได้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็น

ความพอประมาณ

ความมีเหตุผล

การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว

สื่อ/แหล่งเรียนรู้ - จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อ - ใช้ทรัพยากรที่มีในท้องถิ่นให้ -จั ด เตรี ย มวั ส ดุ อุ ป กรณ์ แหล่งเรียนรู้ ทรั พยากรต่างๆ ที่ห า เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า

ในการจั ด การเรี ย นรู้ ใ ห้

ได้ในท้องถิ่นมาใช้ได้อย่างเหมาะสม

เพียงพอกับผู้ เรียนและวิ ธี ปูองกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น จากการจั ด การเรี ย นรู้ ไ ม่ ตรงตามแผนที่วางไว้

สถานที่

สถานที่

การประเมินผล

-เลือกใช้สถานที่ได้เหมาะสมใน

-

ไม่ ท าลายสิ่ ง แวดล้ อ ม -

มี ค วามปลอดภั ย ใน

การปฏิบัติหน้าที่

ไม่สร้างมลพิษให้แก่สังคม

การปฏิบัติงาน

-ตรงตามเนื้อหาสาระที่จัดการ

-เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ตรงตาม

-มีวิธีการวัดผล ประเมินผล

เรียนรู้

ตัวชี้วัด

ที่ที่หลากหลาย

-ตรงตามเนื้อหาสาระที่จัดการ

-เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ตรงตาม

-มีวิธีการวัดผล ประเมินผล

เรียนรู้

ตัวชี้วัด

ที่ที่หลากหลาย

-ครูเลือกเครื่องมือในการวัด ประเมินผลที่หลากหลาย ความรู้

-มีความรอบรู้ในหลักสูตร เนื้อหาสาระ ของกิจกรรมการเรียนรู้ที่จัด -มีความรอบคอบในการวางแผน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมกับนักเรียน -ต้องรู้จักศักยภาพของนักเรียนและชุมชน -มีความรู้ เรื่ องภูมิปั ญญาท้อ งถิ่ น การใช้สื่ อ วิทยาการเทคโนโลยี เทคนิ คการสอนที่ ห ลากหลาย เพื่อนามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวัดผลการและเมินผล


ประเด็น คุณธรรม

ความพอประมาณ

ความมีเหตุผล

การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว

-ใช้หลักความยุติธรรม มีความรับผิดชอบ มีวินัยในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ -ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ ขยัน หมั่นเพียร อดทน มีจิตสาธารณะและใช้สติปัญญาในการจัด การเรียนรู้ ตลอดจนการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม -มีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเองและส่วนรวม -มีความตระหนักของการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่า -จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นไม่ทาลายธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และไม่ สร้างความแตกแยกในสังคมและชุมชนครูมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตนเอง ให้เป็นคนดีของสังคม

เศรษฐกิจสังคม/ -ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดที่ไม่ต้องซื้อลักษณะ 4 R 1. การใช้ใหม่หรือใช้ซ้า ( Reuse) สิ่งแวดล้อม/ 2. การซ่อมแซมใช้ใหม่ (Repair) 3. การลดการใช้ (Reduce) 4. การแปรรูปแล้วนากลับมาใช้ ใหม่ (Recycle) ในเรื่องเศรษฐกิจ วัฒนธรรม/ -มีจิตอาสาอนุรักษ์ทรัพยากรรักษ์ภูมิปัญญาเพื่อนาสู่อาชีพเป็นการอนุรักษ์ที่ร่วมกับชุมชนปรับตัวให้ สมดุล/ เข้ากับภูมิปัญญาในชุมชนรับวัฒนธรรมประเพณีสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามมาปรับเปลี่ยน พร้อมรับต่อ เพิ่มเติมให้มีมูลค่าทันสมัยขึ้นตามความคิดริเริ่มออกแบบผลิตภัณฑ์ให้เข้ากับความนิยมอันเป็นการ การเปลี่ยนแปลง รู้จักปรับสมดุลอันเป็นการปฏิบัติที่พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับยุคปัจจุบันและอนาคต


หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี การประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ความพอประมาณ

ความมีเหตุผล

การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว

-ผู้เรียนได้เรียนรู้การจัดสรรเวลา งบประมาณ จานวนคนเหมาะกับ ภาระงาน - เรียนรู้การใช้วัสดุอุปกรณ์ใน ท้องถิ่นที่มีอยู่อย่างจากัด ให้เกิด ประโยชน์ ประหยัดและคุ้มค่า -ผู้เรียนเรียนรู้ในการทากิจกรรม ภาระงานได้เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถตามวัยของผู้เรียน -ผู้เรียนได้ฝึกทากิจกรรมเหมาะสม กับศักยภาพของตนเอง -นาทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ใน ท้องถิ่นมาทาให้เกิดเป็นผลิตภัณฑ์ ที่สร้างสรรค์และเพิ่มมูลค่า

-ส่งเสริมกระบวนการทางานการคิด การแก้ปัญหาในการทางานและ ชีวิตประจาวัน ผู้เรียนรู้จักเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ ในท้องถิ่นมาแปรรูปเป็นลิตภัณฑ์ -กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์และเกิดผลในการผลิต ชิ้นงาน -นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงใน การเรียนรู้และเป็นแนวทางในการ ประกอบอาชีพในอนาคต -ได้ฝึกการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

-รู้จักการวางแผน กระบวนการทางาน อย่างเป็นระบบให้ประสบความสาเร็จ -ฝึกเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงในสังคม -ปลูกฝังจิตสานึกเรื่องการประหยัดและ อดออม -นาแบบอย่างแนวคิดไปพัฒนาการในการ ประกอบอาชีพให้เหมาะสมกับตนเองและ ทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชน ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง -ได้ฝึกทักษะกระบวนการทางานของ ตนเองร่วมกับผู้อื่นอย่างปลอดภัย

ความรู้

-รอบรู้ เกี่ยวกับวิธีการทาดอกไม้ประดิษฐ์ วิธีการใช้วัสดุอุปกรณ์ -รอบรู้เกี่ยวกับการประดิษฐ์แจกันรูปแบบต่างๆ ปูาย ซุ้มดอกไม้ ซุ้มปูายโรงเรียน โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ และนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน

คุณธรรม

-มีความรับผิดชอบ ความอดทน เพียรพยายามในการทางานด้วยความสามัคคี ช่วยเหลือแบ่งปัน รู้จักประหยัด และตรงต่อเวลา


กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี การประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ประเมินผลลัพธ์ (KPA) ที่เกิดกับผู้เรียนจากกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้าน

วัตถุ

ความรู้ -มีความรู้ในการนาวัตถุดิบที่มีใน ท้องถิ่นมาแปรรูป

สังคม -รู้จักแบ่งหน้าที่

สิ่งแวดล้อม

วัฒนธรรม

-มีความรู้ในการเลือกใช้ -มีความรู้ความเข้าใจใน

รับผิดชอบในการทางาน วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น

ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาใช้

-มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้ -แลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก

มาใช้ประโยชน์ได้อย่าง ในการผลิตดอกไม้และ

วัสดุอุปกรณ์ อย่างคุ้มค่าและถูกวิธี เพื่อนครูและภูมิปัญญา

เหมาะสม

แจกัน ปูาย ซุ้มดอกไม้

-มีความรู้เกี่ยวกับ

ฯลฯ ประดิษฐ์จากวัสดุ

ท้องถิ่น

การรักษาธรรมชาติและ ธรรมชาติในท้องถิ่นและ

ทักษะ -มีทักษะการทางานและสามารถ เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ได้ถูกตาม

สิ่งแวดล้อม

ของเหลือใช้

- เรียนรู้กระบวน

-ได้ฝึกทักษะการนา

-การช่วยเหลือเกื้อกูล

การกลุ่มฝึกการทางาน

วัสดุในท้องถิ่นมาแปร

เอื้อเฟื้อแบ่งปัน

ขั้นตอนอย่างคุ้มค่าและถูกต้องตาม ร่วมกันอย่างเป็นระบบ วิธีการทาดอกไม้ประดิษฐ์และ

ทาให้ประสบ

แจกัน ฯลฯ

ความสาเร็จ

-มีทักษะในการเก็บและบารุงรักษา อุปกรณ์

-รู้จักช่วยเหลือแบ่งปัน ให้กับผู้อื่น

ค่านิยม -เห็นคุณค่าของวัสดุอุปกรณ์โดยใช้ -เกิดความรักสามัคคีใน อย่างประหยัดและคุ้มค่า -มีเจตนคติที่ดีในการนาวัสดุ อุปกรณ์ในท้องถิ่น ชุมชนมาใช้ให้ เกิดประโยชน์

รูปเป็นผลิตภัณฑ์

-ตระหนักในการใช้

-สืบทอดและเห็นคุณค่า

หมู่คณะและยอมรับฟัง

ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง

วัฒนธรรมท้องถิ่น

ความคิดเห็นของผู้อื่น

คุ้มค่า

-ภาคภูมิใจในผลงานที่ทา ได้จากวัสดุในท้องถิ่น


4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP ปีการศึกษา 2553- ปีการศึกษา 2557 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย จุดเน้นของ สพป. สพฐ. สถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑)มุ่งเน้นให้ นักเรียนเป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานก็ได้กาหนดนโยบายรองรับ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีจุดเน้นในด้านให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในทุกช่วงวัยตามกลยุทธ์และ ประกอบกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามกลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ประกอบกับมาตรฐาน การศึ กษาขั้ น พื้น ฐานที่ 14 การพัฒ นาสถานศึก ษาให้ บรรลุ เปูา หมายตามวิ สั ยทัศ น์ ปรั ช ญา และจุ ดเน้ น ที่กาหนดขึ้น โรงเรียนบ้านหนองสองตอนมีเอกลักษณ์ของโรงเรียนคือการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติ ในท้องถิ่น.ตามกลยุทธ์ที่ 1 และมาตรฐานที่ 14 โรงเรียนเป็นสถานศึกษาพอเพียงต้ นแบบ ดังนั้นการจัดกิจกรรม บูรณาการการเรียนการสอนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และทุกกระดับชั้นจะมีการสอดแทรกคุณธรรมคุณลักษณะ อันพึงประสงค์และแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในรูป แบบของกิจกรรมที่หลากหลายกลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จาเป็นต่อ การดารงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงสามารถนาความรู้เกี่ยวกับการดารงชีวิต การอาชีพและเทคโนโลยีมา ใช้ ป ระโยชน์ ใ นการท างานอย่ า งมี ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละแข่ ง ขั น ในสั ง คมไทยและสากล เห็ น แนวทาง ในการประกอบอาชีพรักการทางานและมีเจคติที่ดีต่อการทางาน สามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างพอเพียงและ มีค วามสุ ข และตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้น ฐานจุ ด หมายให้ นั ก เรีย นมี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.

แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP ความเป็นมา

กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑)มุ่งเน้นให้ นักเรียนเป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานก็ได้กาหนดนโยบายรองรับ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีจุดเน้นในด้านให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในทุกช่วงวัยตามกลยุทธ์และ ประกอบกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามกลยุท ธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ประกอบกับมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานที่ 14 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเปูาหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่กาหนดขึ้น โรงเรียนบ้านหนองสองตอนมีเอกลักษณ์ของโรงเรียนคือการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น.ตามกล ยุทธ์ที่ 1 และมาตรฐานที่ 14 ดังนั้นการจัดกิจกรรมบูรณาการการเรียนการสอนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และ ทุกกระดับชั้นจะมีการสอดแทรกคุณธรรมพื้นฐานและแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียงในรูปแบบ ของกิจกรรมที่หลากหลาย กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้


ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงสามารถนาความรู้เกี่ยวกับ การดารงชีวิต การอาชี พและเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ในการทางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และแข่งขันใน สังคมไทยและสากล เห็ น แนวทางในการประกอบอาชีพรักการทางานและมีเจคติที่ดีต่อการทางาน สามารถ ดารงชีวิตในสังคมได้อย่างพอเพียงและมีความสุข และตามตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานจุดหมายให้ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การบริหารการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากโครงงานประดิษฐ์ดอกไม้สู่งานหนังสือพิมพ์ มหัศจรรย์สร้างสรรค์เอกลักษณ์ไทย สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ ที่มาของหนังสือพิมพ์มหัศจรรย์สร้างสรรค์ เอกลั ก ษณ์ ต่ อ ยอดจากการประดิ ษ ฐ์ ด อกไม้ จ ากวั ส ดุ ธ รรมชาติ ใ นท้ อ งถิ่ น ที่ เ ป็ น ที่ ย อมรั บ ของทุ ก ฝุ า ยให้ เ ป็ น เอกลักษณ์ของโรงเรียนบ้านหนองสองตอนเป็นการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่เป็นปราชญ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นใน การเรี ย นรู้ ในรู ป แบบของโครงงาน นั กเรี ยนทุก คนในชั้น เรี ยนได้มี ส่ ว นร่ ว มในกระบวนการเรี ยนรู้ กระบวน การทางาน สนุกคิด สนุกทา ทาให้นักเรียนเกิดความเข้าใจและกระตุ้นความสนใจได้เป็นอย่างดี ภาสินี เปี่ยมพงศ์ สานนท์ (๒๕๓๖ : ๔๕-๔๖) ได้เสนอการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แหล่งวิทยากรชุมชนว่า หมายถึง ทุกสิ่งอย่าง ในชุมชนที่น ามาเป็นตัวอย่างให้ เกิดแนวคิด ข้อสรุปค่านิยมแก่ผู้ เรียน แหล่งวิทยาการประเภทนี้ จึงรวมไปถึง สถานการณ์ของชุมชนทุกรูปแบบซึ่งนักเรียนสามรถนามาศึกษาเป็นการฝึกสติปัญญา ความคิดหรือฝึกทักษะทาง สังคมด้านต่างๆ ตลอดจนประสบการณ์ทุกอย่างที่ให้เขาสามารถแสดงความรู้สึกนึกคิดของตนออกมาได้การเรียนรู้ แบบโครงงานเป็นการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของบลูม (Blom) ทั้ง 6 ขั้นตอน คือ 1. ความรู้ ความจา (Knowledge) 2. ความเข้าใจ (Comprehension) 3. การนาไปใช้ (Application) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมินค่า (Evaluation) ดังนั้นการสร้างบทเรียนจากโครงงานจึงมีแนวคิดที่จะจัดทาบทเรียนที่มาสร้างบทเรียนในสาระการงาน งานอาชีพและเทคโนโลยี (เพิ่มเติม) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ ๑ - ๓ โดยใช้แหล่งเรียนรู้จากปราชญ์ ภูมิปัญญา เพื่อให้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ปฏิบัติจริงนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้หรือเป็นแนวทางไปประกอบอาชีพ ได้บู ร ณาการกับ ทักษะกระบวนการทางานและคุณธรรมในการทางาน ทั้ง ๕ คุณลั กษณะเพื่อเป็นนวัตกรรม ประกอบการเรียนการสอน ในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา ให้กับนักเรียนเพื่อจะ ได้ส่งเสริมทักษะกระบวนการคิด ความมีระเบียบวินัย ความซื่อสัตย์ ความพอเพียง และมีจิตสารธารณะ มาเป็น นวัตกรรมประกอบการสอน เรื่ อง หนั งสื อพิมพ์มหั ศจรรย์ส ร้างสรรค์เอกลั กษณ์ ยังน้อมนาหลั กปรัช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในเรื่ องของภูมิปัญญาและวัสดุเหลื อใช้ที่นากลับมาใช้ใหม่ โดยใช้กระบวนการ ๔ R ๑. Reuse หรือการใช้ซ้า ๒. Repair หรือการซ่อมบารุง ๓. Reduce หรือลดการใช้ทรัพยากร ๔. Recycle หรือนากลับมาใช้ใหม่โดยผ่านกระบวนการและตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องการใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าอีกด้วย


7.

ขั้นตอนการพัฒนาBest Practice

ลาดับขั้นตอนการดาเนินกิจกรรมพัฒนา Flow Chart (แผนภูมิ) Model ของ Best Practice ขั้นที่ ๑ ประชุมปรึกษาหารือผู้บริหารและคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา ใช้แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นในหมู่บ้านหนองสองตอนมีปราชญ์ภูมิปัญญาเรื่องการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นซึ่งเป็น O-TOP ในหมู่บ้าน เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 255๓ มีผลงานเป็นที่ยอมรับให้เป็นเอกลักษณ์ของโรงเรียน บ้านหนองสองตอน ปี พ.ศ. 2556 ได้ติดต่อปราชญ์ภูมิปัญญาเรื่องการประดิษฐ์แจกัน ที่ทาจากหนังสือพิมพ์ผสม ปูนซีเมนต์ต่อยอดการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุในท้องถิ่นด้วยการประดิษฐ์แจกันในรูปแบบต่าง ๆ จากหนังสือพิมพ์ ผสมปูนซีเมนต์เพื่อเป็นการลดต้นทุนประหยัดค่าใช้จ่าย และปัจจุบันพัฒนาจากการประดิษฐ์แจกันมาประดิษฐ์ของ ใช้ได้อีกหลายรูปแบบ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ปูายประชาสัมพันธ์ ปูายโรงเรียน ซุ้มดอกไม้ กระถาง เป็นต้น ขั้นที่ ๒ จัดทาหลักสูตรท้องถิ่นการประดิษฐ์ ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ทาโครงสร้างหลักสูตร สร้างบทเรียนโดยเรียนรู้แบบโครงงาน ขั้นที่ ๓ ติดต่อประสานดาเนินการจัดตารางเรียนให้นักเรียนไปเรียนกับวิทยากรภูมิปัญญาตามตาราง และระดับชั้นหรือเชิญวิทยากรภูมิปัญญามาที่โรงเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 เปิดเป็นวิชาการงานอาชีพและ เทคโนโลยี (เพิ่มเติม) ขั้นที่ ๔ จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 เรียนรู้เรื่องการประดิษฐ์ ดอกไม้ จ ากวั ส ดุ ธ รรมชาติ ใ นท้ อ งถิ่ น เช่ น ประดิ ษ ฐ์ ด อกประดู่ เ ป็ น ดอกกุ ห ลาบ ดอกขี้ ห นอนเป็ น ดอกลิ ล ลี่ ประดิษ ฐ์ ด อกบอลลู น จากต้ น กระถิ น ที่ เ หลาจากกบ จั ด ช่ อ จั ดแจกั น จัด กระเช้ า และการประดิ ษ ฐ์ แ จกั น จากหนังสือพิมพ์ผสมปูนซีเมนต์ ทาแจกันในรูปแบบต่างๆ ทาซุ้มดอกไม้ ซุ้มปูายโรงเรียน ทากระถาง ทาโต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ จากวัสดุเหลือใช้ ขั้นที่ ๕ นาบทเรียนการเรียนรู้แบบโครงงานไปใช้ประกอบการสอน ขั้นที่ ๖ ทาวิจัยสาหรับนักเรียนที่มีปัญหาจากการวิเคราะห์ผู้เรียนที่แยกเป็นกลุ่ม ดี พอใช้ ปรับปรุง ขั้นที่ ๗ สรุปผลของการใช้บทเรียนการเรียนรู้แบบโครงงานและรายงานผลการใช้บทเรียนการเรียนรู้ แบบโครงงาน ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา Best Practie ไปใช้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ปีการศึกษา 2553-2557 ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนาBest Practice (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา)


ขั้นตอนการดาเนินงานทีม่ ีการปฏิบัติทเี่ ป็ นเลิศหนังสื อพิมพ์มหัศจรรย์สร้ างสรรค์ เอกลักษณ์ ประชุม

วางแผน/ตั้งกรอบ ครูผ้ สู อน

ครู ภูมิปัญญาท้องถิ่น/ แหล่งเรี ยนรู ้ การเรี ยนรู้แบบ เ

โครงงาน

เพือ่ นช่ วยเพือ่ น

เพิ่มเติม มประ

เรียนรู้จากสื่ อ พีส่ อนน้ อง

(ใช่) จัดทาแผนการจัดกิจกรรมการ เรี ยนรู้ (ไม่) ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ประเมินผลการเรี ยนรู้

นาเสนอผลงาน เผยแพร่ ผลงาน ผ่านเกณฑ์

(ไม่)

หรื อไม่ (ผ่าน) พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้/วิจยั พัฒนา สรุ ป/รายงานผล

แก้ไขปรับปรุ ง/ วิจยั ปฏิบตั ิการ


แผนผังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ( โครงงาน ) ชั้นมัธยมศึกษา ๑ – ๓ กิจกรรมที่ตอ้ งปฏิบตั ิ

กิจกรรมโครงงาน ( ในโรงเรี ยน ) 50 % แบ่งกลุ่มนักเรี ยน กลุ่มละ 3-5 คน นักเรี ยนเลือกทาโครงงาน ตามความสนใจ นักเรี ยนวางแผนทา โครงงาน เขียนโครงงาน /ปฏิทิน ปฏิบตั ิงาน ) ดาเนินการตามแผน บันทึกผลการปฏิบตั ิงาน นาเสนอผลงานเผยแพร่ ผลงาน ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน/ โครงการโดยนักเรี ยน ครู กลุ่ม ครู สรุ ปผลการปฏิบตั ิงาน

ไปเรี ยนรู ้จากปราชญ์ภูมิปัญญาการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น การทาแจกัน การทาน้ ายาเอนกประสงค์ ฯลฯ

นักเรี ยน ชั้น ม.1- ม.3 ทุกคนฝึ กประสบการณ์จากปราชญ์ภูมิ ปัญญาประดิษฐ์ดอกไม้และภูมิปัญญาประดิษฐ์แจกัน

นักเรี ยนเลือกทาโครงงานตามเรื่ องที่ได้เรี ยนรู้จากปราชญ์ภูมิ ปัญญา เช่น ประดิษฐ์ดอกไม้ที่ตนเองสนใจ พร้อมแจกัน นักเรี ยนบันทึกรายละเอียดกระบวนการฝึ กลงในใบงาน 3 ชัว่ โมง นักเรี ยนสรุ ปผลการฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพและนาเสนอ ผลงาน ประเมินผลการปฏิบตั ิงาน โดยครู นักเรี ยน ผูป้ กครอง และผูป้ ระกอบการ ครู สรุ ปผลการปฏิบตั ิงาน

ครู สรุ ปรวบรวมผลการประเมิน และรายงาให้ระดับคุณภาพ ครู รายงานผลการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี


7.3 แนวทางการนา Best Practiceไปใช้ประโยชน์ 1. นาไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. นาไปใช้กับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีทุกระดับชั้น 3. ท าให้ นั ก เรี ย นได้ เ รี ย นรู้ อ ย่ า งมี ค วามสุ ข ได้ เ รี ย นรู้ จ ากแหล่ ง เรี ย นรู้ ปราชญ์ ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ได้ รั บ ประสบการณ์ตรงเกิดการเรียนรู้ที่ชัดเจน 4. ทาให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาคภูมิใจในความเป็นไทย รักท้องถิ่นของตนเอง มีจิตสานึก ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 8.

ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา Best Practice

ข้าพเจ้าได้รับผิดชอบในสอนกลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ได้สังเกตพฤติกรรมการเรียนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ของนักเรียนทาให้ทราบว่า เมื่อให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาจากหนังสือและใบความรู้ นักเรียนไม่ค่อยส่งงาน ไม่ตั้งใจฟัง ทากิจกรรมกลุ่มก็ไม่ช่วย เพื่อนร่ ว มกลุ่ ม ดังนั้ น ข้าพเจ้ าจึ งได้ เปลี่ ย นวิธี การสอนมาใช้แหล่ งเรีย นรู้ที่เป็ นปราชญ์จากภู มิปัญญาท้องถิ่ น เพื่อสร้างความสนใจมาสร้างการเรียนรู้ในรูปแบบของโครงงานเพื่อแก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนการสอน ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ จานวน ๗๗ คน ร้อยละ ๘๐ มีพัฒนาทักษะกระบวนการคิด - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ จานวน ๗๗ คน ร้อยละ ๘๐ มีจิตสานึกด้านความมีระเบียบ วินัยในการศึกษาบทเรียน - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ จานวน ๗๗ คน ร้อยละ ๘๐ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนมีพัฒนาการด้านกระบวนการคิด ความมีระเบียบวินัย และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8.3 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการเรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ๑. นักเรียนมีการพัฒนาการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสูงขึ้น ๒. ครูผู้สอนมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีของ นักเรียน ๓. ครูผู้สอนมีการพัฒนาความรู้ความสามารถโดยการศึกษาความรู้ด้วยตนเองและเข้าร่วมการอบรม สัมมนาเชิงปฏิบัติการต่างๆและนาความรู้มาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ๔. ได้รับรางวัลเหรียญเงิน ครูผู้สอนยอดเยี่ยมระดับมัธยมศึกษาตอนต้นกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ได้รับรางวัลเหรียญเงิน OBEC AWARDS ด้าน ด้านบริหารจัดการยอดเยี่ยมกลุ่มสาระการงาน อาชีพและเทคโนโลยี ระดับชาติ ครั้งที่ ๖๒


การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ Best Practice และการเผยแพร่ขยายผลในวงกว้าง 1. เผยแพร่ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 2. เผยแพร่ผลงานให้แก่คณะครูในโรงเรียน ในสังกัดและผู้มาศึกษาดูงานของโรงเรียนปีการศึกษา 25553 - 2557 ๓. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความสาเร็จของ Best Practice งานวิชาการของสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๔. เผยแพร่ในเว็ปไซต์ OBEC AWARDS ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑


ภาคผนวก


จัดนิทรรศการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระหว่างวันที่ ๑๒-๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี

นางวนิดา ปากโมกข์ นาเสนอผลงานรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS ระดับชาติ ประจาปี ๒๕๕๕ วันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ เมืองทองธานี จังหวัดปทุมธานี


จัดนิทรรศการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๑๑-๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ สนามกีฬาจังหวัดกาญจนบุรี

จัดนิทรรศการประชุมผู้ปกครองนักเรียน นักเรียน และคณะกรรมการสถานศึกษาทราบ วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ณ โรงเรียนบ้านหนองสองตอน


จัดนิทรรศการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๑๑-๑๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ สนามกีฬาจังหวัดกาญจนบุรี

จัดนิทรรศการงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระหว่างวันที่ ๑๒-๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ ณ โรงเรียนเทพศิรินทร์ลาดหญ้า กาญจนบุรี


จัดนิทรรศการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตาบลแก่งเสี้ยน ตามโครงการความรัก ความสามัคคี เพื่อชุมชนเข้มแข็ง “คืนความสุขให้กับคนไทย” วันอังคารที่ ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ โรงเรียนบ้านหนองสองตอน


โครงการแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญานาพาเอกลักษณ์ นักเรียนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ไปแหล่งเรียนรู้ไม้ดอกไม้หอมไทย วันอังคารที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗


โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เข้าค่ายคุณธรรม จริยธรรม ระหว่างวันที่ ๑๐-๑๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมใหญ่ โรงเรียนบ้านหนองสองตอน

นักเรียนแกนนาขยายผลการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น ให้กับ อสม. หมู่ที่ ๔ วันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุมใหญ่ โรงเรียนบ้านหนองสองตอน


โครงการประดิษฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น นักเรียนทุกคนได้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ จากภูมิปัญญาท้องถิ่น

การทาแจกันผลิตภัณฑ์พอเพียง จากภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยจ่าสิบเอกปรีชา บุญชื่น ณ โรงเรียนบ้านหนองสองตอน



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.