ฺBEST PRACTICE นางสาวมนัสนันท์ ทองศรีมัณฑนา ผอ.โรงเรียนบ้านพุเลียบ สพป.กาญจนบุรี เขต 1

Page 1

1

วิธีปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศ (BEST PRACTICES)โรงเรี ยนบ้ านพุเลียบ

1. ชื่อผลงาน …การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วย BPL model ด้าน ( / ) วิชาการ ( ) บริหารจัดการศึกษา ( ) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา 2.1 ชื่อผู้พัฒนา นางสาวมนัสนันท์ ทองศรีมัณฑนา 2.2 ตาแหน่ง ผู้อานวยการ โรงเรียนบ้านพุเลียบ ตาบลหนองบัว อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 71190 2.3 โทรศัพท์ 081-9442279 , 034-510709 e-mail nbkk03@yahoo.com, nbkk03@hotmail.com line: nibol มนัสนันท์ facebook: nini manatsanan 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา โรงเรียนบ้านพุเลียบ ได้กาหนดจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 2. ครูมีขวัญกาลังใจที่ดี และพัฒนาการสอนอย่างต่อเนื่อง 3. โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิภาพ 4. ระยะเวลาในการพัฒนา ปีการศึกษา 2557 (พฤษภาคม 2557-มีนาคม 2558) 5. ความสัมพันธ์ระหว่างวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศกับเป้าหมายและจุดเน้นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนนั้น ข้าพเจ้าได้บริหารจัดการ ตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียนบ้านพุเลียบ คือ “โรงเรียนบ้านพุเลียบเป็นโรงเรียนแห่งความพอเพียงและแหล่งเรียนรู้ ก้าวสู่สากล” นอกจากนี้ ยังได้ นาพันธกิจของโรงเรียนสู่การปฏิบัติ คือ “ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ พัฒนา แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียน” และสอดคล้องกับจุดเน้นของโรงเรียนในด้าน คุณภาพผู้เรียนคือ 1)การพัฒนาคุณลักษณะและสมรรถนะผู้เรียน 2)การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นอกจากนี้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้วย BPL model ในครั้งนี้ ยัง สอดคล้องกับนโยบายของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. ด้านผู้เรียน ข้อ 1.1 นักเรียนมีสมรรถนะสาคัญ สู่มาตรฐานสากล ในประเด็น “นักเรียน ป.6 ม. 3 และ ม.6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบระดับชาติ (Onet) กลุ่มสาระหลัก เพิ่มขึ้นเฉลี่ยไม่ น้อยกว่า ร้อยละ 3 ข้อ 1.3 นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาเต็มศักยภาพ


2

ประเด็น “เด็กด้อยโอกาส ได้รับโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร และอัตลักษณ์แห่งตน” 2. ด้านครู ข้อ 2.1 ครูได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ และสมรรถนะ ผ่านการปฏิบัติจริงและการ ช่วยเหลืออย่างต่อเนือ่ ง มีประเด็นสาคัญ ดังนี้ “1) ครูได้รับการพัฒนาองค์ความรูเ้ กี่ยวกับการพัฒนาการ คิด การวัดประเมินผลของครู ให้สามารถพัฒนาและประเมินผลนักเรียนเป็นรายบุคคล 2)ครูสามารถ จัดการเรียนรู้ในวิชาที่โรงเรียนต้องการ ได้ด้วยตนเองหรือใช้สื่อเทคโนโลยี 3)ครูได้รับการนิเทศแบบ กัลยาณมิตร โดยเขตพื้นที่การศึกษา และโดยเพื่อนครูทงั้ ในโรงเรียนเดียวกัน หรือระหว่างโรงเรียน หรือ ภาคส่วนอื่น ๆ ตามความพร้อมของโรงเรียน 4)ครูได้รับการช่วยเหลือให้จัดการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิผล โดยชุมชนแห่งการเรียนรู้ของครูในพื้นที่ทั้งในโรงเรียนเดียวกัน ระหว่างโรงเรียน หรืออื่น ๆ 3. ด้านการบริหารจัดการ ข้อ 3.1 สถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา บริหารจัดการ โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์เน้นการมีส่วนร่วม และมีความรับผิดชอบต่อผลการดาเนินงาน ในประเด็น “สถานศึกษา บริหารจัดการโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ เน้นการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง และการมีความรับผิดชอบต่อผลการ ดาเนินงาน” ข้อ 3.2 สถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ตาม มาตรฐาน ในประเด็น “สถานศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายใน ได้ระดับมาตรฐานของสานักงานเขต พื้นที่การศึกษา และหรือผ่านการรับรองจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)” 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนด้วย BPL model ครั้งนี้ ข้าพเจ้าได้บูรณาการ แนวคิดดังนี้ 1)การบริหารด้วยวงจรเดมมิ่ง (PDCA) 2)ทฤษฎีระบบ (Input, Process, Product) 3)แนวคิดในการจัดการศึกษาใน ศตวรรษที่ 21 ของรุ่งนภา จิตรโรจนรักษ์ (2556: ออนไลน์) ที่ กล่าวเนื่องในวันครูแห่งชาติ ปี 2556 ว่าสานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชนได้ สารวจความเห็นของครูสอนดีจานวน 210 คน โดยกลุ่มตัวอย่างกระจายใน 4 ภูมิภาคของประเทศ เพื่อ สอบถามถึงปัจจัยทีเ่ ป็นอุปสรรคของการทาหน้าที่ครู และแนวทางการส่งเสริมครูให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ ได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งพบ 6 ปัญหาสาคัญทีก่ ลายเป็นอุปสรรคของการทาหน้าที่ครู ประกอบด้วย 1) ภาระหนัก นอกเหนือจากการสอน 22.93% 2) จานวนครูไม่เพียงพอ สอนไม่ตรงกับวุฒิ 18.57% 3) ขาดทักษะด้าน ไอซีที 16.8% 4) ครูรุ่นใหม่ขาดจิตวิญญาณ ขณะที่ครูรุ่นเก่าไม่ปรับตัว 16.49% 5) ครูสอนหนัก ส่งผลให้ เด็กเรียนมากขึ้น 14.33% และ 6) ขาดอิสระในการจัดการเรียนการสอน 10.88% ส่วนปัจจัยส่งเสริมการ ทาหน้าที่ของครูให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้นพบว่า อันดับ 1 คือการอบรม แลกเปลี่ยน และสร้างเครือข่าย การเรียนรู้ 19.32%, การพัฒนาตนเองในเรื่องไอซีที 19%, การเพิม่ ฝ่ายธุรการ 18.01%, ปรับการประเมิน


3

วิทยฐานะ 17.12%, การลดชั่วโมงการเรียนการสอนของครูและการเรียนของเด็ก 13.42% อย่างไรก็ตาม ปัจจัยส่งเสริมที่ครูต้องการพบว่า 39% เป็นปัจจัยเพื่อการพัฒนากระบวนการสอน เพือ่ ถ่ายทอดความรู้แก่ ศิษย์ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นจึงสะท้อนให้ถึงจิตวิญญาณของความเป็นครู 4)แนวคิดในการจัดการศึกษาใน ศตวรรษที่ 21 ของไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2556: ออนไลน์) ที่กล่าว ว่า ครูไทยยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 ต้องเปลี่ยนบทบาทจากผู้ถ่ายทอดความรู้เป็นผู้อานวย ความรู้ แนวทางในการพัฒนาทักษะครูไทยในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วยทักษะ 7 ด้าน ได้แก่ 1)ทักษะใน การตั้งคาถาม เพื่อช่วยให้ศิษย์กาหนดรู้เป้าหมายและคิดได้ด้วยตนเอง 2)ทักษะทีส่ อนให้เด็กหาความรู้ได้ ด้วยตัวเองและด้วยการลงมือปฏิบัติ 3)ทักษะในการคัดเลือกความรู้ ตามสภาพแวดล้อมจริง 4)ทักษะใน การสร้างความรู้ ใช้เกณฑ์การทดสอบและตรวจสอบความถูกต้องอย่างไร เพื่อทาให้ศิษย์เกิดความเข้าใจ อย่างชัดแจ้ง 5)ทักษะให้ศิษย์คิดเป็น หรือตกผลึกทางความคิด 6)ทักษะในการประยุกต์ใช้ และ 7)ทักษะใน การประเมินผล ซึ่งครูยุคใหม่จาเป็นต้องมีทักษะทั้ง 7 ด้านในการเป็นผูอ้ านวยความรู้ให้เด็ก แทนที่จะเป็น ผู้ถ่ายทอดความรูเ้ หมือนก่อน การบูรณาการแนวคิดดังกล่าว สรุปเป็นภาพได้ ดังนี้ การบริหารด้วยวงจร เดมมิ่ง (PDCA)

+

ทฤษฎีระบบ (Input, Process, Product)

+

แนวคิดในการจัด การศึกษาใน ศตวรรษที่ 21

BPL model

ภาพที่ 1 แนวคิดในการบูรณาการ BPL model จากนั้น ข้าพเจ้าได้บรู ณาการแนวคิดดังกล่าวเป็น BPL model โรงเรียนบ้านพุเลียบ ดังนี้


4

B: Basic to be the best (สร้างพื้นฐานเพื่อการศึกษาที่มี ประสิทธิภาพ) BPL

P : Plan (วางแผน) : Participate (มีส่วนร่วม)

model P A

D C

L: Learn to teach (ครูเรียนรู้ วิธีสอน) : Learn to know(นักเรียน เรียนรู้วิธีรู้)

1.Student Quality (คุณภาพ ผู้เรียน) 2. Teacher Quality (คุณภาพครู) 3. Assurance Quality (คุณภาพการ ประกันภายใน)

ภาพที่ 2 BPL model โรงเรียนบ้านพุเลียบ 7. กระบวนการพัฒนา 7.1 กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านพุเลียบ ปีการศึกษา 2557 จานวน 19 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา กลวิธีในการขับเคลื่อนสู่ BPL model โรงเรียนบ้านพุเลียบ การปฏิบัติจริงให้เกิดผลสาเร็จนั้น ข้าพเจ้าได้ดาเนินการ ดังนี้ 1) B: Basic to be the best (สร้างพื้นฐานเพื่อการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ) คือ นาข้อมูล ด้านผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนจากทดสอบของโรงเรียนและจากการสอบ Onet และรายงานการประเมิน ตนเองของโรงเรียน ปีการศึกษา 2556 ตลอดจน ข้อมูลจากการเยี่ยมบ้านนักเรียน มาประชุมครูวิชาการ และครูผู้สอนในระดับชั้นต่าง ๆ ก่อนที่จะเปิดภาคเรียนในปีการศึกษา 2557 เพื่อวิเคราะห์หาจุดแข็ง จุดอ่อน แล้วร่วมกันกาหนดเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน การพัฒนาคุณภาพการสอนของครู และ ดาเนินงานตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน โดยกาหนดเป็นวิสัยทัศน์ของโรงเรียน จุดเน้น และ เป้าหมายร่วมกัน ให้สอดคล้องกับนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จุดเน้น ปัญหาและความต้องการของผูเ้ รียน โดยทุกคนมีเป้าหมายเดียวกัน คือ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สงู ขึ้นในปีการศึกษา 2557


5

2) P : Plan (วางแผน), Participate (มีส่วนร่วม) คือ หลังกาหนดเป้าหมายในการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนแล้ว คณะครูและผู้บริหารสถานศึกษาได้วางแผนการทางานร่วมกัน โดยเริม่ จาก 2.1 วางแผนพัฒนาคุณภาพการสอนของครู โดยให้ครูไปศึกษา ดูงาน โรงเรียนต้นแบบที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงอย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 ครั้ง, เข้ารับการอบรม แสวงหาความรู้ และพัฒนา ตนเองด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง แล้วนาความรูท้ ี่ได้รบั มาแลกเปลี่ยนความรูก้ ันทั้งอย่างเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ ผู้บริหารสถานศึกษาลดภาระงานธุรการของครูลงโดยจ้างครูธุรการด้วยเงินนอก งบประมาณ และ จ้างครูสาขาที่ขาดแคลนมาสอนวิชาที่ผล Onet ต่า เช่น ครูคณิตศาสตร์ ครูต่างชาติชาว อังกฤษ เป็นต้น 2.2 นาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรท้องถิ่น และโครงสร้างข้อสอบ Onet มา วางแผน และกาหนดตารางสอนโดยครูวิชาการเป็นหัวหน้าคณะทางานร่วมกับครูระดับชั้นต่าง ๆ ผูบ้ ริหาร สถานศึกษาเป็นทีป่ รึกษา โดยภาคเรียนที่ 1 และ ภาคเรียนที่ 2 จนถึงเดือนธันวาคม ครูทุกคนกาหนด เป้าหมายว่า ต้องสอนนักเรียนชั้นกลุ่มเป้าหมายทีจ่ ะสอบ Onet ให้เสร็จสิ้นตามหลักสูตร จากนั้น เดือน มกราคมเป็นต้นไปให้ครูสอนแบบสรุป ทบทวน และติว 2.3 วางแผนการใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน แหล่งเรียนรู้ รูปแบบวิธีสอน การใช้ งบประมาณ และ วางแผนการนิเทศของครูวิชาการ และผูบ้ ริหารสถานศึกษา 3) L: Learn to teach (ครูเรียนรู้วิธีสอน), Learn to know(นักเรียนเรียนรู้วิธีรู้) คือ ครูลง มือสอนตามแผนทีก่ าหนดไว้ ดังนี้ 3.1 ครูจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ ด้วยวิธีการต่าง ๆ ภายใต้แนวคิด “bring the best out of the pupils(การสอนโดยดึงความสามารถในตัวเด็กออกมา)” และส่งเสริมให้ผเู้ รียน แสวงหาความรูจ้ ากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทัง้ ในห้องเรียน นอกห้องเรียน อินเทอร์เน็ต เรียนทางไกลผ่าน ดาวเทียม เป็นต้น ภายใต้แนวคิด “build the best learning environment (สร้างสภาพแวดล้อมที่ ดีในการเรียนรู้)” 3.2 ผู้บริหารสถานศึกษาและครูวิชาการ นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือครูทกุ คน และสุม่ สอนนักเรียน ในบางชั่วโมง แล้วนาข้อมูลจากการนิเทศมาเสนอในทีป่ ระชุมครูเพื่อสรุปเป็นภาพรวมของโรงเรียน 3.3 ครูปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนตามข้อเสนอแนะของผู้นเิ ทศ 3.4 ผู้บริหารสถานศึกษา ติดตามการปรับปรุงการสอนของครูจากสมุดนักเรียน และกาลังใจครู ชื่นชมนักเรียนทีม่ ีผลการปฏิบัติที่ดี 3.6 ครูสรุปเนื้อหา และติวสอบนักเรียนเพื่อเตรียมพร้อมสู่การวัดและประเมินผลปลายภาคเรียน และปลายปี รวมทั้ง การสอบ Onet 3.7 ครูวิชาการ รายงานผลการทดสอบและรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ครู และ รายงาน ผลการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา


6

7.3 การตรวจสอบคุณภาพ การติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ข้าพเจ้า ติดตามจากกิจกรรม ต่อไปนี้ 1) ติดตามจากการนิเทศของครูวิชาการ และการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษา และการตรวจ สมุดนักเรียน 2) ติดตามจากผลการทดสอบ ปลายภาค/ปลายปี และ การสอบ Onet 3) ติดตามจากรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) 7.4 แนวทางการนาไปใช้ประโยชน์ ในการนาประโยชน์จากการนา BPL model โรงเรียนบ้านพุเลียบไปใช้นั้น ข้าพเจ้าได้นามา ปรับใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นอื่น ๆ ในปีการศึกษา 2558 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1) ผลการสอบ O-NET ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 เมื่อ เปรียบเทียบกับ ผลการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2556 มีผลเฉลี่ยทั้ง 8 กลุม่ สาระเพิ่มขึ้น ร้อยละ 6.95 2) ผลการสอบ O-NET ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 ทุกกลุ่ม สาระเมื่อเปรียบเทียบในระดับเขตพื้นที่ สูงกว่าค่าเฉลี่ยรวมของระดับเขตพื้นที่ ร้อยละ 2.96 และได้อันดับ 2 ของเขตพื้นที่ 3) ผลการสอบ O-NET ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 จานวน 4 กลุ่มสาระสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ สาระภาษาไทย สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระสุขศึกษาและพลศึกษา สาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี และค่าเฉลี่ยรวม 8 สาระสูงกว่า ระดับประเทศ 0.06 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1) นักเรียน ได้รับรางวัลจากการประกวดความสามารถทางวิชาการ ในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก จังหวัดนนทบุรี ปีการศึกษา 2557 จานวน 6 รายการ 2) ครูได้รับรางวัลผู้ฝึกสอนนักเรียนให้ได้รบั รางวัลงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับภาค กลางและภาคตะวันออก จังหวัดนนทบุรี ปีการศึกษา 2557 จานวน 6 รายการ และ ได้รบั รางวัลหนึง่ แสน ครูดี


7

3) โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพภายในของปีการศึกษา 2557 ที่ได้มาตรฐาน 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง 1) นักเรียนมีความพึงพอใจ กับ การติว O-NET ในระดับ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 98.45 2) ครู มีความพึงพอใจ กับ การติว O-NET ในระดับมากที่สดุ คิดเป็น ร้อยละ 98.45 3) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง และชุมชนมีความพึงพอใจต่อ คุณภาพงานวิชาการและการบริหารจัดการอยู่ในระดับ มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 90.30 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา/ประสบการณ์ 1. ครูผู้สอน เปิดใจกว้างในการพัฒนาตนเอง และเต็มใจให้ความร่วมมือในการพัฒนา คุณภาพการสอน 2. ผู้เรียน ให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ 3. ผู้บริหารสถานศึกษา ให้การสนับสนุนทุกด้าน เป็นกาลังใจ ช่วยเหลือ แนะนาครูอย่าง กัลยาณมิตรในการพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ 4. คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน ให้ความร่วมมือ ในการสนับสนุน การเรียนของบุตรหลานทั้งการสรรหาทรัพยากร และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของโรงเรียน 9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า ในปีการศึกษา 2558 ข้าพเจ้าและครูฝ่ายวิชาการ รวมทั้ง ครูผสู้ อนในระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 และประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ร่วมกันวางแผนพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน ดังนี้ 1) เพิ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนฐานเก่ง ดี มีสุข ในคาบบ่ายวันพุธ และเน้นทักษะภาษา โดยเปิดชุมนุมภาษาสูอ่ าเซียนในบ่ายวันพฤหัสบดี โดยให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความสนใจ เช่น ภาษาไทย จีน พม่า และ เกาหลี 2) ปรับตารางสอนกลุ่มเป้าหมายให้ตรงกับโรงเรียนไกลกังวลเพื่อให้เด็กและครูเรียนรู้ ร่วมกันในวิชาหลัก 5 กลุม่ สาระการเรียนรู้ และจัดตารางสอนเสริมและติวทุกคาบสุดท้ายของแต่ละวัน วัน ละ 1 สาระการเรียนรู้


8

3) และประชุมชี้แจงครูทั้งโรงเรียน เพื่อร่วมกันพัฒนาการเรียนการสอน นักเรียนให้มี ประสิทธิภาพ 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง จากการนา BPL model โรงเรียนบ้านพุเลียบมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ และ คุณภาพผู้เรียนนั้น ทาให้ผลการเรียนของผูเ้ รียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 สูงขึ้นกว่า ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จ และการเผยแพร่ 1) ข้าพเจ้าได้ประกาศผลการสอบ Onet ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อยกย่อง ชมเชย นักเรียนและครู ให้นกั เรียนและครูโรงเรียนบ้านพุเลียบทราบที่หน้าเสาธง รายการเสียงตามสาย และใน การประชุม 2) ข้าพเจ้าได้แจ้งให้นักเรียนประกาศผลการสอบ Onet ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ใน รายการเสียงตามสายของหมู่บ้าน และ แจ้งในทีป่ ระชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชนรับทราบ เกิดภาคภูมิใจและศรัทธาในสถาบัน 3) ปิดป้ายประชาสัมพันธ์หน้าโรงเรียน เพื่อประกาศให้ชุมชนและผูม้ าติดต่อราชการรับทราบ 4) เผยแพร่ในวารสารพุเลียบสัมพันธ์ ปีการศึกษา 2557 เพื่อแจกให้ผู้ปกครอง คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ หน่วยงานในท้องถิ่น ตลอดจน แขกผู้มาเยือนโรงเรียนบ้านพุเลียบได้รบั ทราบ 5) จัดกิจกรรม วันแห่งความสาเร็จ เพื่อมอบใบประกาศนียบัตร และมอบทุนการศึกษา เพือ่ เป็น ขวัญกาลังใจแก่นักเรียน


9

ภาคผนวก


10


11


12


13


14


15


16


17


18


19


20


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.