Best Practice นางแก้วมณี ช้างงา ครู ร.ร.อนุบาลกาญจนบุรี

Page 1

BEST PRACTICE

โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 .......................... 1. ชื่อผลงาน Best Practice “งามอยางไทย ดํารงไวเอกลักษณชาติ” กลุมสาระการเรียนรู บูรณาการ วิชาการยอดเยี่ยม 2. ขอมูลทั่วไปของผูพัฒนา Best Practice 2.1 ชื่อผูพัฒนา Best Practice นางแกวมณี ชางงา วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี 1.2 ที่อยู โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี 75 ซอยศุภกิจโกศล ถนนอูทอง ตําบลบานเหนือ อําเภอ เมือง จังหวัดกาญจนบุรี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 2.3 หมายเลขโทรศัพท 081 – 5261676 e-mail kaewmanee_changnga@hotmail.com 3. เปาหมาย / วัตถุประสงคการพัฒนา Best Practice 3.1 เพื่อใหนักเรียนฝกปฏิบัติมารยาทไทย การกราบ การไหว การนั่ง การยืน การเดิน ได 3.2 เพื่อใหนักเรียนเห็นคุณคาและชื่นชม มีมารยาทไทย ซึ่งเปนวัฒนธรรมของชาติ 3.3 เพื่อใหนักเรียนสามารถเผยแพรมารยาทไทยตอบุคคลอื่นๆ ได 3.4 เพื่อใหนักเรียนสามารถนําไปปฏิบัติไดจริงในชีวิตประจําวัน 4. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice เดือน พฤษภาคม 2557 – เดือน ตุลาคม 2557 5. ความเชื่อมโยง/ ความสัมพันธระหวาง Best Practice กับเปาหมาย / จุดเนนของ สพป/สพฐ./ สถานศึกษา/ คสช. Best Practice “งามอยางไทย ดํารงไวเอกลักษณชาติ” มีความสอดคลองกับเปาหมายและจุดเนน ดังนี้ เปาหมายและจุดเนนของ สพป. สนองกลยุทธที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ เปาหมาย จุดเนนของ สพฐ. ขอ 3 นักเรียนทุกคนมีความสํานึกในความเปนไทย จิตสาธารณะ อยูอยาง พอเพียง (Sufficiency & Public Mind ) เปาหมายจุดเนนของโรงเรียน ขอ 3 สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่เหมาะสม ตามคุณลักษณะ ที่สําคัญของผูเรียน 8 ดาน ขอ 7 ปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม คานิยมที่พึงประสงค ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู อยางตอเนื่อง


จุดเนนและขอบขาย รายวิชาเพิ่มเติม หนาที่พลเมือง จุดเนนที่ 1. ความเปนไทย ขอ 1 ลักษณะที่ดี ของคนไทย (มารยาทไทย กตัญูกตเวที เอื้อเฟอเผื่อแผ เสียสละ) 6. แนวคิด / หลักการ / ทฤษฎี ที่นํามาใชในการพัฒนา Best Practice จากสภาพปจจุบันเปนยุคโลกาภิวัตน เปดประเทศเขาสูประชาคมอาเซียน มีความทันสมัยดานการสื่อสาร จากเทคโนโลยี และอารยธรรมของชาวตางชาติเขามาสูเยาวชนไทยอยางรวดเร็ว เปนเหตุใหเยาวชนรับอารยธรรม จากตางชาติ จนอาจลืมเลือนวัฒนธรรมอันดีง ามของชาติไทย ซึ่งมีความนุม นวล ออนนอมสวยงาม และคง เอกลักษณความเปนไทยมาเนิ่นนาน เพื่อรักษาและดํารงไว ซึ่งวัฒนธรรมไทย เอกลักษณของชาติไว จึงควรปลูก จิตสํานึกใหเยาวชนปฏิบัติตนใหถูกตองเหมาะสมตามกาลเทศะและบุคคล ในการเรียนการสอนรายวิชาสังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จึงนําหนวยพระพุทธศาสนา มาบูรณาการกับหนวยหนาที่พลเมือง ซึ่งสอดคลอง กับคานิยมหลัก 12 ประการของคณะรักษาความสงบแหงชาติ ขอ 5 รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม และ ขอ 8 มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจักการเคารพผูใหญ บูรณาการกับวิชาภาษาไทยโดยการเขียน เรียงความ การเขียนตามคําบอก จากการที่เยาวชนยังขาดความรูความเขาใจ ในดานการแสดงความเคารพ และเปนผลใหทําความเคารพ ตอบุคคลและสถานที่ไมถูก ตอง ซึ่งถาไมอนุรักษสง เสริ มวัฒนธรรมดานมารยาทไทยใหดํารงไว ก็อาจลืมเลือน ผิดเพี้ยนไปตามกาลเวลา เพื่อใหเยาวชนทําความเคารพไดถูกตอง ทั้งการกราบพระ กราบผูมีพระคุณ ผูอาวุโส การไหวพระ ไหว ปู ยา ตา ยาย พอแม ครู อาจารย รวมทั้งบุคคลทั่วไปที่นับถือ จึงควรมีการแนะนํา อบรม นักเรียนใหรับรูเขาใจ มารยาทที่ดีและถูกตอง เพื่อใหดํารงไวคูชาติไทยไปตลอดกาล จากปญหาที่เกิดขึ้น เกี่ยวกับการทําความเคารพ การกราบ การไหว บุคคลตาง ๆ จึงไดทําการศึกษา เอกสารมารยาทไทยที่ถูก ตอง ของสํานัก งานวัฒนธรรมแหงชาติ และไดรับคําแนะนําจากทานอาจารยวินัย วรวัฒน และทานอาจารยสุภดี ภูเกษมวรางกูล เจาหนาที่ของสํานักงานวัฒนธรรมแหงชาติ และศึกษาจากซีดี สาธิตมารยาทไทยของธนาคารนครหลวงไทย ซึ่งเปนหนวยงานที่จัดประกวด โครงการ “ธนาคารนครหลวงไทย อนุรักษเอกลักษณไทย” ซึ่งไดนํามาใหนักเรียนชม และฝกหัดปฏิบัติตาม พบวานักเรียน สามารถปฏิบัติไดถูกตองทุกคน และไดนําไปใชในชีวิตประจําวันทุกวัน 7. กระบวนการพัฒนา Best Practice 7.1 กลุมเปาหมายในการนํา Best Practice ไปใช 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 -5 จํานวน 10 คน 7.2 ขั้นตอนในการพัฒนา Best Practice 1. ศึกษาเอกสารมารยาทไทย ของสํานักงานวัฒนธรรมแหงชาติ 2. ศึกษาทาทางมารยาทที่ถูกตอง จากซีดี ของธนาคารนครหลวงไทย และฝกปฏิบัติจน แมนยํา ไมผิดพลาด 3. ประชุมครูผูฝกซอมมารยาทไทย 4. คัดเลือกนักเรียนที่เรียบรอยจํานวน 10 คน เพื่อดูการพัฒนาปฏิบัติมารยาทไทย ตัวจริง 8 คน ตัวสํารอง 2 คน


5. ใหนักเรียนดู ซีดี มารยาทไทย เพื่อใหเห็นทาทางที่ถูกตอง 6. ฝกซอมมารยาทไทยในวันราชการตอนเชาขณะที่นักเรียนทั้งหมดทํากิจกรรมหนาเสาธง เวลาพักกลางวัน และวันหยุด ฝกทั้งทาทางมารยาทที่ถูกตองและการแสดงบทบาทสมมุติ 7. พานักเรียนระดับ ป.1- 3 และระดับ ป.4 – 6 ไปประกวดมารยาทไทย “โครงการ ธนชาติ ริเริ่มเติมเต็มเอกลักษณไทย” ชิงถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี รอบคัดเลือกภาคกลางและกรุงเทพมหานคร 8. ฝกซอมมารยาทไทยนักเรียนระดับ ป.1-3 และระดับ ป.4 – 6 เพื่อแขงขันรอบชิงชนะลิศ 9. พานักเรียนระดับ ป.1- 3 และระดับ ป.4 – 6 ไปประกวดมารยาทไทย “โครงการ ธนชาติ ริเริ่มเติมเต็มเอกลักษณไทย” ชิงถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี รอบชิงชนะเลิศภาคกลางและกรุงเทพมหานคร 10. นักเรียนประเมินความพึงพอใจในการประกวดมารยาทไทย 11. นักเรียนที่ไปประกวดมารยาทไทย กลับมาฝกซอมมารยาทไทยเปนตนแบบใหกับ นักเรียนคนอื่น 12. จัดประกวดมารยาทไทยในโรงเรียนตามสายชั้น 13.. สรุปประเมินผลการประกวดภายในโรงเรียน เสนอตอผูอํานวยการ


ผังการดําเนินงาน

( FLOW CHART ) งามอยางไทย ดํารงไวเอกลักษณชาติ ศึกษาเอกสารมารยาทไทย

สรุปประเมินผลการ ประกวดภายในโรงเรียน

ศึกษาท่าทางมารยาททีถูกต้ อง จากซีดี

ประกวดมารยาทไทยในโรงเรียน

ประชุมครูผู ้ ฝึกซ้ อมมารยาทไทย

เป็ นต้นแบบให้ กับ นักเรียนคนอืน

คัดเลือกนักเรียนทีเรียบร้ อย จํานวน

ประเมินความพึงพอใจ

คน เพือดู การพัฒนา

ให้ นักเรียนดู ซีดี มารยาทไทย

พานักเรียนไปประกวดมารยาทไทย ที ธนาคารธนชาติ รอบชิงชนะเลิศ

ฝึ กซ้ อมมารยาทไทย

พานักเรียนไปประกวดมารยาทไทย

ฝึ กซ้ อมเตรียมแข่งรอบ

และบทบาทสมมุ ติ

ที ธนาคารธนชาติ รอบคัดเลือก

ชิงชนะเลิศ

7.3 การตรวจสอบคุณภาพ Best Practice วิธีการ การประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ครู ผูปกครอง ในการประกวดมารยาทไทย ผลการตรวจสอบคุณภาพ 1. ความพึงพอใจ ของนักเรียนที่ประกวดมารยาทไดรับรางวัลคิดเปนรอยละ 100 2. ความพึงพอใจของของครูผูควบคุมทีม คิดเปนรอยละ 97.35 3. ความพึงพอใจของผูปกครอง คิดเปนรอยละ 100


7.4 แนวทางการนํา Best Practice ไปใชประโยชน 1. นําไปฝกนักเรียนทั้งโรงเรียนใหปฏิบัติมารยาทไทยไดถูกตองสวยงาม 2. นักเรียนรูจักมารยาท ปฏิบัติตนไดถูกกาลเทศะ ตอบุคคลและสถานที่ 3. นําไปฝกนักเรียนเพื่อสงแขงขันประกวดมารยาทไทยที่หนวยงานตาง ๆจัดขึ้น 4. นําไปใชปฏิบัติในชีวิตประจําวัน 8. ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา Best Practice 8.1 ผลสําเร็จเชิงปริมาณ 1. นักเรียนที่เขาแขงขันทั้งหมด ปฏิบัติมารยาทไทยไดถูกตองสวยงาม เปนที่ชื่นชมของ คณะกรรมการ คิดเปนรอยละ 100 2. นักเรียนโรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี รูจักมารยาทไทยที่ถูกตอง คิดเปนรอยละ 100 3. นักเรียนโรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ปฏิบัติมารยาทไทยที่ถูกตองได คิดเปนรอยละ 92.65 8.2 ผลสําเร็จเชิงคุณภาพ นักเรียนไดรับรางวัลจากหนวยงานตาง ๆ ดังนี้ ที่ ชื่อนักเรียน รางวัลที่ไดรับ 1. 1.ด.ญ.กรรวี กลิ่นพยอม ไดรับรางวัล ชมเชย การประกวดมารยาทไทย ระดับ 2.ด.ญ.พรไพลิน รัตนบุรี ประถมศึกษาปที่ 4 – 6 โครงการ ธนชาติ ริเริ่ม เติมเต็ม 3.ด.ญ.ศศิพิมพ ธรรมรงค เอกลักษณไทย ครั้งที่ 43 ประจําป 2557 4.ด.ช.ณัฐดนัย มัธยม 2. 1.ด.ญ.พริมรตา กัลยาทอง ไดรับรางวัล ชมเชย การประกวดมารยาทไทย ระดับ 2.ด.ญ.กัญญาวีร คงกระพันธ ประถมศึกษาปที่ 1 – 3 โครงการ ธนชาติ ริเริ่ม... เติมเต็ม 3.ด.ญ.กชพรรณ ใบบัว เอกลักษณไทย ครั้งที่ 43 ประจําป 2557 4.เด็กชายมนตธนัท รักอาชา 3 1.ด.ช.ณัฐดนัย มัธยม รางวัลชนะเลิศ การประกวดมารยาทไทย ระดับ 2.ด.ญ.กรรวี กลิ่นพยอม ประถมศึกษาปที่ 4 -6 “โครงการอนุรักษและสืบสานประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามของจังหวัดกาญจนบุรี ป 2557 4. 1.เด็กชายมนตธนัท รักอาชา รางวัลรองชนะเลิศ การประกวดมารยาทไทย ระดับ 2.ด.ญ.กัญญาวีร คงกระพันธ ประถมศึกษาปที่ 1 - 3 “โครงการอนุรักษและสืบสานประเพณี วัฒนธรรมที่ดีงามของจังหวัดกาญจนบุรี ป 2557 5 1.ด.ช.ณัฐดนัย มัธยม รางวัล ชนะเลิศ กิจกรรม ประกวดมารยาทไทย ระดับชั้น 2.ด.ญ.กรรวี กลิ่นพยอม ประถมศึกษาปที่ 4 - 6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนเขตพื้นที่ การศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ครั้งที่ 64 ปการศึกษา 2557 6. 1.ด.ช.เสธตะวัน โชติสวัสดิ์ รางวัล ชนะเลิศ กิจกรรม ประกวดมารยาทไทย ระดับชั้น 2.ด.ญ.จันทรรัตน ธนาเกียรติธนัช ประถมศึกษาปที่ 1 - 3 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนเขตพื้นที่ การศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ครั้งที่ 64 ปการศึกษา 2557 7. 1.ด.ช.ณัฐดนัย มัธยม รางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมการประกวดมารยาทไทย 2.ด.ญ.พรไพลิน รัตนบุรี ระดับชั้น ป.1 – ป.3 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและ


8. 1.ด.ช.ธีรภัทร หวองเจริญพานิช 2.ด.ญ.กรรวี กลิ่นพยอม

ภาคตะวันออก ครั้งที่ 63 จ.เพชรบุรี ปการศึกษา 2556 รางวัลระดับเหรียญเงิน กิจกรรมการประกวดมารยาทไทย ระดับชั้น ป.4 – ป.6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและ ภาคตะวันออก ครั้งที่ 63 จ.เพชรบุรี ปการศึกษา 2556 รางวัลชนะเลิศ การประกวดมารยาทไทย จังหวัดกาญจนบุรี ประจําป 2556 ระดับประถมศึกษา รางวัลชนะเลิศ แขงขันมารยาทไทย ระดับประถมศึกษา เนื่องในงานฉลองครบรอบ 55 ป และพิธีมอบประกาศนียบัตร วุฒิบัตร และทุนการศึกษา โรงเรียนพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ต.ลําไทร อ.วังนอย จ. พระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2556 รางวัลชมเชยอันดับ 1 แขงขันมารยาทไทย ระดับ ประถมศึกษา เนื่องในงานฉลองครบรอบ 55 ป และพิธีมอบ ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร และทุนการศึกษา โรงเรียนพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ต.ลําไทร อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ. 2556 ไดรับรางวัล ชมเชย การประกวดมารยาทไทย ระดับ ประถมศึกษาปที่ 1 – 3 โครงการ ธนชาติ ริเริ่ม... เติมเต็ม เอกลักษณไทย ถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจํา ป 2555 ไดผานเขารอบชิงชนะเลิศ ภาคกลางและกรุงเทพฯ ระดับ ประถมศึกษาปที่ 4 – 6 โครงการ ธนชาติ ริเริ่ม เติมเต็ม เอกลักษณไทย ประจําป 2555

9. 1.ด.ช.ธีรภัทร หวองเจริญพานิช 2.ด.ญ.กรรวี กลิ่นพยอม 10. 1.ด.ญ.ญาณิศา เพ็ญประยูร 2.ด.ญ.ณัชชา เหลืองเอี่ยม 3.ด.ญ.ชนันททิพย สดใส 4.ด.ญ.นริศรา กําลังเลิศ 5.ด.ช.เทพปกรณ ทองสงโสม 11. 1.ด.ญ.ศจีนรา อุตตบุญ 2.ด.ญ.กรรวี กลิ่นพะยอม 3.ด.ญ.อภิศรา กอนสิน 4.ด.ญ.นันทนภัส นันทกรสกุลศิริ 5.ด.ช.ธีรภัทร หวองเจริญพานิช 12. 1.ด.ช.พัสกร โชติเดชาณรงค 2.ด.ช.มณฑป เจริญพานิช 3.ด.ญ.พรมนัส คาขาย 4.ด.ญ.ศศิพิมพ ธรรมรงค 13. 1.ด.ญ.กรรวี กลิ่นพะยอม 2.ด.ญ.อติภา มหามงคล 3.ด.ญ.ชนันททิพย สดใส 4.ด.ช.ธีรภัทร หวองเจริญพานิช 14. 1.ด.ช.ธนวัฒน อุดมเจริญศิลป ไดรับรางวัลเหรียญทอง กิจกรรมมารยาทไทย ระดับชั้น ป.4-6 2.ด.ช.ชนันททิพย สดใส งานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคกลางและภาคตะวันออก ครั้งที่ 61 ปการศึกษา 2554 15. 1.ด.ช.ธีรภัทร หวองเจริญพานิช ไดรับรางวัลเกียรติบัตรระดับเหรียญทอง ชนะเลิศ กิจกรรม 2.ด.ญ.กรรวี กลิ่นพยอม มารยาทไทย ระดับชั้น ป.1-3 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ครั้งที่ 61 ประจําปการศึกษา 2554 16. 1.ด.ช.สุริยทรัพย ทรัพยแกวยอด ไดรับรางวัลชมเชย ระดับประถมศึกษาปที่ 1-3 โครงการนคร 2.ด.ญ.ชิดชนก สิทธิคงศักดิ์ หลวงไทย อนุรักษเอกลักษณไทย : การประกวดมารยาทไทย ชิง 3.ด.ญ.ชนันททิพย สดใส ถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช 4.ด.ญ.ปณฑารีย อารีรอบ กุมารี ประจําป 2553 17. 1.ด.ช.จิตติ สุขสวัสดิ์ ไดรับรางวัลเหรียญทอง ระดับชาติ กิจกรรมมารยาทไทย 2.ด.ญ.อติภา มหามงคล ระดับชั้น ป.1-3 ประเภททีม 2 คน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ประจําปการศึกษา 2552 18. 1.ด.ช.อรรถพล คงทอง ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแขงขันมารยาทไทย


2.ด.ญ.อติภา มหามงคล 19. 1.ด.ญ.กนกวรรณ บุญอยู 2.ด.ญ.วิริยา ผองใส 3.ด.ญ.วิจิตรา พวงมาลัย 4.ด.ญ.พัทธนันท ชูดี 5.ด.ญ.ภัทรวรรณ ศรีสัตย 20. 1.ด.ญ.พรมนัส คาขาย 2.ด.ญ.พัทธนันท ชูดี 3.ด.ญ.ธิวารัตน ชางนอย 4.ด.ญ.ณัชชานันท นันทประชา 5.ด.ญ.ภัทรวรรณ ศรีสัตย 6.ด.ญ.วิจิตรา พวงมาลัย 7.ด.ญ.นันทนภัส ขอเสริมกลาง 8.ด.ญ.ใบบัว บัวเนตร 9.ด.ญ.อัจฉราพร เกษมโสต 10.ด.ญ.ศศิพิมพ ธํามรงค 21 1.ด.ญ.พรมนัส คาขาย 2.ด.ญ.พัทธนันท ชูดี 3.ด.ญ.อัจฉราพร เกษมโสต 4.ด.ญ.พรไพลิน รัตนบุรี 5.ด.ญ.ภัทรวรรณ ศรีสัตย 6.ด.ญ.วิจิตรา พวงมาลัย 7. ด.ญ.ผไทมาศ คชมล 8.ด.ญ.จีรานุช แสงจันทร 9.ด.ญ.ฐิหัทยา บุญจันทร 10.ด.ญ.รัฐญาวรรณ โชติสวัสดิ์

ระดับประถมศึกษา โรงเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ ไดรับรางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง การประกวดสวดมนตหมู สรรเสริญพระรัตนตรัย ทํานองสรภัญญะ จังหวัดกาญจนบุรี ประจําป 2556 ระดับจังหวัด ประเภททีม 5 คน ระดับ ประถมศึกษา ไดรับรางวัลชมเชยการประกวดสวดมนตหมูฯ ทํานอง สรภัญญะ ระดับจังหวัด งานมหกรรมพัฒนาผูเรียนดาน พระพุทธศาสนาฉลองพระชันษา 100 ป สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก วันที่ 9 เดือนสิงหาคม พุทธศักราช 2556

ไดรับรางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ กิจกรรมสวดมนตแปล งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ปการศึกษา 2557 ระดับเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1

8.3 ความพึงพอใจของผูเกี่ยวของตอ Best Practice การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่ประกวด รวมทั้งครูผูควบคุมทีม ไดมาจากการตอบแบบ วัดความพึงพอใจ รอยละ 95.00 8.4 ปจจัยความสําเร็จของการพัฒนา ตอ Best Practice / ประสบการณเรียนรูจากการนํา Best Practice ไปใช 1) ความมานะพยายามตั้งใจฝกปฏิบัติมารยาทไทยของนักเรียน 2) ความรวมมือของคณะครู ผูบริหารโรงเรียน ผูปกครอง ที่สนับสนุนสงเสริมตั้งแต เริ่มฝกซอม จน แขงขันเสร็จสิ้น 9. กระบวนการตรวจสอบซ้ําเพื่อพัฒนา Best Practice ใหเกิดผลดีอยางตอเนื่อง


9.1 วิธีการตรวจสอบซ้ํา Best Practice การสรุปรายงานผลการประกวด โดยวิธีการประชุมคณะครูผูฝกซอม และนักเรียนผูเขา แขงขัน เพื่อหาปญหา ขอบกพรอง และรักษามาตรฐานของตนเองไว และพัฒนาขึ้น 9.2 ผลการตรวจสอบซ้ําเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง Best Practice สามารถรักษาคุณภาพ มาตรฐานการฝกปฏิบัติมารยาทไทย ใหคงอยูในระดับดีมาก ตรวจสอบไดจากผลงานการนํานักเรียนไปแขงขัน ตามหนวยงานตาง ๆ 10. การประชาสัมพันธผลสําเร็จของ Best Practice และการเผยแพร ขยายผลในวงกวาง วิธีการเผยแพร ขยายผลในวงกวาง วิธีการขยายผล รูปแบบ สถานที่ วัน เวลา ที่ขยายผล 1. จัดประกวดหนูนอยมารยาทงาม 1.รับสมัครนักเรียนหองละ 2 คน มา - ฝกซอม และประกวดที่หอง เปนตัวแทนฝกมารยาทกับนักเรียนที่ไป แสงสวางแหงชีวิต ในเดือน ประกวดมารยาทไดรับรางวัลมาแลว กุมภาพันธ 2554 2. นักเรียนที่เปนตัวแทนกลับไปฝก - แจกเกียรติบัตรวันศุกรที่ 24 เพื่อนในหองเรียนของตนเอง กุมภาพันธ 2554 ในชั่วโมงวิถี 3.กําหนดวันแขงขันประกวดมารยาท พุทธ ไทย 4. นักเรียนที่ประกวดมารยาทไดรับ รางวัลมาเปนคณะกรรมการตัดสิน 5. ประกาศผลแจกเกียรติบัตร 2. จัดประกวดมารยาทไทยตาม 1 ประชาสัมพันธการประกวดมารยาท จัดประกวดสนามหนาเสาธง สายชั้น ประกวดทั้งหองเรียน ไทยหนาเสาธง และบริเวณหนาเวทีเล็ก 2. ประชุมคณะกรรมการดําเนินงาน ในเดือนสิงหาคม 2556 กําหนดการฝกซอมเปนสายชั้น โดย นางแกวมณี ชางงา และนักเรียน มารยาท 3. ดําเนินการประกวดมารยาทไทย ตามกําหนด 4. ประกาศผลแจกเกียรติบัตร 3. จัดฐานฝกมารยาทไทย 1.จัดซุมฝกมารยาทไทยและมอบ วุฒิบัตรใหนักเรียนที่มาฝก ในวัน ภาษาไทยแหงชาติ ปการศึกษา 2555 2.จัดซุมฝกมารยาทไทย ในการจัด นิทรรศการตอนรับคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนคุณธรรม, 4. การตอนรับแขก - จัดนักเรียนมารยาทเชิญพาน - ทุกครั้งที่มีคณะกรรมการมา พวงมาลัย มอบใหคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียน ประเมินโรงเรียนพระราชทานระดับ


ประถมศึกษา, โรงเรียนพระราชทาน ระดับกอนประถมศึกษา และ คณะกรรมการประเมินโรงเรียน คุณธรรม สักการะพระพุทธกาญจน มงคล และศาลพระภูมิ โดยมี นักเรียนมารยาทจุดเทียนชนวนสงให


เอกสารอางอิง

การกราบเบญจางคประดิษฐ


การกราบเบญจางคประดิษฐ ใชกราบพระรัตนตรัย ไดแก พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ การกราบ เบญจางคประดิษฐ หมายถึง การที่ใหอวัยวะทั้ง 5 คือ เขา 2 มือทั้ง 2 ขาง และหนาผากจรดพื้น การกราบ จะมี 3 จังหวะ และจะตองนั่งอยูในทาเตรียมกราบ ทาเตรียมกราบ ชาย นั่งคุกเขาปลายเทาตั้ง นั่งบนสนเทา มือทั้งสอง วางบนหนาขา ทั้งสองขาง (ทาเทพบุตร) หญิง นั่งคุกเขาปลายเทาราบ นั่งบนสนเทา มือทั้งสอง วางบนหนาขาทั้งสองขาง (ทาเทพธิดา)

จังหวะที่ 1 (อัญชลี) ยกมือขึ้นประนมระหวางอก นิ้วทั้งหา เรียงชิดกันตั้งขึ้นแนบตัวไมกางศอก

จังหวะที่ 2 (วันทา) ยกมือขึ้นพรอมกับกมศีรษะ ใหปลายนิ้วหัวแมมืออยูระหวางคิ้ว ปลายนิ้วชี้จรด หนาผาก


จังหวะที

(อภิวาท) ทอดมือลงกราบ ให้ แขน

ทั งสองข้ างลงพร้ อมกัน มือควําห่างกันเล็กน้ อยพอ ให้ หน้ าผากจรดพื นระหว่างมือได้

ทําสามจังหวะใหครบสามครั้ง แลวยกมือขึ้นจบ โดยใหปลายนิ้วชี้จรดตีนผมแลวปลอยมือลง การ กราบไมควรใหชาหรือเร็วเกินไป

การกราบผูใหญ ชาย – หญิง นั่งพับเพียบเก็บปลายเทาเขาหาสะโพก วางมือทั้งสองขางประกบกันครอมเขาขางหนึ่งตั้งมือกม ศีรษะลงใหขอนิ้วอยูสวนบนหนาผาก

การไหว 1. การไหวพระ การไหวโดยการนั่งหรือยืน ปฏิบัติไดโดยยกมือที่พนมอยูระหวางอกขึ้นพรอมกับกมศีรษะ ลงใหปลายนิ้วหัวแมมือจรดหวางคิ้ว ปลายนิ้วหัวแมมือแนบสวนบนของหนาผาก พนมมืออยูระหวางอก ชาย ยืนปลายเทาแยก สนเทาชิด มือทั้งสองขางประกบ กัน แนบไวระหวางอก ใหนิ้วมือเรียงชิดกัน หญิง ยืนสนเทาปลายเทาชิด มือทั้งสองขางประกบกัน แนบไวระหวางอก ใหนิ้วมือเรียงชิดกัน ชาย ยืนแลวคอมตัวใหต่ําพรอมกับยกมือไหว โดยใหปลาย นิ้วหัวแมมืออยูระหวางคิ้ว ปลายนิ้วชี้อยูที่หนาผาก หญิง ยืนแลวยอเขาใหต่ําลง ถอยเทาขางใดขางหนึ่งตาม ถนัด พรอมยกมือขึ้นไหว โดยใหปลายนิ้วหัวแมมืออยูระหวาง คิ้ว ปลายนิ้วชี้อยูที่หนาผาก


2. การไหวผูมีพระคุณและผูมีอาวุโส ไดแก พอ แม ปู ยา ตา ยาย ครู อาจารย และผูที่เคารพนับถือยางสูง พนมมืออยูระหวางอก ชาย ยืนปลายเทาแยก สนเทาชิด มือทั้งสองขางประกบ กัน แนบไวระหวางอก ใหนิ้วมือเรียงชิดกัน หญิง ยืนสนเทาปลายเทาชิด มือทั้งสองขางประกบกัน แนบไวระหวางอก ใหนิ้วมือเรียงชิดกัน

ชาย ยกมือที่พนมอยูระหวางอกขึ้นพรอมกับกมศีรษะลง ใหปลายนิ้วหัวแมมือจรดปลายจมูก ปลายนิ้วชี้แนบหวางคิ้ว หญิง ยกมือที่พนมอยูระหวางอกขึ้นพรอมกับกมศีรษะลง ให ปลายนิ้วหัวแมมือจรดปลายจมูก ปลายนิ้วชี้แนบหวางคิ้ว พรอมกับยอเขาลง โดยถอยเทาขางใดขางหนึ่งตามถนัด

3.การไหวบุคคลทั่วไป ผูมีอาวุโสนอย ไดแก พี่ ปา นา อา ลุง และบุคคลทั่วไป พนมมืออยูระหวางอก ชาย ยืนปลายเทาแยก สนเทาชิด มือทั้งสองขางประกบ กัน แนบไวระหวางอก ใหนิ้วมือเรียงชิดกัน หญิง ยืนสนเทาปลายเทาชิด มือทั้งสองขางประกบกัน แนบไวระหวางอก ใหนิ้วมือเรียงชิดกัน


ชาย ยกมือที่พนมอยูระหวางอกขึ้นพรอมกับกมศีรษะลง ใหปลายนิ้วหัวแมมือจรดปลายคาง ปลายนิ้วชี้แนบปลายจมูก หญิง ยกมือที่พนมอยูระหวางอกขึ้นพรอมกับกมศีรษะลง ให ปลายนิ้วหัวแมมือจรดปลายคาง ปลายนิ้วชี้แนบปลายจมูก พรอมกับยอเขาลง โดยถอยเทาขางใดขางหนึ่งตามถนัด

การยืนสนทนากับพระ หรือผูใหญ ชาย ยืนสนเทาชิด ปลายเทาแยก มือสอด ประสานระกับเอว หญิง ยืนสนเทาปลายเทาชิด มือวางประสานกัน ระดับเอว

การนั่งตอหนาผูใหญ ชาย – หญิง นั่งพับเพียบเก็บปลายเทา มือวาง ประสานไวบนหนาขา โดยยึดหลักวา ขาไหนโดน ทับมือขางนั้นหงาย อีกมือประสานประกบไว


ผลสําเร็จ

รางวัลเหรียญทองชนะเลิศ ระดับประเทศ ป54

รางวัลชมเชย ธนาคารธนชาติ ระดับ ป.1-3 ป 57

รางวัลชนะเลิศมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ป 56

รางวัลชมเชย ธนาคารธนชาติ ระดับ ป.4-6 ป 57


รางวัลชนะเลิศประกวดมารยาทจังหวัดกาญจนบุรี ป 56

รางวัลชมเชยอันดับ 3 ธนาคารนครหลวงไทย อนุรักษ เอกลักษณไทย จากนักเรียน 4,000 คนทั่วประเทศ

การเผยแพรขยายผลงาน ปการศึกษา 2554 นักเรียนประกวดมารยาท ฝกนองและเพื่อนๆ ฝกมารยาท และเปนกรรมการตัดสิน

ปการศึกษา 2555, 2556 ครูและนักเรียนมารยาทรวมฝกมารยาท เพื่อจัดประกวดตามสายชั้น


BEST PRACTICE “งามอยางไทย ดํารงไวเอกลักษณชาติ”

นางแกวมณี ชางงา


ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.