Best Practice นางฐิตารีย์ พิทักษ์พลางกูร โรงเรียนวัดหนองตะโก

Page 1

Best Practice “ English Is Fun & Fun With English”

กลุ่มสาระการเรียนรู้ บูรณาการ

ด้านบริหารจัดการศึกษา ปี 2557 นางฐิตารีย์ พิทักษ์พลางกูร โรงเรียนวัดหนองตะโก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 เอกสารประกอบการประเมินรางวัล OBEC AWARDS ครู ผ้ สู อนยอดเยี่ยม ด้ านบริ หารจัดการยอดเยี่ยม กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ บูรณาการ โรงเรี ยนวัดหนองตะโก สานักงานเขตพืน้ ที่ การศึ กษาประถมศึ กษากาญจนบุรี เขต 1


คานา เอกสารฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อเสนอขอรับการประเมินรับรางวัล OBEC AWARDS ครู ผสู้ อนยอดเยีย่ ม ประเภทบุคคลากรยอดเยีย่ ม ด้านบริ หารจัดการยอดเยีย่ ม กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ บูรณาการ ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยผูจ้ ดั ทาได้รวบรวม สรุ ปผลงานตามหัวข้อการประเมินที่กาหนด พร้อมแนบหลักฐาน เอกสารอ้างอิง เอกสารประกอบเพื่อขอรับการประเมินฉบับนี้ เสร็ จสมบูรณ์ได้ดว้ ยความร่ วมมือของคณะครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรี ยนโรงเรี ยนวัดหนองตะโกทีไ่ ด้ช่วยเหลือรวบรวมข้อมูลต่างๆ ต้อง ขอขอบคุณทุกท่านพร้อมทั้งผูอ้ านวยการโรงเรี ยนที่ให้คาแนะนาจนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี หวังว่าเอกสาร ฉบับนี้คงจะอานวยความสะดวกให้แก่คณะกรรมการการประเมินในโอกาสนี้ หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยมา ณ ที่น้ ี

ฐิตารี ย ์ พิทกั ษ์พลางกูร

กข


สารบัญ เรื่อง

หน้ า

คานา

ผลงานที่เป็ นเลิศ (Best Practice) ชื่อผลงาน

1 1

ข้อมูลทัว่ ไปของผูพ้ ฒั นา วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ระยะเวลาในการพัฒนา BP ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้ าหมาย/จุดเน้น สพป./สพฐ./สถานศึกษา แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP กระบวนการพัฒนา BP ผลสาเร็ จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP กระบวนการตรวจสอบซ้ าเพื่อพัฒนาปรับปรุ ง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็ จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง ประวัติผจู้ ดั ทา

1 1 1 1 2 4 5 7 7 8

ภาคผนวก


ผลงานการปฏิบัติที่เป็ นเลิศ Best Practice 1. ชื่อผลงาน Best Practice : “ English Is Fun & Fun With English” กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ บูรณาการ ด้านบริ หารจัดการยอดเยีย่ ม 2. ข้ อมูลทั่วไปของผู้พฒ ั นา Best Practice 2.1 ชื่อผูพ้ ฒั นา Best Practice นางฐิตารี ย ์ พิทกั ษ์พลางกูร 2.2 โรงเรี ยนวัดหนองตะโก เครื อข่ายพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเขาน้อย 2.3 โทรศัพท์ 08-9547-1948 e-mail : Thitaree 12@hotmail com. 3. วัตถุประสงค์ของการพัฒนา Best Practice 1. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนภาษาอังกฤษและผลการสอบ O-NETให้สูงขึ้น 2. เพื่อสร้างเจตคติที่ดีในการเรี ยนภาษาอังกฤษ 3. เพื่อนักเรี ยนและครู สามารถใช้ภาษาต่างประเทศสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ แสวงหาความรู้ พร้อมจัด กิจกรรมการเรี ยนรู้วิชาภาษาอังกฤษกับวิชาอื่นๆ 4. ระยะเวลาในการพัฒนา Best Practice ระยะเวลาในการพัฒนา ปี การศึกษา 2556 โดยจัดการเรี ยนการสอนสัปดาห์ละ1 ชัว่ โมง 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้ นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา เชื่อมโยงกับ เป้าหมายของสถานศึกษาดังนี้ 1. ผูเ้ รี ยนมีสุขภาวะที่ดี มีสุนทรี ยภาพ มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์ดาเนินชีวิตตามหลัก ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ผูเ้ รี ยนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็ นระบบ มีความรู้และทักษะที่จาเป็ นตามหลักสูตร มีทกั ษะการ ทางาน สามารถทางานร่ วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุข เป็ นผูใ้ ฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน 3. โรงเรี ยนมีสภาพแวดล้อมและการบริ การที่ส่งเสริ มให้ผเู้ รี ยนพัฒนาเต็มศักยภาพ 4. โรงเรี ยนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น และได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์สานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด

1


5. ครู ปฏิบตั ิงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 6. โรงเรี ยนมีมาตรฐานการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ มีการจัดการเรี ยนรู้ การวัดผลและประเมินผลที่เน้น ผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ 7 .โรงเรี ยนจัดการศึกษาโดยได้รับความร่ วมมือจากทุกภาคส่วน 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ ในการพัฒนา BP แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ ในการพัฒนา BP คือ แนวคิด การจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้โมเดลซิปปา เป็ นแนวคิดของทิศนา แขมมณี ที่กล่าวว่า ซิปปา (CIPPA) เป็ นหลักการซึ่งสามารถนาไปเป็ นหลักในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ต่าง ๆ ให้แก่ผเู้ รี ยน การจัด กระบวนการเรี ยนการสอนตามหลัก “CIPPA” สามารถใช้วิธีการและกระบวนการที่หลากหลาย อาจจัดเป็ น แบบแผนได้หลายรู ปแบบ CIPPA MODEL เป็ นวิธีหนึ่งในการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ เป็ นรู ปแบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ที่มุ่งเน้นให้นกั เรี ยนศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง การมีส่วนร่ วมในการสร้างความรู้ การมีปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ ื่น และการแลกเปลี่ยนความรู้ การได้เคลื่อนไหว ทางกาย การเรี ยนรู้กระบวนการต่าง ๆ และการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ การจัดการเรี ยนการสอนแบบ CIPPA MODEL มาจากแนวคิดหลัก 5 แนวคิด ซึ่งเป็ นแนวคิด พื้นฐานในการจัดการศึกษา ได้แก่ 1. แนวคิดการสร้างสรรค์ความรู้ (Contructivism) 2. แนวคิดเรื่ องกระบวนการกลุ่มและการเรี ยนแบบร่ วมมือ (Group Process and Cooperative Learning) 3. แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมในการเรี ยนรู้ (Learning Readiness) 4. แนวคิดเกี่ยวกับการเรี ยนรู้กระบวนการ (Process Learning) 5. แนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนการเรี ยนรู้ (Transfer of Learning) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ในการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้โดยใช้แบบโมเดลซิปปา (CIPPA MODEL) ตามรู ปแบบของ ทิศนา แขมมณี มีข้นั ตอนการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ดงั นี้ ขั้นที่ 1 การทบทวนความรู้เดิม

2


ขั้นนี้เป็ นการดึงความรู้เดิมของผูเ้ รี ยนในเรื่ องที่จะเรี ยน เพื่อช่วยให้ผเู้ รี ยนมีความพร้อมในการ เชื่อมโยงความรู้ใหม่กบั ความรู้เดิมของตน ซึ่งผูส้ อนอาจใช้วิธีการต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย เช่น ผูส้ อนอาจ ใช้การสนทนาซักถามให้ผเู้ รี ยนเล่าประสบการณ์เดิม หรื อให้ผเู้ รี ยนแสดงโครงความรู้เดิม (Graphic Organizer) ของตน ขั้นที่ 2 การแสวงหาความรู้ใหม่ ขั้นนี้เป็ นการแสวงหาข้อมูลความรู้ใหม่ของผูเ้ รี ยนจากแหล่งข้อมูล หรื อแหล่งความรู้ต่าง ๆ ซึ่ง ผูส้ อนอาจจัดเตรี ยมมาให้ผเู้ รี ยนหรื อให้คาแนะนาเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ผเู้ รี ยนไปแสวงหาก็ได้ ในขั้นนี้ผสู้ อนควรแนะนาแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้แก่ผเู้ รี ยนตลอดทั้งจัดเตรี ยมเอกสารสื่อต่าง ๆ ขั้นที่ 3 การศึกษาทาความเข้ าใจข้ อมูล / ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กบั ความรู้เดิม ขั้นนี้เป็ นขั้นที่ผเู้ รี ยนศึกษาและทาความเข้าใจกับข้อมูล / ความรู้ที่หามาได้ ผูเ้ รี ยนสร้างความหมาย ของข้อมูล / ประสบการณ์ใหม่ ๆ โดยใช้กระบวนต่าง ๆ ด้วยตนเอง เช่น ใช้กระบวนการคิด กระบวนการ กลุ่มในการอภิปราย และสรุ ปความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลนั้น ๆ ซึ่งจาเป็ นต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับความรู้เดิม ในขั้นนี้ ผูส้ อนควรใช้กระบวนการต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรม เช่น กระบวนการคิด กระบวนการ กลุ่ม กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสร้างลักษณะนิสยั กระบวนการทักษะ ทางสังคม ฯลฯ เพื่อให้ผเู้ รี ยนสร้างความรู้ข้ ึนมาด้วยตนเอง ขั้นที่ 4 การแลกเปลีย่ นความรู้ความเข้ าใจกับกลุ่ม ขั้นนี้เป็ นขั้นที่ผเู้ รี ยนอาศัยกลุ่มเป็ นเครื่ องมือในการตรวจสอบความรวมทั้งขยายความรู้ความเข้าใจ ของตนให้กว้างขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ผเู้ รี ยนได้แบ่งปันความรู้ความเข้าใจของตนเองแก่ผอู้ ื่น และได้รับประโยชน์ จากความรู้ ความเข้าใจของผูอ้ ื่นไปพร้อม ๆ กัน ขั้นที่ 5 การสรุปและจัดระเบียบความรู้ ขั้นนี้เป็ นขั้นของการสรุ ปความรู้ที่ได้รับทั้งหมด ทั้งความรู้เดิมและความรู้ใหม่ และจัดสิ่งที่เรี ยนให้ เป็ นระบบระเบียบ เพื่อให้ผเู้ รี ยนจดจาสิ่งที่เรี ยนรู้ได้ง่าย ผูส้ อนควรให้ผเู้ รี ยนสรุ ปประเด็นสาคัญ ประกอบด้วยมโนทัศน์หลัก และมโนทัศน์ยอ่ ยของความรู้ท้งั หมด แล้วนามาเรี ยบเรี ยงให้ได้สาระสาคัญ ครบถ้วน ผูส้ อนอาจให้ผเู้ รี ยนจดเป็ นโครงสร้างความรู้ จะช่วยให้จดจาข้อมูลได้ง่าย ขั้นที่ 6 การปฏิบัตแิ ละ / หรือการแสดงผลงาน ขั้นนี้จะช่วยให้ผเู้ รี ยนได้มีโอกาสแสดงผลงานการสร้างความรู้ของตนให้ผอู้ ื่นรับรู้ เป็ นการช่วยให้ ผูเ้ รี ยนได้ตอกย้าหรื อตรวจสอบความเข้าใจของตน และช่วยส่งเสริ มให้ผเู้ รี ยนใช้ความคิดสร้างสรรค์ แต่หาก ต้องมีการปฏิบตั ิตามข้อมูลที่ได้ ขั้นนี้จะเป็ นขั้นปฏิบตั ิ และมีการแสดงผลงานที่ได้ปฏิบตั ิดว้ ย ในขั้นนี้ผเู้ รี ยน สามารถแสดงผลงานด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การจัดนิทรรศการ การอภิปราย การแสดงบทบาทสมมติ เรี ยงความ วาดภาพ ฯลฯ และอาจจัดให้มี การประเมินผลงานโดยมีเกณฑ์ที่เหมาะสม 3


ขั้นที่ 7 การประยุกต์ใช้ ความรู้ ขั้นนี้เป็ นขั้นของการส่งเสริ มให้ผเู้ รี ยนได้ฝึกฝนการนาความรู้ความเข้าใจของตนไปใช้ใน สถานการณ์ต่าง ๆ ที่หลากหลาย เพิ่มความชานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหาและความจาใน เรื่ องนั้น ๆ เป็ นการให้โอกาสผูเ้ รี ยนใช้ความรู้ให้เป็ นประโยชน์ เป็ นการส่งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ หลังจากประยุกต์ใช้ความรู้ อาจมีการนาเสนอผลงานจากการประยุกต์อีกครั้งก็ได้ หรื ออาจไม่มี การนาเสนอผลงานในขั้นที่ 6 แต่นาความมารวม แสดงในตอนท้ายหลังขั้นการประยุกต์ใช้ก็ได้ เช่นกัน ขั้นที่ 1-6 เป็ นกระบวนการของการสร้ างความรู้ (Construction of Knowledge) ขั้นที่ 7 เป็ นขั้นตอนที่ช่วยให้ ผ้เู รียนนาความรู้ไปใช้ (Application) จึงทาให้ รูปแบบนีม้ คี ณ ุ สมบัติ ครบตามหลักCIPPA ประโยชน์ 1. ผูเ้ รี ยนรู้จกั การแสวงหาข้อมูล ข้อเท็จจริ งจากแหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เพื่อนามาใช้ในการ เรี ยนรู้ 2. ผูเ้ รี ยนได้ฝึกทักษะการคิดที่หลากหลาย เป็ นประสบการณ์ที่จะนาไปใช้ได้ในการดาเนินชีวิต 3. ผูเ้ รี ยนมีประสบการณ์ในการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับสมาชิกภายในกลุ่ม 7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุ่มเป้ าหมาย) นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนวัดหนองตะโก จานวน 17 คน 7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็ นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) ยึดหลักกระบวนการพัฒนาระบบครบวงจร ของ Deming Cycle หรื อ วงจร PDCA 1

) Plan

คือการวางแผนในการดาเนินงาน

2 ) Do

คือการลงมือทาตามแผนที่วางไว้

3) Check

คือการตรวจสอบผลการดาเนินงานกับแผน

4) Action

คือการยึดถือปฏิบตั ิหากการดาเนินงานบรรลุตามแผน ถ้าการดาเนินงาน

ยังไม่บรรลุตามแผนให้หาสาเหตุและวางแผนแก้ไขใหม่

4


วงจรสู่ความสาเร็ จ ร่วมกันวางแผน

ร่วมกันปฏิบัติ ร่วมกันปรับปรุง

การตรวจสอบ และประเมินคุณภาพ

ร่วมกันตรวจสอบ

7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) วิธีการตรวจสอบคุณภาพ BP โดยใช้เครื่ องมือดังต่อไปนี้ - แบบประเมินผล - แบบสังเกตพฤติกรรมของนักเรี ยน - แบบประเมินความพึงพอใจ และนาผลที่ได้มาวิเคราะห์เปรี ยบเทียบ ปรับปรุ งเพื่อดูคุณภาพของ BP 7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ ประโยชน์ ใช้ในการพัฒนานักเรี ยนในการอ่าน เขียน และพูดสื่อสารภาษาอังกฤษ 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึน้ จากการพัฒนา BP (เปรี ยบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP)

5


8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ 1. นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ปี การศึกษา 2556 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนภาษาอังกฤษในระดับ สถานศึกษา และ O-NET สูงขึ้น 2. นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 สามารถอ่าน เขียน และพูดสื่อสารภาษาอังกฤษในเนื้อหาวิชาอื่นได้ 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ 1. นักเรี ยนนักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 มีเจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษ 2. นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 สามารถอ่าน เขียน และพูดสื่อสารภาษาอังกฤษในเนื้อหาวิชาอื่นได้ 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกีย่ วข้ องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผูเ้ กี่ยวข้องและวิธีการได้มา เกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ)

นักเรี ยนร้อยละ 95 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด และเสนอแนะให้จดั กิจกรรมที่หลากหลายในการ สอนเพื่อความสนุกสนานในการเรี ยนการสอนเช่นนี้อีก 8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ 1. นักเรี ยน ครู ผูป้ กครองและชุมชน มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและร่ วมวางแผนการจัดการเรี ยนรู้ 2. มีการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ที่หลากหลาย เช่น - นักเรี ยนนาความรู้เดิมเป็ นพื้นฐานในการเรี ยนวิชาภาษาอังกฤษและนาวิชาภาษาอังกฤษไปบูรณาการ กับกลุ่มสาระการเรี ยนรู้อื่น - เน้นประสบการณ์ตรงสร้างองค์ความรู้ - เรี ยนรู้จากสิ่งที่ง่ายไปหาสิ่งที่ยากและจากสิ่งใกล้ตวั ไปสู่สิ่งไกลตัว - เน้นทักษะกระบวนการคิด - เน้นกระบวนการแสวงหาความรู้ - กระบวนการแก้ปัญหา - เน้นกระบวนการทักษะทางสังคม - เน้นกระบวนการกลุ่ม - กระบวนการสร้างลักษณะนิสยั 3. ใช้วสั ดุอุปกรณ์มีอยูใ่ นท้องถิน่ ประกอบการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้โดยนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการผลิต 4. นักเรี ยนได้แสดงออกและสามารถนาเสนอผลงานของตนเองตามศักยภาพ 6


9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพือ่ พัฒนาปรับปรุง BP ให้ เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP ตรวจสอบปัญหาเพื่อหาสาเหตุขอ้ พกพร่ องแต่ละขั้นตอนแล้วนามาปรับปรุ งแก้ไข แล้วนากลับมาใช้ซ้ า 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพือ่ การพัฒนาและปรับปรุง BP นักเรี ยนสามารถนากิจกรรมที่ดาเนินการพัฒนาตัวเองไปใช้ในการอ่านเนื้อหาที่มีความยาก 10. การประชาสัมพันธ์ ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง (ระบุวนั เวลา และรู ปแบบ/ วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) - การเผยแพร่ ผลงานโดยการนาวิธกี ารและขั้นตอนไปใช้ในการเป็ น วิทยากรในการจัดค่ายภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรี ยนของสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 และ กลุ่มเครื อข่ายพัฒนา คุณภาพการศึกษาเขาน้อย - จัดนิทรรศการงานวันวิชาการของโรงเรี ยนและศูนย์เครื อข่าย

ลงชื่อ ฐิตารี ย์ พิทกั ษ์พลางกูร ผูข้ อรับการประเมิน

(นางฐิตารี ย์ พิทกั ษ์พลางกูร) ตาแหน่ง ครู ชานาญการพิเศษ

7


ประวัติผู้จัดทา ชื่อ – สกุล นางฐิตารีย์ พิทักษ์พลางกูร ตาแหน่ง ครู ชานาญการพิเศษ เกิดวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2504 อายุ 53 ปี เริ่มรับการวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2525 ที่โรงเรียนวัดหนองโพธิ์ สปอ.กาแพงแสน จังหวัดนครปฐม รวมอายุราชการ 32 ปี การศึกษา ปริญญาตรี ศษ.บ เอกประถมศึกษา จาก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ที่อยู่ บ้านเลขที่ 1133 หมู่ 2 ตาบลท่าม่วง อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี 71110 ที่ทางาน โรงเรียนวัดหนองตะโก ตาบล เขาน้อย อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต1

8


ภาคผนวก

9


ภาพกิจกรรมการจัดค่ายเรียนรู ้บูรณาการ ้ การศึกษา 2556 สินปี ของนักเรียนโรงเรียนวัดหนองตะโก

10


นายกองค ์การบริหารส่วนตาบลเขาน้อยกล่าวเปิ ดงานค่าย English Camp 56

11


ครูฐต ิ ารีย ์

พิทก ั ษ ์พลางกูร

หัวหน้าโครงการค่ายฯ กล่าวรายงาน

12


Base 1 Songs & Burmese

( ฐานเรียนรูเพลงและภาษาพม่ ้ า)

13


Base 2 Games

( ฐานเรียนรูเกมส ้ ์ภาษาอังกฤษ)

14


Base 3 Computer&Technology ( ฐานเรียนรูคอมพิ ้ วเตอร & ์ เทคโนโลยี)

15


Base 4 Art

( ฐานเรียนรูศิ้ ลปะ )

16


Base 5

Math

( ฐานเรียนรูคณิ ้ ตศาสตร ์)

17


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.