Best Practice ๑. ชื่อผลงาน BP มีสุขกับการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุม่ สาระการเรียนรู้ด้าน ( / ) วิชาการ ( )บริหารจัดการศึกษา
( ) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ชื่อผู้พัฒนา BP นางดวงสมร บาตรโพธิ์ ๒.๒ โรงเรียนบ้านท่ามะนาว เครือข่ายเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาวังด้ง – ช่องสะเดา ๒.๓ โทรศัพท์
08521702229e-mail doungtum9@hotmail.com
๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP ๓.๑ ผู้เรียนมีความสุขกับการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๒ ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ร้อยละ 100 ๓.๓ ครูและผู้เรียนสามารถดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓.๔ ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔. ระยะเวลาในการพัฒนาBP(ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนาBP) ระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา ๒๕๕๔ -จนถึงปัจจุบัน ๕. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่างBP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป.สพม. สพฐ. สถานศึกษา เชื่อมโยงกับเป้าหมาย และ จุดเน้น - กระทรวงศึกษาธิการ มีดังนี้ นโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑) เป้าหมายปฏิรปู การศึกษา ข้อที่ ๓ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารและจัด การศึกษา
- สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีดังนี้ กลยุทธ์ ข้อที่1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อ เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ข้อที่ 2ปลูกฝั งคุณธรรมความสานึกในความเป็ นชาติไทยและวิถีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ข้อที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางการกระจายอานาจทางการศึกษาหลักธรรมาภิ บาลเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การจัดการศึกษา จุดเน้นในปี ๒๕๕๖ - สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ มีดังนี้ กลยุทธ์ข้อที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ - โรงเรียนบ้านท่ามะนาว ดังนี้ กลยุทธ์ที่ ๒ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม ความสานึกในความเป็นไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ ๓พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานควบคู่กับการส่งเสริมสุนทรียภาพแก่ผู้เรียนทุกระดับ กลยุทธ์ที่ ๕พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยชุมชนมีส่วนร่วม ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฏีที่นามาใช้ในการพัฒนาBP การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพือ่ ให้ผู้เรียนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละกลุม่ สาระการ เรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น สามารถจัดได้หลายรูปแบบตามบริบทของแต่ละกลุ่มสาระ ดังนี้ ทัง้ นีก้ ารจะทาให้ผู้เรียนมีความสุขกับการเรียนรู้ได้ ในการจัดทา BP ในครั้งนี้ยึดแนวคิด หลักการ ทฤษฎี ในการพัฒนา ดังต่อไปนี้ ๖.๑ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖.๑. จากเอกสารประกอบการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ๙ เล่ม ตามโครงการยกระดับคุณภาพครูและ ผู้บริหารสถานศึกษาทั้งระบบ ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ โดยความ ร่วมมือระหว่าง คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ดังนี้ ๖.๑.๑ การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม (Network Building and Participatory) ๖.๑.๓ การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ๖.๒ ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ ๖.๓ ทฤษฎีความพึงพอใจ
๗. กระบวนการพัฒนาBP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนาBP ไปใช้(ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุ่มเป้าหมาย) นักเรียน ๘๕ คน ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนาBP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) เป็น BP ประเภท กระบวนการ ดังนั้นจึงใช้กระบวนการตามวงจรพัฒนาคุณภาพของเดมมิ่ง ดังนี้ เริ่ มจากการวิเคราะห์บริ บทและปั ญหาต่างๆ โดยกระบวนการมีส่วนร่ วม เพื่อให้ทราบถึงปั ญหาและเพื่อสร้าง ความตระหนักในการแก้ปัญหาร่ วมกันของทุกฝ่ าย วางแผนและดาเนินการตาแผนที่วางไว้ ทั้งนี้ ให้มีการ วิเคราะห์การดาเนินงานเป็ นระยะๆ ดังแผนภูมิต่อไปนี้ สร้างความตระหนัก
การวางแผน
ดาเนินการตามแผน
วิเคราะห์การดาเนินงาน
ตรวจสอบผลการดาเนินงาน
๗.๔ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวธิ ีการและผลการตรวจสอบคุณภาพทีไ่ ด้ ) - สังเกตพฤติกรรมของครู นักเรี ยน ผูป้ กครอง และชุมชน - แบบประเมินความพึงพอใจ - ภาพถ่าย เอกสารหลักฐานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ๗.๔ การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้) - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวมทั้ง ผลการสอบ NT และ O – NET - แบบแสดงความพึงพอใจของครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน - ภาพถ่าย เอกสารหลักฐานต่างๆที่เกี่ยวข้องต่อการพัฒนา ๗.๔ แนวทางการนาBP ไปใช้ประโยชน์ - พัฒนาผู้เรียนสู่อัตลักษณ์ คือ “มีสุขกับการเรียนรู้ อยู่ความพอเพียง” ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาBP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของBP) ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ นักเรียนทุกคนมีความสุขกับการเรียนรู้ และอยู่อย่างพอเพียง ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ๘.๒.๑ นักเรียนมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน ๘.๒.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๔ ๘.๒.๓ ค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติ O – NET รวมทุกกลุ่มสาระเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ ๓ ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึงพอใจจากผู้เกี่ยวข้องและวิธีการได้มา เกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) นักเรียนและผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา
BPมีดังต่อไปนี้
๘.๔.๑ ครูมีความรู้และเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๘.๔.๒ ครูมีความรู้และเข้าใจสามารถออกแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการได้ ๘.๔.๓ ครูมีความรู้และเข้าใจวิธีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
๘.๔.๔ ผู้ปกครองและชุมชนให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมโดยกระบวนการมีส่วนร่วม ๘.๔.๕ การนาเทคโนโลยีโลกไร้พรมแดนมาเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์อย่าง ต่อเนื่อง ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้าBP ประชุมหาจุดเด่นและจุดที่ควรปรับปรุง ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP มีการปรับปรุงพัฒนางาน โครงการและกิจกรรมต่างๆอยู่ตลอดเวลา ๑๐. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของBP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง(ระบุวันเวลา และรูปแบบ/ วิธีการ ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) - รายงานความก้าวหน้าในที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชนตามควรแก่โอกาส - ประชาสัมพันธ์โดยการนาเสนอผลงานตามสถานที่ต่างๆ - มีการเผยแพร่ผ่านทางอินเตอร์เนต คือ facebookของคณะครูและของโรงเรียนอยู่เป็นประจา