การบริหารจัดการการเบิกค่ ารักษาพยาบาล /ค่ าการศึกษาบุตร บทนา ในอดีต ข้ าราชการครูมีความเข้ าใจในเรื่ องการเบิกค่ารักษาพยาบาลและค่า การศึกษาบุตรน้ อย ทาให้ สง่ หลักฐานการเบิกค่ารักษาพยาบาลและค่าการศึกษาบุตรไม่ถกู ต้ อง และ ขาดเอกสารในการตรวจสอบ ทาให้ เจ้ าหน้ าที่ที่ปฏิบตั งิ านด้ านนี ้ทางานอย่างล่าช้ า และมีผลกระทบ ต่อการได้ รับเงินสวัสดิการของข้ าราชการครู กลุม่ บริหารการเงินและสินทรัพย์ เป็ นหน่วยงานสนับสนุนการดาเนินงานของ สานักงานเขตพื ้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 โดยให้ บริการด้ านการเงินและการคลัง โดยมุง่ เน้ นภารกิจที่เกี่ยวข้ องกับการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ , เงินนอกงบประมาณ และการจัดหา พัสดุ รวมทังควบคุ ้ มให้ เป็ นไปตามระเบียบ และ กฎหมายที่เกี่ยวข้ อง ให้ แก่หน่วยงานและโรงเรี ยน ในสังกัด ซึง่ การเบิกจ่ายเงินค่ารักษาพยาบาลและค่าการศึกษาบุตร เป็ นภารกิจหนึง่ ในการ ให้ บริ การด้ านการเงินซึง่ เป็ นสวัสดิการแก่ข้าราชการและลูกจ้ างประจาในสังกัด รวมทังต้ ้ องดูแล ผลประโยชน์แก่ข้าราชการและลูกจ้ างประจา ควบคูไ่ ปกับการปฏิบตั ิให้ ถกู ต้ องตามระเบียบ วัตถุประสงค์ เพื่อการทางานอย่างเป็ นระบบ มีประสิทธิภาพ เข้ าใจง่ายและนาไปปฏิบตั ไิ ด้ จริง เป้าหมาย ร้ อยละ 80 ของข้ าราชการครู ที่สง่ เบิกค่าการศึกษาบุตร/ค่ารักษาพยาบาล มีความ พึงพอใจ ระยะเวลาในการพัฒนา ปี งบประมาณพ.ศ. 2554 - ปี งบประมาณ พ.ศ. 2557 แนวคิด ทฤษฎีและหลักการที่เกี่ยวข้ อง
ผูป้ ฏิบตั ิงานได้ศึกษาค้นคว้าหลักการแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการทางานอย่างเป็ น ระบบ รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิภาพ จึงได้นาทฤษฎีการเรี ยนรู้ของ Bloom และ ทฤษฎีของมาสโลว์ มา ประยุกต์ใช้กล่าวคือ ทฤษฎีการเรี ยนรู้ คืออะไร การเรี ยนรู้ (Learning) คือ กระบวนการของ ประสบการณ์ที่ทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างค่อนข้ างถาวร ซึง่ การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมนี ้ไม่ได้ มาจากภาวะชัว่ คราว วุฒิภาวะ หรื อสัญชาตญาณ(Klein 1991:2) การเรี ยนรู้เป็ นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่คอ่ นข้ างถาวร โดยเป็ นผลจากการฝึ กฝนเมื่อ ได้ รับการเสริมแรง มิใช่เป็ นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติที่เรี ยกว่า ปฏิกิริยาสะท้ อน (Kimble and Garmezy) การเรี ยนรู้เป็ นกระบวนการที่ทาให้ พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม อันเป็ นผลจาก การฝึ กฝนและประสบการณ์ แต่มิใช่ผลจากการตอบสนองที่เกิดขึ ้นตามธรรมชาติ (Hilgard and Bower) การเรี ยนรู้เป็ นการแสดงให้ เห็นถึงพฤติกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง อันเป็ นผลเนื่องมาจาก ประสบการณ์ที่แต่ละคนได้ ประสบมา (Cronbach) การเรี ยนรู้เป็ นกระบวนการที่บคุ คลได้ พยายาม ปรับพฤติกรรมของตน เพื่อเข้ ากับสภาพแวดล้ อมตามสถานการณ์ตา่ ง ๆ จนสามารถบรรลุถึง เป้าหมายตามที่แต่ละบุคคลได้ ตงไว้ ั ้ (Pressey, Robinson and Horrock, 1959) การเรี ยนรู้ ตามทฤษฎีของ Bloom Bloom’s Taxonomy กล่าวถึงการจาแนกการเรี ยนรู้ตามทฤษฎีของบลูม ซึง่ แบ่งเป็ น 3 ด้ าน คือ ด้ านพุทธิพิสยั ด้ านจิตพิสยั และด้ านทักษะพิสยั โดยในแต่ละด้ านจะมีการจาแนกระดับ ความสามารถจากต่าสุดไปถึงสูงสุด เช่น ด้ านพุทธิพิสยั เริ่ มจากความรู้ ความเข้ าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมิน นอกจากนี ้ยังนาเสนอระดับความสามารถที่มีการปรับปรุง ใหม่ตามแนวคิดของ Anderson and Krathwohl (2001) เป็ น การจา(Remembering) การเข้ าใจ (Understanding) การประยุกต์ใช้ (Applying) การวิเคราะห์ (Analysing) การประเมินผล (Evaluating) และการสร้ างสรรค์ (Creating) ด้ านจิตพิสยั จาแนกเป็ น การรับรู้ , การตอบสนอง, การ สร้ างค่านิยม, การจัดระบบ และการสร้ างคุณลักษณะจากค่านิยม ด้ านทักษะพิสยั จาแนกเป็ น ทักษะการเคลื่อนไหวของร่างกาย, ทักษะการเคลื่อนไหวอวัยวะสองส่วนหรื อมากกว่าพร้ อมๆกัน, ทักษะการสื่อสารโดยใช้ ทา่ ทาง และทักษะการแสดงพฤติกรรมทางการพูด ทฤษฎีการเรี ยนรู้ของบลูม เป็ นอย่างไร Bloom ได้ แบ่งการเรี ยนรู้เป็ น 6 ระดับ
ความรู้ที่เกิดจากความจา (knowledge) ซึง่ เป็ นระดับล่างสุด
ความเข้ าใจ (Comprehend)
การประยุกต์ (Application)
การวิเคราะห์ ( Analysis) สามารถแก้ ปัญหา ตรวจสอบได้
การสังเคราะห์ ( Synthesis) สามารถนาส่วนต่างๆ มาประกอบเป็ นรูปแบบใหม่ได้ ให้ แตกต่างจากรูปเดิม เน้ นโครงสร้ างใหม่
การประเมินค่า ( Evaluation) วัดได้ และตัดสินได้ วา่ อะไรถูกหรื อผิด ประกอบการตัดสินใจ บนพื ้นฐานของเหตุผลและเกณฑ์ที่แน่ชดั
ทฤษฎีการเรี ยนรู้ เบนจามิน บลูมและคณะ (Bloom et al, 1956) มีลกั ษณะอย่างไร ได้ จาแนกจุดมุง่ หมายการเรี ยนรู้ออกเป็ น 3 ด้ าน คือ 1.พุทธิพิสยั (Cognitive Domain) พฤติกรรมด้ านสมองเป็ นพฤติกรรมเกี่ยวกับสติปัญญา ความรู้ ความคิด ความเฉลียวฉลาด ความสามารถในการคิดเรื่ องราวต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ เป็ นความสามารถทางสติปัญญา พฤติกรรมทางพุทธิพิสยั 6 ระดับ ได้ แก่ 1.ความรู้ความจา ความสามารถในการเก็บรักษามวลประสบการณ์ตา่ ง ๆ จากการที่ได้ รับรู้ ไว้ และระลึกสิ่งนันได้ ้ เมื่อต้ องการเปรี ยบดังเทปบันทึกเสียงหรื อวีดทิ ศั น์ ที่สามารถเก็บเสียงและภาพของเรื่ องราวต่างๆได้ สามารถเปิ ดฟั งหรื อ ดูภาพเหล่านันได้ ้ เมื่อ ต้ องการ 2. ความเข้ าใจเป็ นความสามารถในการจับใจความสาคัญของสื่อ และสามารถแสดงออกมา ในรูปของการแปลความ ตีความ คาดคะเน ขยายความ หรื อ การกระทาอื่นๆ 3. การนาความรู้ไปใช้ เป็ นขันที ้ ่ผ้ เู รี ยนสามารถนาความรู้ ประสบการณ์ไปใช้ ในการ แก้ ปัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้ ซึง่ จะต้ องอาศัยความรู้ความเข้ าใจ จึงจะสามารถนาไปใช้ ได้
4. การวิเคราะห์ ผู้เรี ยนสามารถคิด หรื อ แยกแยะเรื่ องราวสิ่งต่าง ๆ ออกเป็ นส่วนย่อย เป็ น องค์ประกอบที่สาคัญได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วนที่เกี่ ยวข้ องกัน ความสามารถในการ วิเคราะห์จะแตกต่างกันไปแล้ วแต่ความคิดของแต่ละคน 5. การสังเคราะห์ ความสามารถในการที่ผสมผสานส่วนย่อย ๆ เข้ าเป็ นเรื่ องราวเดียวกัน อย่างมีระบบ เพื่อให้ เกิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกว่าเดิม อาจเป็ นการถ่ายทอดความคิดออกมาให้ ผู้อื่นเข้ าใจได้ ง่าย การกาหนดวางแผนวิธีการดาเนินงานขึ ้นใหม่ หรื อ อาจจะเกิดความคิดในอันที่จะ สร้ างความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็ นนามธรรมขึ ้นมาในรูปแบบ หรื อ แนวคิดใหม่ 6. การประเมินค่า เป็ นความสามารถในการตัดสิน ตีราคา หรื อ สรุปเกี่ยวกับคุณค่าของสิ่ง ต่าง ๆ ออกมาในรูปของคุณธรรมอย่างมีกฎเกณฑ์ที่เหมาะสม ซึง่ อาจเป็ นไปตามเนื ้อหาสาระในเรื่ อง นัน้ ๆ หรื ออาจเป็ นกฎเกณฑ์ที่สงั คมยอมรับก็ได้ 2.จิตพิสยั (Affective Domain)(พฤติกรรมด้ านจิตใจ) ค่านิยม ความรู้สกึ ความซาบซึ ้ง ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจและคุณธรรม พฤติกรรมด้ านนี ้อาจ ไม่เกิดขึ ้นทันที ดังนัน้ การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยจัดสภาพแวดล้ อมที่เหมาะสม และ สอดแทรกสิ่งที่ดีงามอยู่ตลอดเวลา จะทาให้ พฤติกรรมของผู้เรี ยนเปลี่ยนไปในแนวทางที่พงึ ประสงค์ ได้ ด้านจิตพิสยั จะประกอบด้ วย พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ระดับ ได้ แก่ 1.การรับรู้ เป็ นความรู้สึกที่เกิดขึ ้นต่อปรากฎการณ์ หรื อสิ่งเร้ าอย่างใดอย่างหนึง่ ซึง่ เป็ นไป ในลักษณะของการแปลความหมายของสิ่งเร้ านันว่ ้ าคืออะไร แล้ วจะแสดงออกมาในรูปของ ความรู้สกึ ที่เกิดขึ ้น 2. การตอบสนอง เป็ นการกระทาที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอม และพอใจ ต่อสิ่งเร้ านัน้ ซึง่ เป็ นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ ว 3. การเกิดค่านิยม การเลือกปฏิบตั ใิ นสิ่งที่เป็ นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับนับถือใน คุณค่านัน้ ๆ หรื อปฏิบตั ติ ามในเรื่ องใดเรื่ องหนึง่ จนกลายเป็ นความเชื่อ แล้ วจึงเกิดทัศนคติที่ดีในสิ่ง นัน้ 4. การจัดระบบ การสร้ างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์ถ้า เข้ ากันได้ ก็จะยึดถือต่อไปแต่ถ้าขัดกันอาจไม่ยอมรับอาจจะยอมรับค่านิยมใหม่โดยยกเลิกค่านิยมเก่า
5. บุคลิกภาพ การนาค่านิยมที่ยดึ ถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็ นนิสยั ประจาตัว ให้ ประพฤติ ปฏิบตั แิ ต่สิ่งที่ถกู ต้ องดีงามพฤติกรรมด้ านนี ้ จะเกี่ยวกับความรู้สกึ และจิตใจ ซึง่ จะเริ่มจากการได้ รับรู้ จากสิ่งแวดล้ อม แล้ วจึงเกิดปฏิกิริยาโต้ ตอบ ขยายกลายเป็ นความรู้สกึ ด้ านต่าง ๆ จนกลายเป็ น ค่านิยม และยังพัฒนาต่อไปเป็ นความคิด อุดมคติ ซึง่ จะเป็ นควบคุมทิศทางพฤติกรรมของคนคนจะรู้ ดีร้ ูชวั่ อย่างไรนัน้ ก็เป็ นผลของพฤติกรรมด้ านนี ้ 3.ทักษะพิสยั (Psychomotor Domain) (พฤติกรรมด้ านกล้ ามเนื ้อประสาท) พฤติกรรมที่บง่ ถึงความสามารถในการปฏิบตั งิ านได้ อย่างคล่องแคล่วชานิชานาญ ซึง่ แสดงออกมา ได้ โดยตรงโดยมีเวลาและคุณภาพของงานเป็ นตัวชี ้ระดับของทักษะพฤติกรรมด้ านทักษะพิสยั ประกอบด้ วย พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ขัน้ ดังนี ้ 1.การรับรู้ เป็ นการให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับรู้หลักการปฏิบตั ทิ ี่ถกู ต้ อง หรื อ เป็ นการเลือกหาตัวแบบ ที่สนใจ 2.กระทาตามแบบ หรื อ เครื่ องชี ้แนะ เป็ นพฤติกรรมที่ผ้ เู รี ยนพยายามฝึ กตามแบบที่ตน สนใจและพยายามทาซ ้า เพื่อที่จะให้ เกิดทักษะตามแบบที่ตนสนใจให้ ได้ หรื อ สามารถปฏิบตั งิ านได้ ตามข้ อแนะนา 3.การหาความถูกต้ อง พฤติกรรมสามารถปฏิบตั ไิ ด้ ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่ อง ชี ้แนะ เมื่อได้ กระทาซ ้าแล้ ว ก็พยายามหาความถูกต้ องในการปฏิบตั ิ 4.การกระทาอย่างต่อเนื่องหลังจากตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เป็ นของตัวเองจะกระทาตาม รูปแบบนันอย่ ้ างต่อเนื่อง จนปฏิบตั งิ านที่ยงุ่ ยากซับซ้ อนได้ อย่างรวดเร็ว ถูกต้ อง คล่องแคล่ว การที่ ผู้เรี ยนเกิดทักษะได้ ต้ องอาศัยการฝึ กฝนและกระทาอย่างสม่าเสมอ 5. การกระทาได้ อย่างเป็ นธรรมชาติ พฤติกรรมที่ได้ จากการฝึ กอย่างต่อเนื่องจนสามารถ ปฏิบตั ิ ได้ คล่องแคล่วว่องไวโดยอัตโนมัติ เป็ นไปอย่างธรรมชาติซงึ่ ถือเป็ นความสามารถของการ ปฏิบตั ใิ นระดับสูง เพราะฉะนันเราสามารถสรุ ้ ปได้ วา่ การเรี ยนรู้หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมจากเดิมไปสูพ่ ฤติกรรมใหม่ที่คอ่ นข้ างถาวร และพฤติกรรมใหม่นี ้เป็ นผลมาจาก ประสบการณ์หรื อการฝึ กฝน มิใช่เป็ นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติหรื อสัญชาตญาณ หรื อวุฒิ ภาวะ หรื อพิษยาต่าง ๆ หรื ออุบตั เิ หตุ หรื อความบังเอิญ พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้ องเปลี่ยนไปอย่าง
ค่อนข้ างถาวร จึงจะถือว่าเกิดการเรี ยนรู้ขึ ้น หากเป็ นการ เปลี่ยนแปลงชัว่ คราวก็ยงั ไม่ถือว่า เป็ นการ เรี ยนรู้ ทฤษฎีเกี่ยวกับการจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s General Theory of Human & Motivation) มาสโลว์ได้ ตงทฤษฎี ั้ เกี่ยวกับ แรงจูงใจ(Maslow’s General Theory of Human & Motivation) โดยมาสโลว์ ได้ อธิบายถึงความต้ องการของมนุษย์ ซึง่ มีลกั ษณะเป็ นลาดับขันจากต ้ ่าไป หาสูง (Hierarchy& Needs) และเป็ นทฤษฎีที่ยอมรับกันแพร่หลายสมมติฐานดังกล่าวมีความ เกี่ยวกับ พฤติกรรมของมนุษย์ดงั นี ้ (Abraham H.Maslow. 1954: 80 - 106) 1. มนุษย์มีความต้ องการอยู่เสมอ และไม่มีที่สิ ้นสุด แต่สิ่งที่มนุษย์ต้องการนันขึ ้ ้นอยูก่ บั ว่า เขามีสิ่งนันอยู ้ แ่ ล้ วหรื อยัง ขนาดที่ความต้ องการใดได้ รับการตอบสนองแล้ วความต้ องการอื่นจะเข้ า มาแทนที่ กระบวนการนี ้ไม่มีที่สิ ้นสุด และจะเริ่มตังแต่ ้ เกิดจนกระทัง่ ตาย 2. ความต้ องการที่ได้ รับการตอบสนองแล้ ว จะไม่เป็ นสิ่งจูงใจของพฤติกรรมอีกต่อไป ความ ต้ องการที่ไม่ได้ รับการตอบสนองเท่านันที ้ ่เป็ นแรงจูงใจของพฤติกรรม 3. ความต้ องการของมนุษย์มีลาดับขันความส ้ าคัญ กล่าวคือ เมื่อความต้ องการระดับต่า ได้ รับการตอบสนองแล้ ว ความต้ องการระดับสูงก็จะมีการเรี ยกร้ องให้ มีการตอบสนองทันที 4. ตามทฤษฎีของมาสโลว์ได้ แบ่งลาดับขันของความต้ ้ องการ (Hierarchy of Needs) ไว้ 5 ขันจากต ้ ่าไปสูง ดังนี ้
1. ต้ องการของร่ างกาย (Physiological needs) เป็ นความต้ องการพื ้นฐานเพื่อความอยู่ รอดของชีวิต ได้ แก่ ความต้ องการปั จจัยสี่ ความต้ องการการยกย่อง และความต้ องการทางเพศ ฯลฯ เป็ นต้ น 2. ความต้ องการความปลอดภัย (Safety needs) เป็ นความต้ องการที่เหนือกว่าความ ต้ องการอยู่รอด ซึง่ มนุษย์ต้องการเพิ่มความต้ องการในระดับที่สงู ขึ ้น เช่น ต้ องการความมัน่ คงในการ ทางาน ความต้ องการได้ รับการปกป้องคุ้มครอง ความต้ องการความปลอดภัยจากอันตรายต่างๆ เป็ นต้ น 3. ความต้ องการด้ านสังคม (Social needs) หรื อความต้ องการความรักและการ ยอมรับ (Love and belongingness needs) ความต้ องการทังในแง่ ้ ของการให้ และการได้ รับซึง่ ความรัก ความต้ องการเป็ นส่วนหนึง่ ของหมู่คณะ ความต้ องการให้ ได้ การยอมรับ เป็ นต้ น 4. ความต้ องการการยกย่ อง (Esteem needs) ซึง่ เป็ นความต้ องการการยกย่อง ส่วนตัว (Self-esteem) ความนับถือ (Recognition) และสถานะ (Status) จกสังคม ตลอดจนเป็ น
ความพยายามที่จะให้ มีความสัมพันธ์ระดับสูงกับบุคคลอื่น เช่น ความต้ องการให้ ได้ การเคารพนับถือ ความสาเร็ จ ความรู้ ศักดิศ์ รี ความสามารถ สถานะที่ดีในสังคมและมีชื่อเสียงในสังคม 5. ความต้ องการประสบความสาเร็จสูงสุดในชีวิต (Self-actualization needs) เป็ น ความต้ องการสูงสุดแต่ละบุคคล ซึง่ ถ้ าบุคคลใดบรรลุความต้ องการในขันนี ้ ้ได้ จะได้ รับการยกย่องว่า เป็ นบุคคลพิเศษ เช่น ความต้ องการที่เกิดจากความสามารถทาทุกสิ่งทุกอย่างได้ สาเร็จ นักร้ องหรื อ นักแสดงที่มีชื่อเสียง เป็ นต้ น
การรับรู ้ กระทา ตามแบบ
PLAN
ส่งคืนลดลง DO
การหาความ ถูกต้อง การกระทา อย่างต่อเนื่ อง การกระทาได้อย่าง เป็ นธรรมชาติ
อัตราการ
CHECK
ให้รางวัล เพือ ่ กระตุน ้ ความพึง
ACT
พอใจ
จากหลักการแนวคิดทฤษฎีดงั กล่าวข้ างต้ น ข้ าพเจ้ าได้ ปฏิบตั ิ ดังนี ้ 1. การวางแผน (Plan) คือทาอย่างไรให้ โรงเรี ยนส่งหลักฐานการเบิกค่ารักษาพยาบาล/ค่า การศึกษาบุตร ให้ ถกู ต้ อง เอกสารครบถ้ วน จึงได้ ศกึ ษาทฤษฎีการเรี ยนรู้เพื่อนามาปรับใช้ กบั การ ทางาน โดยใช้ ทกั ษะพิสยั (พฤติกรรมด้ านกล้ ามเนื ้อประสาท) โดยใช้ การรับรู้ , กระทาตามแบบ , การกระทาอย่างต่อเนื่อง 2. การปฏิบตั ิ (Do) คือ เมื่อโรงเรี ยนส่งหลักฐานการเบิกค่ารักษาพยาบาลและค่าการศึกษา บุตรมาถึงหน่วยเบิกจ่าย ข้ าพเจ้ าปฏิบตั ิดงั นี ้ 2.1 ตรวจสอบเอกสารประกอบการเบิก ตรวจสอบสิทธิการรักษา ตรวจสอบรายการค่า รักษาพยาบาล รายการค่าการศึกษาบุตร ตามระเบียบกระทรวงการคลัง 2.2 เมื่อเจอข้ อผิดพลาดจะทาหนังสือราชการส่งคืนหลักฐานดังกล่าว เขียนคาอธิบายว่า จะต้ องปฏิบตั อิ ย่างไร พร้ อมอ้ างอิงระเบียบที่เกี่ยวข้ อง โดยการ Short Note 2.3 ปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่อง กระทาการซ ้า ๆ บ่อย ๆ เพื่อเกิดความรู้ ความเข้ าใจเกิดทักษะ โดยอัตโนมัติ การกระทาดังกล่าว จะทาให้ เจ้ าหน้ าที่การเงินโรงเรี ยนและผู้บริหาร เรี ยนรู้ระเบียบ เกิดความเข้ าใจตระหนักถึงความสาคัญของกฎระเบียบ และเอกสารประกอบการเบิก และต่อมาเมื่อประมาณปลายปี งบประมาณ 2557 กลุม่ บริหารการเงินและสินทรัพย์ ได้ มีการจัดอบรม/สัมมนาด้ านการเงินและการคลังให้ แก่เจ้ าหน้ าที่การเงินโรงเรี ยนในสังกัดเพื่อเพิ่ม ความรู้ความเข้ าใจในเรื่ องการเบิกจ่ายเงินด้ านการเงินและการคลังมากขึ ้น ข้ าพเจ้ าจึงได้ นาทฤษฎี เกี่ยวกับการจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s General Theory of Human) มาใช้ โดยการนาข้ อมูลการ เบิกค่ารักษาพยาบาล/ค่าการศึกษาบุตร ปี งบประมาณ 2554 - ปี งบประมาณ 2556 ที่สง่ คืนเอกสาร น้ อยที่สดุ (ดังตารางที่ 1 ภาคผนวก) มาจัดลาดับเพื่อมอบรางวัลให้ กบั โรงเรี ยนที่สามารถตรวจสอบ เอกสารหลักฐานการเบิกเบื ้องต้ นได้ ถกู ต้ องมากที่สดุ และส่งคืนเอกสารน้ อยที่สดุ เพื่อเป็ นการกระตุ้น ให้ โรงเรี ยนอื่น ๆ อยากที่จะทาตาม และอยากได้ รางวัลบ้ าง ส่วนโรงเรี ยนที่ทาดีอยู่แล้ วก็จะทาดียิ่ง ๆ ขึ ้นไป 3. การตรวจสอบ (Check) โดยการเก็บข้ อมูลการส่งเบิกและเก็บข้ อมูลการส่งคืนเอกสาร หลักฐานการเบิกค่ารักษาพยาบาล/ค่าการศึกษาบุตร (ดังตารางที่ 2 ภาคผนวก)
4. การประเมินผล (Act) โดยการเปรี ยบเทียบข้ อมูลการส่งเบิกและเปรี ยบเทียบข้ อมูลการ ส่งคืนเอกสาร ย้ อนหลัง 3 ปี (ดังตารางที่ 3 ภาคผนวก)
ผลสาเร็จที่เกิดขึน้ จากการพัฒนา ผลสาเร็จเชิงปริมาณ จานวนโรงเรี ยน 64 โรงเรี ยนใน 147 โรงเรี ยน มีการส่งคืน เอกสารการเบิกลดลง ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ อัตราการส่งเบิกเอกสารครบถ้ วนถูกต้ อง คิดเป็ นร้ อยละ 43.54 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้ อง ร้ อยละความพึงพอใจ = 88.08 (ดังตารางที่ 4 ภาคผนวก)
แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้ บริการการเบิกค่ ารักษาพยาบาล/ค่ าการศึกษาบุตร คาชีแ้ จง โปรดทาเครื่ องหมาย ลงในช่องที่ตรงตามความคิดเห็นของท่านมากที่สดุ
ข้ อมูลความพึงพอใจ
ระดับความพึงพอใจ มาก มาก ปาน น้ อย น้ อย ที่สุด กลาง ที่สุด 5 3 1 4 2
กระบวนการ/ขัน้ ตอนในการให้ บริการ 1. ความครบถ้ วน ถูกต้ องในการให้ บริ การ 2. ความสะดวกในการติดต่อขอใช้ บริ การ 3. มีการทางานอย่างเป็ นระบบ 4. ความเหมาะสมของวิธีการทางาน ด้ านบุคลากรที่ให้ บริ การ 1. ผู้ให้ บริ การ มีความรู้ ความสามารถในการชี ้แจงและให้ คาแนะนาตอบข้ อหารื อ/ให้ คาแนะนาช่วยแก้ ปัญหาได้ อย่าง ถูกต้ อง 2. ผู้ให้ บริ การมีมนุษยสัมพันธ์ ยิ ้มแย้ มแจ่มใส เป็ นกันเอง 3. การต้ อนรับของเจ้ าหน้ าที่ 4. ปฏิบตั ิงานด้ วยความเต็มใจ และพร้ อมในการให้ บริ การ อย่างสุภาพ 5. ให้ บริ การด้ วยความสะดวก รวดเร็ ว และถูกต้ อง 6. ความประทับใจในการบริ การ
ข้ อเสนอแนะ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................
.