Best Practice สถานศึกษายอดเยี่ยม (ขนาดเล็ก) ด้านนวัตกรรม ประถมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 เพื่อขอรับการประเมินรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศึกษา 2557
การพัฒนาสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน
โรงเรียนบ้านท่าเสด็จ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1
Best Practice
1
ด้านนวัตกรรม ประถมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 เพื่อขอรับการประเมินรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ปีการศึกษา 2557 ................................................................................................................. 1. ชื่อผลงาน BP การพัฒนาสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียนโรงเรียนบ้านท่าเสด็จ
ด้าน ( ) วิชาการ ( ) บริหารจัดการศึกษา ( / ) นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน 2. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP 2.1 ชื่อผู้พัฒนา BP : นางสิริรัศมี ปฐมวีราวรรธน์ 2.2 โรงเรียนบ้านท่าเสด็จ หมู่ 1 ตาบลจรเข้เผือก อาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาจรเข้เผือก 2.3 โทรศัพท์ 081 – 2912551 e-mail : Siriradsamee@hotmail.co.th 3. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP 3.1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้วางแผนและดาเนินการสู่ สถานศึกษา 3.2 เพื่อให้ผู้บริหารสามารถใช้เทคนิคการมีส่วนร่วมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบริหารจัดการ พัฒนาสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 3.3 เพื่อส่งเสริมให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีและพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น 3.4 เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาให้เป็นรูปธรรมตามมาตรฐาน 3.5 เพื่อพัฒนาและส่งเสริมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 (2552-2561) ตามจุดเน้น 4. ระยะเวลาในการพัฒนา BP (ระบุช่วงเริ่มต้นการพัฒนา และระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา BP) โรงเรียนบ้านท่าเสด็จ มีการพัฒนาสถานศึกษาโดยบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพียงตั้งแต่ปีการศึกษา 2551 ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550-2554 โดยมุ่งสู่ "สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน" รวมทั้งน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักปฏิบัติ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้หมายถึงประหยัด มัธยัสถ์ ไม่ใช้เงิน แต่เป็นการเดินทางสายกลาง สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม แต่ละ บุคคล หรือองค์กร โดยไม่ลงทุนเกินตัว และยึดหลักคุณธรรม เน้นความมั่นคง และยั่งยืน โรงเรียนได้น้อมนาหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการการจัดการ และจัดกระบวนการเรียนการสอน พ.ศ. 2551 - ถึงปัจจุบัน (ปี การศึกษา 2557) พัฒนาอย่างต่อเนื่องสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 แก้ไข
2
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 39 ให้กระทรวงกระจายอานาจการบริหารและจัดการศึกษาสู่สานักงานเขต พื้นที่การศึกษาและโรงเรียนโดยตรงพร้อมขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 (2552-2561) ตามจุดเน้น 5. ความเชื่อมโยง/สัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา ผู้บริหาร คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน ได้ร่วมกัน ดาเนินการวิเคราะห์จุดเน้นและ เป้าหมายของหน่วยงานทางการศึกษาของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา และนามากาหนดเป็นวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ เป้าประสงค์ของโรงเรียน โดยเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการตลอดจนการบูรณา การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การพัฒนาสถานศึกษา บริหารจัดการและการจัดกระบวนการเรียน การสอนพร้อมกับมีสุขภาพอนามัยที่ดี โดยการ วางแผนแบบมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมาปฎิติตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยมุ่งสู่ผู้เรียน ดังนี้ 1. รูปแบบคณะกรรมการเพื่อการปรึกษาหารือ ช่วยคิด ช่วยทา และร่วมตัดสินใจ 2. รูปแบบการร่วมเสนอแนะ (คณะกรรมการสถานศึกษา ครู นักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน) ผู้บริหาร คณะครู ได้เชื่อมโยงแนวคิดข้อตกลงในการพัฒนาสถานศึกษาด้านการเรียนการสอนโดยยึดหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ ให้นักเรียนได้ ศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและนอก โรงเรียน การลงมือปฏิบัติจริง การร่วมกิจกรรมการแข่งขันต่าง ๆ ตลอดจนการจัดกิจกรรมโดยใช้ กระบวนการคิด การแก้ปัญหา การคิดคานวณ และการแสวงหาความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP โรงเรียนบ้านท่าเสด็จ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาป ระถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ตั้งอยู่ที่หมู่ 1 ตาบลจรเข้เผือก อาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี เป็นโรงเรียนขนาดเล็กเปิดทาการสอนชั้นอนุบาล 1 – ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวนนักเรียน 67 คน ผู้บริหาร 1 คน ครู 4 คน ครูอัตราจ้าง 1 คน จัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งประกอบไป ด้วยผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่า ผู้แทน ผู้ทรงคุณวุฒิ ทาหน้าที กากับและส่งเสริมสนับสนุน มุ่งให้จัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ( Efficiency & Effectiveness School ) ภายใต้ กรอบของกฎหมายที่กาหนด มีการกระจายอานาจการตัดสินใจที่จะพัฒนานโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ เป้าประสงค์ของสถานศึกษาและร่วมมือดาเนินการ ด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และบริหารทั่วไป โดย บุคคลที่มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเท่าเทียมกันร่วมกันบริหาร มุ่งเน้นผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่เกิดกับผู้เรียน เป็นสาคัญ ภายใต้การมีส่วนร่วมและการตรวจสอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ช่วยกันพัฒนาสถานศึกษา โดยสภาพของ ชุมชนมีฐานะยากจน นักเรียนขาดสารอาหารที่บารุงสมองในการพัฒนาการเจริญเติบโต ปีพ.ศ. 2551 โรงเรียนจึง ได้ประสานกับบริษัทโภคภัณฑ์ ( cp) เพื่อเลี้ยงไก่ไข่จะได้มีไข่ให้นักเรียนได้รับประทานมื้อกลางวันที่มีประโยชน์ต่อ ร่างกาย ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากบริษัทโภคภัณฑ์ ( cp) ให้การสนับสนุนสร้างโรงเรือน ไก่พันธุ์ไข่ อาหารไก่ อุปกรณ์การเลี้ยงไก่ เป็นจานวนเงิน 200,000 บาท โรงเรียนจึงเข้าร่วมโครงการพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ 1. เลี้ยงไก่ไข่ นาไข่ให้นักเรียนได้รับประทานมื้อกลางวัน อาทิตย์ละ 3 วัน และให้เสริมทุกวันกับ นักเรียนที่ขาดสารอาหาร ไข่เหลือนาไปขายให้กับชุมชน นาเงินซื้ออาหารไก่ เป็นเงินทุนหมุนเวียน
2. ปลูกผักไร้สารพิษ นาผักที่นักเรียนปลูกไว้รับประทานมื้อกลางวันเหลือขายให้กับชุมชน 3. เลี้ยงปลาในบ่อที่ขุดไว้สาหรับให้นักเรียนรับประทานมื้อกลางวัน เหลือขายเป็นบ้างส่วน สาหรับซื้อพันธุ์ปลามาเลี้ยงใหม่ 4. จัดทาโครงงานจากวัสดุธรรมชาติ เช่น น้ายาล้างห้องน้า น้ายาฆ่าเหา ธูปไล่ยุงจาก พืชสมุนไพร ประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ ผักแปลงร่าง จัดทาไมล์ สาหรับฝึกการพูด ร้องเพลง ฯลฯ
3
โรงเรียนได้ดาเนินการพัฒนาสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ ประกอบด้วย การบริหารหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) การบริหารการมีส่วนร่วม (PARTICIPARTION MANAGEMENT : PM) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School - Based Management : SBM) ทฤษฎี ระบบ การบริหารวงจรเดรมมิ่ง (Deming Circle : PDCA) โดยนาไปสู่การพัฒนาสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยมุ่งพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามนวคิดทฤษฎีการบริหาร ดังนี้ 1 การบริหารหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) ประกอบด้วย หลักนิติธรรม. หลัก คุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า 2 การบริหารการมีส่วนร่วม (PARTICIPARTION MANAGEMENT : PM) การบริหารแบบมี ส่วนร่วม การวางแผน ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมแก้ปัญหา ร่วมประเมินผล มีความรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร และมี ความเต็มใจในการทางาน จนบังเกิดผลดีหลายๆ ประการต่อองค์กร 3 การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management : SBM) การจัดการศึกษา ที่มุ่งให้สถานศึกษาที่มุ่งให้สถานศึกษาเป็นองค์กรหลักในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ ( Efficiency & Effectiveness School ) ภายใต้กรอบของกฎหมายที่กาหนด มีการกระจายอานาจการตัดสินใจที่จะพัฒนา นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ของสถานศึกษาและร่วมมือดาเนินการ ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร และบริหารทั่วไป 4 ทฤษฎีระบบ โรงเรียนบ้านท่าเสด็จดาเนินงานสัมพันธ์กันเป็นกระบวนการ เพื่อให้ได้ ผลลัพธ์ ตามวัตถุประสงค์ที่องค์การได้ตั้งไว้ คือ สิ่งที่ป้อนเข้าไป (Input) กระบวนการ (Process) ผลงาน (Output) ผลิตผล (Product) 5. หลักการของวงจรเดรมมิ่ง (PDCA)ประกอบด้วย ขั้นตอน 4 ประการดังนี้ .1 P = Plan คือ ขั้นตอนการวางแผน เพื่อเลือกปัญหา ตั้งเป้าหมาย การแก้ปัญหา และวางแผนแก้ปัญหา .2 D = DO คือ ขั้นตอนการดาเนินการแก้ไขปัญหาตามแนวทางที่วางไว้ .3 C = Check คือ ขั้นตอนการตรวจสอบและเปรียบเทียบผล 4 A = Action คือ การกาหนดเป็นมาตรฐานและปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น 6 แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพล อดุลยเดช การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ ประมาทโดยคานึงถึงความพอประมาณความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความ รอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผนการตัดสินใจและการกระทา 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ ในการบริหาร จัดการโดยการปฏิบัติอย่างเป็นขั้นตอน คือ 3 ห่วง ห่วงที่ 1 ความพอประมาณ ห่วงที่ 2 ความมีเหตุผล ห่วงที่ 3 การมีภูมิคุ้มกันในตัว 2 เงือ่ นไข เงื่อนไขที่ 1 ความรู้ เงื่อนไขที่ 2 คุณธรรม
4
4 มิติ มิติที่ 1 เศรษฐกิจ มิติที่ 2 สังคม มิติที่ 3 สิ่งแวดล้อม มิติที่ 4 วัฒนธรรม นอกจากแนวคิดหลักที่กล่าวมา การพัฒนาสถานศึกษาของโรงเรียนบ้านท่าเสด็จยังใช้แนวคิด SIRIRADSAMEE ในการบริหารจัดการอย่างเป็นขั้นตอน คือ S (Start) การเริ่มลงมือปฎิบัติพัฒนาอย่างต่อเนื่อง I (Idea) ความคิดริเริ่มที่แปลกใหม่ R (Ready) ความพร้อมในการปฎิบัติตลอดเวลา I (Idol) เป็นแบบอย่างที่ดี R (Return) กลับคืน ให้ผลตอบแทน A (Activity) การหาข้อมูล วางแผนเพื่อกระทา D (Direct) สั่งตรง ทันที S (School) สถานฝึกอบรม โรงเรียน A (Assesment) การติดตาม ประเมินผล M (Manage) การจัดการ ดาเนินการ E (Education) การศึกษา ความรู้ ฝึกฝน E (Economy) การประหยัด มัธยัสถ์ 7. กระบวนการพัฒนา BP 7.1 กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ (ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและจานวนกลุ่มเป้าหมาย) - คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน - ผู้ปกครอง - ชุมชน
- ผู้บริหาร - ครู - หน่วยงานอื่น ๆ
- นักเรียน
7.2 ขั้นตอนการพัฒนา BP (อาจระบุเป็นแผนภาพ/แผนผังประกอบขั้นตอนการพัฒนา) โรงเรียนบ้านท่าเสด็จ ได้นาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา โดยการจัด โครงการและกิจกรรมหลากหลายรูปแบบ สอดคล้องกับนโยบายการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ได้แก่ สร้างองค์ความรู้ กาหนดนโยบาย ประชุมบุคลากรของโรงเรียนเพื่อสร้างความตระหนัก ปรับปรุงหลักสูตร สถานศึกษาให้มีหน่วยการเรียนรู้บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง จัดทาแผนปฏิบัติการ/ โครงการที่เน้นหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ดาเนินการ ดังนี้ ปี พ.ศ. 2551-2556 ดาเนินการ 5 ด้าน คือ ด้านที่ 1 การบริหารจัดการสถานศึกษา ด้านที่ 2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ด้านที่ 3 การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ด้านที่ 4 การพัฒนาบุคลากรของ สถานศึกษา ด้านที่ 5 ด้านผลลัพธ์ / ภาพความสาเร็จ การพัฒนาสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงโดยมุ่งสู่ผู้เรียน โดยจัดกระบวนการเรียนการสอนทาให้สถานศึกษาก้าวเข้าสู่โรงเรียนอาหาร กลางวันอย่างยั่งยืน โรงเรียนสถานศึกษาพอเพียง โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง ผ่านการประเมินคุณภาพ การศึกษาจากสมศ.รอบสาม โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ปีการศึกษา 2557 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ได้ประเมิน สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ โรงเรียนผ่านการประเมินเป็นโรงเรียนต้นแบบ โดยดาเนินการตามนโยบายมีทั้งหมด 4 องค์ประกอบ ภายใต้ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ ดังนี้ โรงเรียนบ้านท่าเสด็จ สถานศึกษาพอเพียง ๒๕๕๕
องค์ประกอบที่ 1 องค์ประกอบที่ 2 องค์ประกอบที่ 3 องค์ประกอบที่ 4
บุคลากร การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สื่อ และ/หรือนวัตกรรมการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ ปศพ. ความสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอก
5
ขัน้ ตอนการพัฒนาสถานศึกษาแบบมีส่วนร่ วมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งสู่คุณภาพผู้เรี ยน สิ่งที่ป้อนเข้าไป (Input)
กระบวนการ (Process)
ผลงาน (Output)
ผลิตผล(Product)
กระบวนการวงจรคุณภาพ PDCA
กระบวนการประเมิน
ด้านบริบท (Context)
ด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input)
ด้านกระบวนการ (Process)
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (กลุ่มเป้าหมาย) (ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ครูผู้รับผิดชอบโครงการ) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (กลุ่มเป้าหมาย) (ครูผู้สอน นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน)
การดาเนินงานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ๔ มิติ BEST PRACTICE
ด้านผลผลิต (Product)
ความเชื่อมโยงของแนวทางการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษาในสถานศึกษา การมีส่วนร่ วมของผู้ปกครองและชุมชน มีส่วนร่ วมในการดาเนินการของสถานศึกษาทุกด้ าน การพัฒนาหลักสูตร
การจัดการเรียนการสอน
พัฒนาหลักสูตรโดยบูรณาการ
จัดการเรียนการสอนที่สอดคล้ องกับวิถี
เนื ้อหาสาระของเศรษฐกิจ
ชีวิตผู้เรียน
พอเพียงไว้ ในหลักสูตร สถานศึกษาทุกกลุม่ สาระการ เรียนรู้และกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน
การจัดระบบบริหาร จัดดการ จัดระบบริหารจั การตามแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง -ปรับโครงสร้ างและกระบวนการ บริหารให้ สอดคล้ องกับแนว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง -กาหนดนโยบาย แผนงาน โครงการ ปรับแผนกลยุทธ์และ แผนปฏิบตั ิการ -พัฒนาบุคลากรด้ านความรู้ ความเข้ าใจและการปฏิบตั ิตาม แนวเศรษฐกิจพอเพียง -จัดระบบการนิเทศการศึกษา ภายในสถานศึกษา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรี ยน พัฒนาผู้เรี ยนให้ มีความรู้ ทักษะและ
-พัฒนากระบวนการคิด วิเคราะห์ การ
ดาเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจ
จัดการ การเผชิญสถานการณ์ การ
พอเพียง
แก้ ปัญหาในชีวิตประจาวัน -เน้ นกิจกรรมการทดลอง การปฏิบตั ิจริ ง
ในชีวิตประจาวัน -วัดและประเมินผลผู้เรี ยนทังด้ ้ านความรู้
การจัดบรรยากาศและ สภาพแวดล้ อมภายใน พึงประสงค์ การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้ อมให้ สถานศึกษา ทักษะกระบวนการและคุณลักษณะอัน
-มีความรู้ ความเข้ าใจและตระหนักใน
ความสาคัญของการดาเนินชีวิตตาม แนวเศรษฐกิจพอเพียง -มีความรู้ และทักษะพื ้นฐานในการ
ดาเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจ
เอื ้อต่อการพัฒนาผู้เรียน
พอเพียง
-จัดอาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้ อม ให้ ร่มรื่ น
-ปฏิบตั ิตนและดาเนินชีวิตตามแนว
เป็ นแหล่งเรียนรู้ สะท้ อนการอนุรักษ์ สืบ
เศรษฐกิจพอเพียง
สานทรัพยากร วัฒนธรรมและภูมิ ปั ญญาไทย -ส่งเสริ มและพัฒนาบรรยากาศด้ าน
คุณธรรม -ส่งเสริ มการแสวงหาและเผยแพร่ความรู้
ด้ านเศรษฐกิจพอเพียง -ส่งเสริ มการปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่าง
ของบุคลากร โครงการส่งเสริม การดนาเนิ นชีวิต ดการศึกษา การติ-ดจัดตามและประเมิ ผลการจั ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
-ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ตามลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรี ยน -ติดตามและประเมินผลความเหมาะสมของการดาเนินงานแต่ ละด้ าน -รายงานผลการดาเนินการจัดการศึกษา
6
7
1. ผู้บริหาร โรงเรียนมีการน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการเป็นนโยบายการศึกษาและได้ บรรจุเป็นแผนปฏิบัติงานประจาปี โดยการร่วมมือของบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการจัดกิจกรรม ครอบคลุมทุกกลุ่มงานอย่างเหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงทางภูมิสังคมของสถานศึกษาแต่งตั้งผู้รับผิดชอบที่ เหมาะสม และประชุมชี้แจงการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ตามแผนปฏิบัติงานประจาปี ครบทุกกิจกรรมอย่าง เหมาะสมกับสถานการณ์ และสภาพความเป็นจริง สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ของโรงเรียน
แผนปฎิบัติการโรงเรียนบ้านท่าเสด็จ ปีการศึกษา ๒๕๕๗
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑
กระทรวงศึกษาธิการ
8
2. ครู
ดาเนินการด้านวิชาการที่ส่งเสริมการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน โดยการประชุมชี้แจงให้คณะครูได้รับทราบในการจัดการเรียนการสอน ตามความเหมาะสมและยืดหยุ่นตามความ จาเป็น และสถานการณ์ คณะครูทุกคนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอนจัดทาแผนการจัด การเรียนรู้ทุกระดับชั้นเรียนรายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพียงสู่สาธารณชน โดยได้จัดทาวารสาร และแผ่นพับประชาสัมพันธ์ใน การจัดกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนต่อ ผู้ปกครองและชุมชุน ตลอดจนการประชุมผู้ปกครอง ให้ได้รับทราบแนวทางในการจัดการเรียนการสอน หน่ วยการเรียนรู้
หน่ วยการเรียนรู้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ช่ วงชั้นที่ 1
ช่ วงชั้นที่ 2
(ระดับประถมศึกษาปี ที่ 1 - 3)
(ระดับประถมศึกษาปี ที่ 4 - 6)
โรงเรียนบ้ านท่ าเสด็จ อาเภอด่ านมะขามเตีย้ จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรีเขต 1
โรงเรียนบ้ านท่ าเสด็จ อาเภอด่ านมะขามเตีย้ จังหวัดกาญจนบุรี สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรีเขต 1
3. นักเรียน ๓.๑ มีแผนงาน/โครงการ แนะแนว และระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเพื่อสนับสนุนการดาเนินชีวิตที่ สอดคล้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมเยี่ยมบ้าน
ประชุมผู้ปกครอง
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมการเรี ยนการสอน โครงการระบบดูแลช่วยเหลือ ทุนการศึกษา การรับประทานอาหาร กลางวัน
9
๓.๒ โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมนักเรียนอย่างหลากหลาย เน้นให้เด็กเห็นความสาคัญของการทากิจกรรมต่าง ๆ สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมวันไหว้ครู
กิจกรรมการเลือกประธาน
กิจกรรมเลี้ยงไก่ ปลูกผักไร้สารพิษ
กิจกรรมทาบุญตักบาตรทุกวันพระ
กิ จกรรมเข้ าค่ายลูกเสือ -เนตรนารี
๓.๓ โรงเรี ยนจัดกิจกรรมชุมนุมโดยเน้ นให้ เด็กได้ เรี ยนรู้จากความสนใจและความถนัดโดยยึดหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมชุมนุม
๓.๔ โรงเรี ยนมีการประยุกต์ใช้ ภมู ิปัญญาท้ องถิ่นในการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยได้ รับความ ร่วมมือจากผู้ปกครองมาจัดกิจกรรมโดยเน้ นเด็กเป็ นสาคัญ และมีการเรี ยนธรรมะหลักคาสอนทางศาสนาใน การดารงชีวิตประจาวันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
10
๓.๕ โรงเรียนได้ติดตามผลการจัดกิจกรรมนักเรียนในการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงโดยผ่านการเรียนรู้จากการไป ศึกษานอกสถานที่ 100% กิจกรรมแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
๓.๖ โรงเรียนได้มีกิจกรรมให้นักเรียนได้พัฒนาสถานศึกษาในด้านสิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมพัฒนาโรงเรียน
๑.๔ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านท่าเสด็จ ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือโรงเรียนเป้นอย่างดี ในการดาเนินงานตามโครงการตามพระราชดาริ (เศรษฐกิจพอเพียง)มาพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง กล่าวคือโรงเรียนได้ปรับปรุง อาคารสถานที่ สภาพแวดล้อมปรับปรุงห้องปฏิบัติการต่างๆ การจัดสร้าง โรงเรือนไก่ไข่เพิ่มเติม การพัฒนาปรับปรุงแหล่งน้า
11
องค์ประกอบที่ 2 การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ 2.1 อาคารสถานที่ และสิ่งแวดล้อม โรงเรียนได้ดาเนินการด้านการบริหารงบประมาณ โดยการจัดสรรงบประมาณตามภาระงานที่มีความจาเป็น และเร่งด่วน และเป็นไปตามแผนของงบประมาณ ด้วยวิธีการที่โปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ การปรับปรุ งอาคารเรียน
2.2 ฐานการเรียนรู้ ปศพ. และ/หรือกิจกรรมการเรียนรู้ ปศพ.
12
โรงเรียนได้ดาเนินการด้านวิชาการที่ส่งเสริมการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการ สอนโดยการประชุมชี้แจงให้คณะครูได้รับทราบและจัดการเรียนการสอนเป็นฐานการเรียนรู้ปศพ. ตามความ เหมาะสมและยืดหยุ่นตามความจาเป็นในบริบท และสถานการณ์ รายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม แนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สาธารณชน โดยได้จัดทาวารสาร และแผ่นพับประชาสัมพันธ์ใน การ จัดกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนต่อผู้ปกครองและชุมชุน ตลอดจนการประชุมผู้ปกครอง ให้ได้รับทราบแนวทางใน การจัดการเรียนการสอน
องค์ประกอบที่ 3 สื่อ และ/หรือนวัตกรรมการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ ปศพ. 3.1 สื่อ และ/หรือนวัตกรรมการเรียนรู้ 1. โครงงานอาหารเช้าเพื่อน้องอิ่มท้องสมองใส 2. สถานศึกษาปลอดภัยห่างไกลจากขยะ 3. เหาหายสบายหัว 4. น้าสมุนไพรกาจัดลูกน้า 5. ธูปไล่ยุง 6. ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดจากผงฟู 3.2 แหล่งเรียนรูเ้ พื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงภายใน และ/หรือภายนอกสถานศึกษา โรงเรียนได้ดาเนินการด้านอาคารสถานที่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยมี ครูเป็นผู้รับผิดชอบดาเนินงานตามโครงการ เช่น โครงการตามพระราชดาริ(เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมการเลี้ยง ไก่ไข่ กิจกรรมการปลูกผักสวนครัว การทานา โครงการกีฬาเพื่อสุขภาพ โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ โครงการ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
13
องค์ประกอบที่ 4 ความสัมพันธ์กับหน่วยงานนอก 4.1 ความสัมพันธ์กับสถานศึกษาในการขยายผลการขับเคลื่อน ปศพ. โรงเรียนได้ประสานสัมพันธ์กับชุมชนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อการอยู่อย่างพอเพียง ในสถานศึกษาโดยการได้จัดทาโครงการสัมพันธ์ชุมชน และการใช้วิทยากรท้องถิ่น ตลอดการได้รับความร่วมมือ ช่วยเหลือจากชุมชน และผู้ปกครองทั้งทางด้านวิชาการ งบประมาณและแรงงาน ในการบริหารจัดการของโรงเรียน เป็นอย่างดีเช่น การต่อเติมโรงอาหาร การปรับปรุงบริเวณโรงเรียน การจัดสร้างอัฒจันทร์ การรับมอบสิ่งของ ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ พันธ์ไก่ไข่ ข้าวสารอาหารแห้ง และอุปกรณ์กีฬา
4.2 ความสัมพันธ์กับหน่วยงานที่สังกัด และ/หรือหน่วยงานภายนอก(ภาครัฐ เอกชน และชุมชน)
7.3 การตรวจสอบคุณภาพ BP (ระบุวิธีการและผลการตรวจสอบคุณภาพที่ได้ ) - แบบสอบถามความพึงพอใจ
7.4 แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์
14
โรงเรียนบ้านท่าเสด็จ นารูปแบบการพัฒนาสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งสู่คุณภาพผู้เรีย น นามาซึ่งประโยชน์การบริหารจัดการสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการปฏิบัติงานแนวคิดของ SIRIRADSAMEE ทาให้ประสบความสาเร็จ 3 สุข คือ 1. สุขที่ได้อยู่อย่างพอเพียง ได้แก่ โครงการตามพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง 2. สุขที่ได้เรียนรู้ ได้แก่ การพัฒนาศักยภาพการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1 กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน , โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศ , ชุมนุม , ICT , ดนตรี-กีฬา , 3. สุขที่ได้มีสุขภาพอนามัยที่ดี ได้แก่ โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับทอง โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร การพัฒนาสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน ทาให้โรงเรียนบ้านท่าเสด็จมี Best Practice ที่เกิดจากการพัฒนา การร่วมมือร่วมใจจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง สามารถนาไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ให้ครูและนักเรียนได้เรียนรู้สู่โลกกว้างไร้พรมแดนบนพื้นฐาน ของความพอเพียงและมีความสุข ซึ่งสอดคล้องและสนองตามจุดเน้นด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง 8. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP (เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของ BP) 8.1 ผลสาเร็จเชิงปริมาณ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน ชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการบริหารและจัด การศึกษาเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง และจัดการศึกษาของโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 95 8.2 ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ โรงเรียนบ้านท่าเสด็จ ได้มีการพัฒนาสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยมุ่ง สู่คุณภาพผู้เรียน เป็นที่ประจักษ์ ในกิจกรรมศิลปหัตถกรรมประจาปีส่งผลให้นักเรียน ครู ผู้บริหาร โรงเรียนได้รับ รางวัลในการแข่งขันด้านต่าง ๆ ที่เกิดจากการเรียนรู้และปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นผลที่เกิดจากความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้องทั้งในระดับประเทศ และระดับภาค ภายใต้ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ 8.3 ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP (ระบุค่าร้อยละของความพึ งพอใจจากผู้เกี่ยวข้องและ วิธีการได้มาเกี่ยวกับข้อมูลความพึงพอใจ) โรงเรียนบ้านท่าเสด็จได้ประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วมตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงกระบวนการ PDCA เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2557 จากผู้ปกครองนักเรียนตั้งแต่ ชั้นอนุบาล 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ครู คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน และนักเรียน จานวน 143 คน จากการรวบรวม ข้อมูลด้วยเครื่องมือที่สถานศึกษาจัดทาขึ้น ได้แก่ แบบสอบถาม มีผลสรุป ดังนี้ - คณะครู บุคลากรและนักเรียน มีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อยละ 98 - คณะกรรมการสถานศึกษา ตัวแทนผู้ปกครองและชุมชน มีความพึงพอใจ คิดเป็นร้อนละ 96
8.4 ปัจจัยความสาเร็จของการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้
15
การจัดการบริหารแบบมีส่วนร่วมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยมุ่งสู่คุณภาพผู้เรียน ส่งผลให้ผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายมีความพอใจ ที่เห็นการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงการจัดการศึกษา เกิดความภาคภูมิใจในความสาเร็จ ดัง ผลงานที่ปรากฏ ดังนี้ 1. รางวัลโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับทอง วันที่ 21 พฤศจิกายน 2556 2. ผ่านการประเมินคุณภาพการศึกษาจาก สมศ.รอบสาม วันที่ 13-15 มกราคม 2557 3. รางวัลโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับเพชร วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2557 4. ผ่านการประเมินโรงเรียนศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วันที่ 14 สิงหาคม 2557 5 รางวัลผลงานครูดีเด่น ระดับเครือข่ายจรเข้เผือก และระดับอาเภอด่านมะขามเตี้ย 6 รางวัลการแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับอาเภอด่านมะขามเตี้ย และระดับเขตพื้นที่ ดังนี้ ปีการศึกษา 2556 การแข่งขันศิลปหัตถกรรมรระดับอาเภอด่านมะขามเตี้ย โรงเรียนบ้านท่าเสด็จ เป็น ตัวแทนแข่งขันในระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 ดังนี้ 1. ชนะเลิศการร้องเพลงไทยลูกทุ่ง 2. ชนะเลิศประกวดมารยาท 3. รองชนะเลิศเครื่องบินร่อนนาน 4. ตีขิมหย่อง ปีการศึกษา 2557 การแข่งขันศิลปหัตถกรรมรระดับอาเภอด่านมะขามเตี้ย โรงเรียนบ้านท่าเสด็จ เป็น ตัวแทนแข่งขันในระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 1 วันที่ 4 – 5 พฤศจิกายน 2557 ดังนี้ 1. ชนะเลิศการร้องเพลงไทยลูกทุ่ง หญิง ป. 1-6 2. ชนะเลิศเครื่องบินร่อนนาน ป. 4-6 3. ชนะเลิศประกวดมารยาท ป.1-3 4. ตีขิมหย่อง ป.1-6 5. ตาน้าพริก เครื่องเคียง ป. 4-6 6. กิจกรรม Spelling Bee ป. 4-6 สรุปผลการแข่งขันในระดับเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1 วันที่ 4 – 5 พฤศจิกายน 2557 ดังนี้ ได้เหรียญทอง 4 เหรียญเงิน 1 และเข้าร่วมกิจกรรม 1 รายการ 1. การร้องเพลงไทยลูกทุ่ง หญิง ป. 1-6 เหรียญทอง 2. เครื่องบินร่อนนาน ป. 4-6 เหรียญทอง 3. ประกวดมารยาท ป.1-3 เหรียญเงิน 4. ตีขิมหย่อง ป.1-6 เหรียญทอง ชนะเลิศเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันในระดับภาค 5. ตาน้าพริก เครื่องเคียง ป. 4-6 เหรียญทอง 6. กิจกรรม Spelling Bee ป. 4-6 เข้าร่วมกิจกรรม
16
9. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง 9.1 วิธีการตรวจสอบซ้า BP
การตรวจสอบและถ่วงดุลเป็นการพัฒนาการศึกษา ซึ่งผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง สิ่งใดที่มีความพึงพอใจน้อยหรือหรือไม่ผ่านวัตถุ ประสงค์ ก็จะนาสิ่งเหล่านั้นมาปรับปรุงแก้ไข โดยใช้ กระบวนการกากับ ติดตาม วัดและประเมินผล รายงานผลการดาเนินการการต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาสู่ คุณภาพผู้เรียน 9.2 ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อการพัฒนาและปรับปรุง BP จากการปรับปรุงแก้ไขตามผลการตรวจสอบซ้า ทาให้กิจกรรมต่าง ๆ ด้านการจัดการศึกษาที่ได้ดาเนินการ มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 10. การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผล ในวงกว้าง (ระบุวันเวลา และรูปแบบ/ วิธีการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ และขยายผล) 1. จุลสารสารสัมพันธ์บ้านและโรงเรียน 2. เว็บไซด์โรงเรียน 3. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความสาเร็จของ BP โรงเรียนวัดยางเกาะ , โรงเรียนวัดหนองบัว , โรงเรียนบ้านไทรทอง อ.ด่านมะขามเตี้ย จ.กาญจนบุรี , โรงแรมราชศุภมิตร อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 4. การรายงานคณะกรรมการสถานศึกษา 5. เผยแพร่ผลงานการบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพียงที่โรงเรียนวัดเขาดิน อาเภอท่าม่วง จ.กาญจนบุรี 6. เผยแพร่ผลงานการบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ระดับทอง และระดับ เพชร ที่โรงแรมราชศุภมิตร จังหวัดกาญจนบุรี 7. เผยแพร่ผลงานการบริหารจัดการเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบที่โรงเรียนวัดจรเข้เผือก ตาบลจรเข้เผือก อาเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี
ลงชื่อ ผู้รายงาน
BP ( นางสิริรัศมี ปฐมวีราวรรธน์ ) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านท่าเสด็จ
ลงชื่อ
ผู้รับรองรายงาน
BP
( นายสาเนาว์ นาคพิรุณ ) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านไทรทอง ปฎิบัติหน้าที่ประธานเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาจระเข้เผือก
18
การพัฒนาสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยมุง่ สู่คณ ุ ภาพผูเ้ รียน
กิจกรรมภายใต้ ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข ๔ มิติ คือ ๓ สุข สุขที่ ๑ สุขทีไ่ ด้อยู่อย่างพอเพียง
สุขที่ ๒ สุขที่ได้เรียนรู้
สุขที่ ๓ สุขที่ได้มีสุขภาพอนามัยที่ดี
โรงเรียนบ้านท่าเสด็จ สพป.กจ.๑